พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย

๒๖. คันถทุกะ

 
บ้านธัมมะ
วันที่  27 ก.พ. 2565
หมายเลข  42275
อ่าน  386

[เล่มที่ 88] พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔

พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๗

ปัฏฐาน ภาคที่ ๔

อนุโลมทุกปัฏฐาน

๒๖. คันถทุกะ 544


อ่านหัวข้ออื่นๆ ... [เล่มที่ 88]


  ข้อความที่ 1  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 544

๒๖. คันถทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๔๙๘] ๑. คันถธรรม อาศัยคันถธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย

คือ อภิชฌากายคันถะ อาศัยสีลัพพตปรามาสกายคันถะ, สีลัพพตปรามาสกายคันถะ อาศัยอภิชฌากายคันถะ, อภิชฌากายคันถะ อาศัยอิทังสัจจาภินิเวสกายคันถะ, อิทังสัจจาภินิเวสกายคันถะ อาศัยอภิชฌากายคันถะ.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม อาศัยคันถธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย อาศัยคันถธรรม ทั้งหลาย.

๓. คันถธรรม และธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม อาศัย คันถธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ อภิชฌากายคันถะ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยสีลัพพตปรามาสกายคันถธรรม.

พึงผูกจักรนัย

๔. ธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

 
  ข้อความที่ 2  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 545

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่คันถธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลายอาศัย หทยวัตถุ.

ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

๕. คันถธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ คันถธรรมทั้งหลาย อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่คันถธรรม.

๖. คันถธรรม และธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม อาศัย ธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่คันถธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

๗. คันถธรรม อาศัยคันถธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ คันถธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ อภิชฌากายคันถะ อาศัยสีลัพพตปรามาสกายคันถะ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย.

พึงผูกจักรนัย

๘. ธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม อาศัยคันถธรรม และ ธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่คันถธรรม และคันถธรรมทั้งหลาย ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยคันถะและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย.

 
  ข้อความที่ 3  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 546

๙. คันถธรรม และธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม อาศัย คันถธรรม และธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อภิชฌากายคันถะ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่คันถธรรม และสีลัพพตปรามาสกายคันถะ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

พึงผูกจักรนัย

ฯลฯ

เพราะอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เพราะอวิคตปัจจัย

การนับจํานวนวาระในอนุโลม

[๔๙๙] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๕๐๐] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่คันถธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

อเหตุกปฏิสนธิ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

 
  ข้อความที่ 4  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 547

๒. นอารัมมณปัจจัย

[๕๐๑] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม อาศัยคันถธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยคันถธรรมทั้งหลาย. ๒. ธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่คันถธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม อาศัยคันถธรรม และ ธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยคันถธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ฯลฯ

๓. นอธิปติปัจจัย ฯลฯ ๗. อุปนิสสยปัจจัย

ฯลฯ เพราะนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เพราะนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ.

ฯลฯ เพราะนสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ.

ฯลฯ เพราะนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ.

ฯลฯ เพราะนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ.

๘. นปุเรชาตปัจจัย

[๕๐๒] ๑. คันถธรรม อาศัยคันถธรรม เกิดขึ้น เพราะ นปุเรชาตปัจจัย

 
  ข้อความที่ 5  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 548

คือ ในอรูปภูมิ อภิชฌากายคันถะ อาศัยอิทังสัจจาภินิเวสกายคันถะ อิทังสัจจาภินิเวสกายคันถะ อาศัยอภิชฌากายคันถะ, ในอรูปภูมิ สีลัพพตปรามาส ไม่มี.

พึงกระทำ ๙ วาระ อย่างนี้.

๙. นปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ ๒๐. โนวิคตปัจจัย

ฯลฯ เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เพราะนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เพราะนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ.

ฯลฯ เพราะนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เพราะนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ.

ฯลฯ เพราะนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ.

ฯลฯ เพราะนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ.

ฯลฯ เพราะนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ.

ฯลฯ เพราะนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ.

ฯลฯ เพราะโนวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เพราะโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ.

