พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย

๔๖. อรรถกถา จิตวิวัฏญาณุทเทส ว่าด้วยจิตวิวัฏญาณ

 
บ้านธัมมะ
วันที่  24 พ.ย. 2564
หมายเลข  40854
อ่าน  351

[เล่มที่ 68] พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค เล่ม ๗ ภาค ๑ - หน้า 133

มหาวรรค

ญาณกถามาติกา

๔๖. อรรถกถา จิตวิวัฏญาณุทเทส

ว่าด้วยจิตวิวัฏญาณ


อ่านหัวข้ออื่นๆ ... [เล่มที่ 68]


  ข้อความที่ 1  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 5 ก.พ. 2565

พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค เล่ม ๗ ภาค ๑ - หน้า 133

๔๖. อรรถกถาจิตวิวัฏญาณุทเทส

ว่าด้วย จิตวิวัฏญาณ

คำว่า อธิฏฺาเน ปญฺา - ปัญญาในการอธิษฐาน ความว่า ปัญญาในการตั้งมั่นแห่งจิตด้วยสามารถแห่งคุณมีเนกขัมมะเป็นต้น.

คำว่า จิตฺตวิวฏฺเฏ าณํ - ญาณในการออกไปแห่งจิต ความว่า ญาณในการหลีกออกแห่งจิตด้วยสามารถแห่งการละนิวรณ์ มี

 
  ข้อความที่ 2  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 5 ก.พ. 2565

พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค เล่ม ๗ ภาค ๑ - หน้า 134

กามฉันทะเป็นต้น. ก็ในที่นี้ จิต

มีการรู้นิวรณ์ เป็น ลักษณะ,

มีการเกิดก่อนและเป็นประธานในธรรมทั้งปวง เป็น กิจ,

มีการเกิดขึ้นต่อเนื่องกันไม่ขาดสาย เป็น ปัจจุปัฏฐาน,

มีนามรูป เป็น ปทัฏฐาน.