๒๔. สัญโญชนสัญโญชนสัมปยุตตทุกะ
[เล่มที่ 88] พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔
พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๗
ปัฏฐาน ภาคที่ ๔
อนุโลมทุกปัฏฐาน
๒๔. สัญโญชนสัญโญชนสัมปยุตตทุกะ 531
อ่านหัวข้ออื่นๆ ... [เล่มที่ 88]
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 531
๒๔. สัญโญชนสัญโญชนสัมปยุตตทุกะ
ปฏิจจวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๔๘๓] ๑. ธรรมที่เป็นทั้งสัญโญชนธรรม และสัญโญชนสัมปยุตตธรรม อาศัยธรรมที่เป็นทั้งสัญโญชนธรรมและสัญโญชนสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ทิฏฐิสัญโญชน์ อวิชชาสัญโญชน์ อาศัยกามราคสัญโญชน์
พึงผูกจักรนัย
๒. ธรรมที่เป็นสัญโญชนสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่ สัญโญชนธรรม อาศัยธรรมที่เป็นทั้งสัญโญชนธรรม และสัญโญชนสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยสัญโญชนธรรมทั้งหลาย.
๓. ธรรมที่เป็นทั้งสัญโญชนธรรม และสัญโญชนสัมปยุตตธรรม และธรรมที่เป็นสัญโญชนสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่ สัญโญชนธรรม อาศัยธรรมที่เป็นทั้งสัญโญชนธรรม และสัญโญชนสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ทิฏฐิสัญโญชน์ อวิชชาสัญโญชน์ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยกามราคสัญโญชน์.
๔. ธรรมที่เป็นสัญโญชนสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่ สัญโญชนธรรม อาศัยธรรมที่เป็นทั้งสัญโญชนสัมปยุตตธรรม แต่ ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 532
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสัญโญชนสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่ สัญโญชนธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
๕. ธรรมที่เป็นทั้งสัญโญชนธรรม และสัญโญชนสัมปยุตตธรรม อาศัยธรรมที่เป็นสัญโญชนสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่ สัญโญชนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ สัญโญชนธรรมทั้งหลาย อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัญโญชนสัมปยุตตธรรมแต่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม.
๖. ธรรมที่เป็นทั้งสัญโญชนธรรม และสัญโญชนสัมปยุตตธรรม และธรรมที่เป็นสัญโญชนสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่ สัญโญชนธรรม อาศัยธรรมที่เป็นสัญโญชนสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่ สัญโญชนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และสัญโญชนธรรมทั้งหลาย อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น สัญโญชนสัมปยุตตธรรมแต่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
๗. ธรรมที่เป็นทั้งสัญโญชนธรรม และสัญโญชนสัมปยุตตธรรม อาศัยธรรมที่เป็นสัญโญชนธรรม และสัญโญชนสัมปยุตตธรรม และธรรมที่เป็นสัญโญชนสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่ สัญโญชนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ทิฏฐิสัญโญชน์ อวิชชาสัญโญชน์ อาศัยกามราคสัญโญชน์ และ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย.
พึงผูกจักรนัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 533
๘. ธรรมที่เป็นสัญโญชนสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่ สัญโญชนธรรม อาศัยธรรมที่เป็นทั้งสัญโญชนธรรม และสัญโญชนสัมปยุตตธรรม และธรรมที่เป็นสัญโญชนสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่ สัญโญชนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสัญโญชนสัมปยุตตธรรมแต่ไม่ใช่ สัญโญชนธรรม และสัญโญชนธรรมทั้งหลาย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
๙. ธรรมที่เป็นทั้งสัญโญชนธรรม และสัญโญชนสัมปยุตตธรรม และธรรมที่เป็นสัญโญชนสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่ สัญโญชนธรรม อาศัยธรรมที่เป็นทั้งสัญโญชนธรรม และสัญโญชนสัมปยุตตธรรม และธรรมที่เป็นสัญโญชนสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่ สัญโญชนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ ทิฏฐิสัญโญชน์ อวิชชาสัญโญชน์ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น สัญโญชนสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม และกามราคสัญโญชน์ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
พึงผูกจักรนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๔๘๔] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ใน อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 534
ปัจจนียนัย
๑. นเหตุปัจจัย
[๔๘๕] ๑. ธรรมที่เป็นทั้งสัญโญชนธรรม และสัญโญชนสัมปยุตตธรรม อาศัยธรรมที่เป็นทั้งสัญโญชนธรรม และสัญโญชนสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ อวิชชาสัญโญชน์ อาศัยวิจิกิจฉาสัญโญชน์.
๒. ธรรมที่เป็นทั้งสัญโญชนธรรม และสัญโญชนสัมปยุตตธรรม อาศัยธรรมที่เป็นสัญโญชนสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่ สัญโญชนธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย วิจิกิจฉา.
๓. ธรรมที่เป็นทั้งสัญโญชนธรรม และสัญโญชนสัมปยุตตธรรม อาศัยธรรมที่เป็นทั้งสัญโญชนธรรม และสัญโญชนสัมปยุตตธรรม และธรรมที่เป็นสัญโญชนสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่ สัญโญชนธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ อวิชชาสัญโญชน์ อาศัยวิจิกิจฉาสัญโญชน์ และสัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย.
การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ
[๔๘๖] ในนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวน-
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 535
ปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ.
การนับจำนวนวาระทั้งสองนัย นอกนี้ก็ดี สหชาตวาระก็ดี พึงกระทำ อย่างที่กล่าวมาแล้ว.