ฯลฯ เพราะโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๕๐๓] ในนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตร-

 
  ข้อความที่ 6  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 549

ปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๕๐๕] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ... ใน นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ

พึงนับอย่างที่กล่าวมาแล้ว.

ปัจจนียานุโลม

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๕๐๕] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ ... ใน อนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ.

สหชาตวาระ เหมือนกับ ปฏิจจวาระ.

 
  ข้อความที่ 7  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 550

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๕๐๖] ๑. คันถธรรม อาศัยคันถธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุ ปัจจัย มี ๓ วาระ เหมือนกับ ปฏิจจวาระ. ๔. ธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์๑ ที่ไม่ใช่คันถธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

] ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัย หทยวัตถุ.

มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่คันถธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

๕. คันถธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ คันถธรรมทั้งหลาย อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่คันถธรรม คันถธรรมทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

๖. คันถธรรม และธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม อาศัย ธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

 
  ข้อความที่ 8  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 551

คือ ขันธ์ ๓ คันถธรรมทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่คันถธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

คันถธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

๗. คันถธรรม อาศัยคันถธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ คันถธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ อภิชฌากายคันถะ อาศัยสีลัพพตปรามาสกายคันถะ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย.

พึงผูกจักรนัย

อภิชฌากายคันถะ อาศัยสีลัพพตปรามาสกายคันถะ และหทยวัตถุ.

พึงผูกจักรนัย

๘. ธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม อาศัยคันถธรรม และ ธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่คันถธรรม และคันถธรรมทั้งหลาย อาศัยขันธ์ ๒.

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่คันถธรรม อาศัยคันถธรรม และหทยวัตถุ.

๙. คันถธรรม และธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม อาศัย คันถธรรม และธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อภิชฌากายคันถะ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่คันถธรรม และสีลัพพตปรามาสกายคันถะ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

พึงผูกจักรนัย

 
  ข้อความที่ 9  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 552

อภิชฌากายคันถะ และสัมปยุตตขันธ์ อาศัยสีลัพพตปรามาสกายคันถะ และหทยวัตถุ ย่อมเกิดขึ้น.

พึงผูกจักรนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๕๐๗] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๕๐๘] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่คันถธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ปฏิสนธิ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ.

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่คันถธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ อาศัยหทยวัตถุ.

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และหทยวัตถุ ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๕๐๙] ในนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

 
  ข้อความที่ 10  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 553

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๕๑๐] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ... ใน นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ นโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๕๑๑] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ ... ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ.

แม้นิสสยวาระ ก็เหมือนกับ ปัจจยวาระ นั่นเอง.

สังสัฏฐวาระก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี พึงกระทำเป็น ๙ วาระ รูปไม่มี.

 
  ข้อความที่ 11  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 554

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๕๑๒] ๑. คันถธรรม เป็นปัจจัยแก่คันถธรรม ด้วยอำนาจ ของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นคันถธรรม เป็นปัจจัยแก่คันถะที่เป็นสัมปยุตตธรรมทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๒. คันถธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นคันถธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๓. คันถธรรม เป็นปัจจัยแก่คันถธรรม และธรรม ที่ไม่ใช่คันถธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นคันถธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย, คันถธรรม และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ ไม่ใช่คันถธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่ไม่ใช่คันถธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

 
  ข้อความที่ 12  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 555

๕. ธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม เป็นปัจจัยแก่คันถธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่ไม่ใช่คันถธรรม เป็นปัจจัยแก่คันถะที่เป็นสัมปยุตตธรรมทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม เป็นปัจจัยแก่คันถธรรม และธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่ไม่ใช่คันถธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย, คันถธรรม และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุ ปัจจัย.

๗. คันถธรรม และธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม เป็น ปัจจัยแก่คันถธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นคันถธรรม และไม่ใช่คันถธรรม เป็นปัจจัย แก่คันถะที่เป็นสัมปยุตตธรรมทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๘. คันถธรรม และธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นคันถธรรม และไม่ใช่คันถธรรม เป็นปัจจัย แก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๙. คันถธรรม และธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม เป็น ปัจจัยแก่คันถธรรม และธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม ด้วยอำนาจของ เหตุปัจจัย

 
  ข้อความที่ 13  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 556

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นคันถธรรม และไม่ใช่คันถธรรม เป็นปัจจัย แก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย, คันถธรรม และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วย อำนาจของเหตุปัจจัย.

๒. อารัมมณปัจจัย

[๕๑๓] ๑. คันถธรรม เป็นปัจจัยแก่คันถธรรม ด้วยอำนาจ ของอารัมมณปัจจัย

คือ เพราะปรารภคันถธรรมทั้งหลาย คันถธรรมทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น. พึงกระทำมูล (วาระที ๒)

เพราะปรารภคันถธรรมทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่คันถธรรม ย่อม เกิดขึ้น.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๓)

เพราะปรารภคันถธรรมทั้งหลาย คันถธรรม และสัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ ไม่ใช่คันถธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ แล้วพิจารณากุศลกรรม นั้น.

บุคคลพิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน.

บุคคลออกจากฌานแล้ว พิจารณาฌาน.

 
  ข้อความที่ 14  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 557

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรคแล้ว พิจารณามรรค, พิจารณาผล, พิจารณานิพพาน.

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่มรรค, แก่ผล, แก่ อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว ที่ไม่ใช่คันถธรรม ฯลฯ กิเลสที่ข่มแล้ว กิเลสที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน ฯลฯ

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่คันถธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ, ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่ไม่ใช่คันถธรรม ด้วย เจโตปริยญาณ.

อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ, อากิญจัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น ปัจจัยแก่กายวิญญาณ.

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่คันถธรรม เป็นปัจจัยแก่ อิทธิวิธญาณ, แก่ เจโตปริยญาณ, แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ, แก่ยถากัมมูปคญาณ, แก่ อนาคตังสญาณ, แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม เป็นปัจจัยแก่คันถธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

 
  ข้อความที่ 15  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 558

คือ บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรมแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งกุศลกรรมนั้น เพราะปรารภกุศลกรรมนั้น ราคะ ย่อม เกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

พิจารณากุศลกรรมที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ

ออกจากฌานแล้ว พิจารณาฌาน.

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ ทั้งหลายที่ไม่ใช่คันถธรรม เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม เป็นปัจจัยแก่คันถธรรม และธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ กระทำอุโบสถกรรมแล้ว ย่อม ยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งกุศลกรรมนั้น เพราะปรารภกุศลกรรมนั้น คันถธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

กุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ

ออกจากฌานแล้ว พิจารณาฌาน.

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ ทั้งหลายที่ไม่ใช่คันถธรรม เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น คันถธรรม และ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

๗. คันถธรรม และธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม เป็น ปัจจัยแก่คันถธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระ ที่ ๗ - ๙)

พึงกระทำคำว่า เพราะปรารภ.

 
  ข้อความที่ 16  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 559

๓. อธิปติปัจจัย

[๕๑๔] ๑. คันถธรรม เป็นปัจจัยแก่คันถธรรม ด้วยอำนาจ ของอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ.

พึงกระทำว่าให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เหมือนกับ อารัมมณปัจจัย.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ ไม่ใช่คันถธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

ให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ

พิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ

ออกจากฌาน ฯลฯ

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค ฯลฯ ผล ฯลฯ นิพพาน ฯลฯ

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่ โคตรภู, แก่โวทาน, แก่มรรค, แก่ผล ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่คันถธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำจักษุ เป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อม เกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 17  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 560

๓. ธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม เป็นปัจจัยแก่คันถธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

ให้ทานแล้ว ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ

พิจารณากุศลกรรมทังหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ

ออกจากฌาน ฯลฯ

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำซึ่งจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่คันถธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้น กระทำซึ่งกุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม เป็นปัจจัยแก่คันถธรรมทั้งหลาย ด้วย อำนาจของอธิปติปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม เป็นปัจจัยแก่คันถธรรม และธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำซึ่งทาน ฯลฯ ขันธ์ ทั้งหลายที่ไม่ใช่คันถธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำทานเป็นต้น

 
  ข้อความที่ 18  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 561

นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว คันถธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย, คันถธรรม และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๕. คันถธรรม และธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม เป็น ปัจจัยแก่คันถธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ มี ๓ วาระ.