ปัจจยวาระก็ดี นิสสยวาระก็ดี สังสัฏฐวาระก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี เหมือนกับปฏิจจวาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 536
ปัญหาวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๔๘๗] ๑. ธรรมที่เป็นทั้งสัญโญชนธรรม และสัญโญชนสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งสัญโญชนธรรม และ สัญโญชนสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ กามราคสัญโญชน์ เป็นปัจจัยแก่ทิฏฐิสัญโญชน์ อวิชชาสัญโญชน์ ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
พึงผูกจักรนัย
๒. ธรรมที่เป็นทั้งสัญโญชนธรรม และสัญโญชนสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นสัญโญชนสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นทั้งสัญโญชนธรรมและสัญโญชนสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
๓. ธรรมที่เป็นทั้งสัญโญชนธรรม และสัญโญชนสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งสัญโญชนธรรม และ สัญโญชนสัมปยุตตธรรม และธรรมที่เป็นสัญโญชนสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ กามราคสัญโญชน์ เป็นปัจจัยแก่ทิฏฐิสัญโญชน์ อวิชชาสัญโญชน์ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 537
๒. อารัมมณปัจจัย
[๔๘๘] ๑. ธรรมที่เป็นทั้งสัญโญชนธรรม และสัญโญชนสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งสัญโญชนธรรม และ สัญโญชนสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ เพราะปรารภสัญโญชนธรรมทั้งหลาย สัญโญชนธรรมทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.
พึงกระทำมูล (วาระที่ ๒)
เพราะปรารภสัญโญชนธรรมทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัญโญชนสัมปยุตตธรรมแต่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
พึงกระทำมูล (วาระที่ ๓)
เพราะปรารภสัญโญชนธรรมทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทั้งสัญโญชนธรรมและสัญโญชนสัมปยุตตธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
๔. ธรรมที่เป็นสัญโญชนสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่ สัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นสัญโญชนสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นสัญโญชนสัมปยุตตธรรม แต่ ไม่ใช่สัญโญชนธรรม ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัญโญชนสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่ สัญโญชนธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
๕. ธรรมที่เป็นสัญโญชนสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่ สัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งสัญโญชนธรรม และ สัญโญชนสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 538
คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นสัญโญชนสัมปยุตตธรรม แต่ ไม่ใช่สัญโญชนธรรม สัญโญชนธรรมทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.
๖. ธรรมที่เป็นสัญโญชนสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่ สัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งสัญโญชนธรรม และ สัญโญชนสัมปยุตตธรรม และธรรมที่เป็นสัญโญชนสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม ด้วยอํานาจของอารัมมณปัจจัย
คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นสัญโญชนสัมปยุตตธรรม แต่ ไม่ใช่สัญโญชนธรรม สัญโญชนธรรมทั้งหลาย และขันธ์ทั้งหลายที่เป็น สัญโญชนสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
๗. ธรรมที่เป็นทั้งสัญโญชนธรรม และสัญโญชนสัมปยุตตธรรม และธรรมที่เป็นทั้งสัญโญชนสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่ สัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งสัญโญชนธรรม และ สัญโญชนสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ. (วาระที่ ๗ - ๙)
๓. อธิปติปัจจัย
[๔๘๙] ๑. ธรรมที่เป็นทั้งสัญโญชนธรรม และสัญโญชนสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งสัญโญชนธรรม และ สัญโญชนสัมปยุตตธรรม ด้วยอํานาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ มี ๓ วาระ (วาระที่ ๑ - ๓)
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 539
๔. ธรรมที่เป็นสัญโญชนสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่ สัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นสัญโญชนสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ มี ๓ วาระ (วาระที่ ๔ - ๖)
อารัมมณาธิปติก็ดี สหชาตาธิปติก็ดี พึงกระทำในวาระ แม้ทั้ง ๓ เหล่านี้.
๗. ธรรมที่เป็นทั้งสัญโญชนธรรม และ สัญโญชนสัมปยุตตธรรม และธรรมที่เป็นสัญโญชนสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่ สัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งสัญโญชนธรรม และ สัญโญชนสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ มี ๓ วาระ (วาระที่ ๗ - ๙)
๔. อนันตรปัจจัย
[๔๙๐] ๑. ธรรมที่เป็นทั้งสัญโญชนธรรม และสัญโญชนสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งสัญโญชนธรรม และ สัญโญชนสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ.
การจำแนกไม่มี เหมือนกับอารัมมณปัจจัย ไม่มีแตกต่างกัน.
๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๑๐. อาเสวนปัจจัย
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 540
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ.
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ.
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ.
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ.
พึงกระทำโดยนัยแห่งอารัมมณปัจจัย.
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ.
๑๑. กัมมปัจจัย
[๔๙๑] ๑. ธรรมที่เป็นสัญโญชนสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่ สัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นสัญโญชนสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ.
๑๒. อาหารปัจจัย ฯลฯ ๒๑. อวิคตปัจจัย
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ.
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ.
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย มี ๓ วาระ.
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ.
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ.
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ.
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 541
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๔๙๒] ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ ใน นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ใน สัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.
ปัจจนียนัย
การยกปัจจัยในปัจจนียะ
[๔๙๓] ๑. ธรรมที่เป็นทั้งสัญโญชนธรรม และสัญโญชนสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งสัญโญชนธรรม และ สัญโญชนสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 542
๙ วาระ พึงกระทำอย่างที่กล่าวมาแล้ว พึงเปลี่ยนแปลง ในบททั้ง ๓ นั่นเทียว นานาขณิกะ ไม่มี.
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๔๙๔] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในโนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.
อนุโลมปัจจนียนัย
การนัยจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๔๙๕] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ... ฯลฯ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในนมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๔๙๖] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ... ใน อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ พึงกระทำบทที่เป็นอนุโลม ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.
สัญโญชนสัญโญชนสัมปยุตตทุกะ จบ