๔. อนันตรปัจจัย

[๕๑๕] ๑. คันถธรรม เป็นปัจจัยแก่คันถธรรม ด้วยอำนาจ ของอนันตรปัจจัย

คือ คันถธรรมทั้งหลายที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่คันถธรรมทั้งหลาย ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๒. คันถธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ คันถธรรมทั้งหลาย ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ ไม่ใช่คันถธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

คันถธรรมทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 19  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 562

๓. คันถธรรม เป็นปัจจัยแก่คันถธรรม และธรรม ที่ไม่ใช่คันถธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ คันถธรรมทั้งหลาย ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่คันถธรรม ทั้งหลายที่เกิดหลังๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ ไม่ใช่คันถธรรม ด้วยอํานาจของอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๔ - ๕ - ๖)

๒ วาระ พึงกระทำอาวัชชนะ, วาระที่ ๑ ไม่มี.

๗. คันถธรรม และธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม เป็น ปัจจัยแก่คันถธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๗ - ๘ - ๙)

วุฏฐานะแม้หนึ่ง พึงกระทำในวาระท่ามกลาง.

๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย

๑. คันถธรรม เป็นปัจจัยแก่คันถธรรม ด้วยอำนาจ ของสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ.

 
  ข้อความที่ 20  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 563

๙. อุปนิสสยปัจจัย

[๕๑๖] ๑. คันถธรรม เป็นปัจจัยแก่คันถธรรม ด้วยอำนาจ ของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

คันถธรรมทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่คันถธรรมทั้งหลาย ฯลฯ มี ๓ วาระ (วาระที่ ๑ - ๒ - ๓)

๔. ธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ ไม่ใช่คันถธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้วให้ทาน ฯลฯ ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม เป็นปัจจัยแก่คันถธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

 
  ข้อความที่ 21  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 564

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้ว ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ราคะ ฯลฯ แก่ความปรารถนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม เป็นปัจจัยแก่คันถธรรม และธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้ว ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่คันถธรรม และสัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๗. คันถธรรม และธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม เป็น ปัจจัยแก่คันถธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ มี ๓ วาระ (วาระที่ ๗ - ๘ - ๙)

พึงกระทำ โดยนัยแห่งอารัมมณปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 22  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 565

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย

[๕๑๗] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ ไม่ใช่คันถธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ, ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น ปัจจัยแก่กายวิญญาณ.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัย แก่กายวิญญาณ.

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่คันถธรรม ด้วยอำนาจ ของปุเรชาตปัจจัย.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม เป็นปัจจัยแก่คันถธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

 
  ข้อความที่ 23  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 566

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ เพราะ ปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่คันถธรรมทั้งหลาย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม เป็นปัจจัยแก่คันถธรรม ธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ เพราะ ปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น โทมนัส ย่อม เกิดขึ้น คันถธรรมและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่คันถธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วย อำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ ๑๒. อาเสวนปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ.

 
  ข้อความที่ 24  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 567

๑๓. กัมมปัจจัย

[๕๑๘] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ ไม่ใช่คันถธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่ไม่ใช่คันถธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่ไม่ใช่คันถธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ และกฏัตตารูป ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม เป็นปัจจัยแก่คันถธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่ไม่ใช่คันถธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม เป็นปัจจัยแก่คันถธรรม และธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่ไม่ใช่คันถธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย, คันถธรรม และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 25  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 568

๑๔. วิปากปัจจัย

๑. ธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ ไม่ใช่คันถธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ.

๑๕. อาหารปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย มี ๓ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ.

๒๐. วิปปยุตตปัจจัย

[๕๑๙] ๑. คันถธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ ไม่ใช่คันถธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

๓. ธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม เป็นปัจจัยแก่คันถธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

 
  ข้อความที่ 26  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 569

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่คันถธรรมทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม เป็นปัจจัยแก่คันถธรรม และธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม ด้วยอํานาจของวิปปยุตตปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่คันถธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วย อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๕. คันถธรรม และธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

๒๑. อัตถิปัจจัย

[๕๒๐] ๑. คันถธรรม เป็นปัจจัยแก่คันถธรรม ด้วยอำนาจ ของอัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.

๒. คันถธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

คันถธรรมทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 27  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 570

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

คันถธรรมทั้งหลายที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วย อำนาจของอัตถิปัจจัย.

๓. คันถธรรมเป็นปัจจัยแก่คันถธรรม และธรรมที่ไม่ ใช่คันถธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ เหมือนกับปฏิจจ- วาระ.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ ไม่ใช่คันถธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และ อินทริยะ ฯลฯ

๕. ธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม เป็นปัจจัยแก่คันถธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่คันถธรรม เป็นปัจจัยแก่คันถธรรมทั้งหลาย ด้วย อำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ เพราะ ปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่คันถธรรมทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม เป็นปัจจัยแก่คันถธรรม และธรรมี่ไม่ใช่คันถธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

 
  ข้อความที่ 28  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 571

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่คันถธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓, คันถธรรมและ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ เพราะ ปรารภจักษุเป็นต้นนั้น คันถธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่คันถธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วย อำนาจของอัตถิปัจจัย.

๗. คันถธรรม และธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม เป็น ปัจจัยแก่คันถธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

สีลัพพตปรามาสกายคันถะ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่ อภิชฌากายคันถะ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

พึงผูกจักรนัย

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

สีลัพพตปรามาสกายคันถะ และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่อภิชฌากายคันถะ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

พึงผูกจักรนัย

๘. คันถธรรม และธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

 
  ข้อความที่ 29  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 572

มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ, สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ, ปัจฉาชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และรวมกับ อินทริยะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่คันถธรรม และคันถธรรมทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ที่ไม่ใช่คันถธรรม ด้วยอำนาจของ อัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่

คันถธรรมทั้งหลาย และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ คันถธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

คันถธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

คันถธรรม แสะสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กาย นี้ ทีเกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่

คันถธรรมทั้งหลายที่เกิดภายหลัง และกวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่ กายนี้ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อินทริยะ ได้แก่

คันถธรรมทั้งหลายที่เกิดภายหลัง และรูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่ กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 30  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 573

๙. คันธรรม และธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม เป็น ปัจจัยแก่คันถธรรม และธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม ด้วยอำนาจของ อัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่คันถธรรม และสีลัพพตปรามาสกายคันถะ เป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และอภิชฌากายคันถะ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วย อำนาจของอัตถิปัจจัย.

พึงผูกจักรนัย

ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่

สีลัพพตปรามาสกายคันถะ และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่อภิชฌากายคันถะ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอํานาจของอัตถิปัจจัย.

พึงผูกจักรนัย

การนับจํานวนวาระในอนุโลม

[๕๒๑] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ใน ปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ใน กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ

 
  ข้อความที่ 31  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 574

ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

การยกปัจจัยในปัจจนียะ

[๕๒๒] ๑. คันถธรรม เป็นปัจจัยแก่คันถธรรม ด้วยอำนาจ ของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็น ปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๒. คันถธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย อำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

๓. คันถธรรม เป็นปัจจัยแก่คันถธรรม และธรรม ที่ไม่ใช่คันถธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย อำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ ไม่ใช่คันถธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย อำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

 
  ข้อความที่ 32  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 575

ปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม เป็นปัจจัยแก่คันถธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอํานาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย อำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม เป็นปัจจัยแก่คันถธรรม และธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็น ปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๗. คันถธรรม และธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม เป็น ปัจจัยแก่คันถธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย อำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๘. คันถธรรม และธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

๙. คันถธรรม และธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม เป็น ปัจจัยแก่คันถธรรม และธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม ด้วยอำนาจของ อารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 33  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 576

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๕๒๓] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในโนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๕๒๔] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ... ฯลฯ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในโนนัตถิ- ปัจจัย มี ๙ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๕๒๕] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ... ใน อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ พึงกระทำบทที่เป็นอนุโลมให้บริบูรณ์ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

คันถทุกะ จบ