๓๐. คันถคันถสัมปยุตตทุกะ
[เล่มที่ 88] พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔
พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๗
ปัฏฐาน ภาคที่ ๔
อนุโลมทุกปัฏฐาน
๓๐. คันถคันถสัมปยุตตทุกะ 633-641
อ่านหัวข้ออื่นๆ ... [เล่มที่ 88]
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 633
๓๐. คันถคันถสัมปยุตตทุกะ
ปฏิจจวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๕๖๗] ๑. ธรรมที่เป็นทั้งคันถธรรม และคันถสัมปยุตตธรรม อาศัยธรรมที่เป็นทั้งคันถธรรม และคันถสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ อภิชฌากายคันถะ อาศัยสีลัพพตปรามาสกายคันถะ, สีลัพพตปรามาสกายคันถะ อาศัยอภิชฌากายคันถะ, อภิชฌากายคันถะ อาศัย อิทังสัจจาภินิเวสกายคันถะ, อิทังสัจจาภินิเวสกายคันถะ อาศัยอภิชฌากายคันถะ.
๒. ธรรมที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่คันถธรรม อาศัยธรรมที่เป็นทั้งคันถธรรมและคันถสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยคันถธรรมทั้งหลาย.
๓. ธรรมที่เป็นทั้งคันถธรรม และคันถสัมปยุตตธรรม และธรรมที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่คันถธรรม อาศัย ธรรมที่เป็นทั้งคันถธรรมและคันถสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุ ปัจจัย
คือ อภิชฌากายคันถะ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยสีลัพพตปรามาสกายคันถะ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 634
พึงผูกจักรนัย
๔. ธรรมที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่คันถธรรม อาศัยธรรมที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่คันถธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่ คันถธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.
๕. ธรรมที่เป็นทั้งคันถธรรมและคันถสัมปยุตตธรรม อาศัยธรรมที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่คันถธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ คันถธรรมทั้งหลาย อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่คันถธรรม. ๖. ธรรมที่เป็นทั้งคันถธรรม และคันถสัมปยุตตธรรม และธรรมที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่คันถธรรม อาศัยธรรม ที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่คันถธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุ ปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และคันถธรรมทั้งหลาย อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่คันถธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.
๗. ธรรมที่เป็นทั้งคันถธรรมและคันถสัมปยุตตธรรม อาศัยธรรมที่เป็นทั้งคันถธรรม และคันถสัมปยุตตธรรม และธรรม ที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่คันถธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุ ปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 635
คือ คันถธรรมทั้งหลาย อาศัยคันถธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย.
๘. ธรรมที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่คันถธรรม อาศัยธรรมที่เป็นทั้งคันถธรรมและคันถสัมปยุตตธรรม และ ธรรมที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่คันถธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่ คันถธรรม และคันถธรรมทั้งหลาย ฯลฯ ขันธ์ ๒.
๙. ธรรมที่เป็นทั้งคันถธรรม และคันถสัมปยุตตธรรม และธรรม เป็นคันถสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่คันถธรรม อาศัยธรรม ที่เป็นทั้งคันถธรรมและคันถสัมปยุตตธรรม และธรรมที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่คันถธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และอภิชฌากายคันถะ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่คันถธรรม และสีลัพพตปรามาสกายคันถะ ฯลฯ ขันธ์ ๒.
พึงผูกจักรนัย
ฯลฯ
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๕๖๘] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี๙ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 636
ปัจจนียนัย
๑. นอธิปติปัจจัย
[๕๖๙] ๑. ธรรมที่ เป็นทั้งคันถธรรม และคันถสัมปยุตตธรรม อาศัยธรรมที่เป็นทั้งคันถธรรม และคันถสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย ฯลฯ
ในที่นี้ นเหตุปัจจัย ไม่มี.
[๕๗๐] ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ.
การนับทั้งสองนัยแม้นอกนี้ก็ดี สหชาตวาระก็ดี ปัจจยวาระก็ดี นิสสยวาระก็ดี สังสัฏฐวาระก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี เหมือนกับปฏิจจ- วาระอย่างที่กล่าวมาแล้ว.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 637
ปัญหาวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๕๗๑] ๑. ธรรมที่เป็นทั้งคันถธรรม และคันถสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งคันถธรรมและคันถสัมปยุตตธรรม ด้วย อำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นทั้งคันถธรรม และคันถสัมปยุตตธรรม เป็น ปัจจัยแก่คันถะที่เป็นสัมปยุตตธรรมทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
๒. ธรรมที่เป็นทั้งคันถธรรมและคันถสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่คันถธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นทั้งคันถธรรม และคันถสัมปยุตตธรรม เป็น ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
๓. ธรรมที่เป็นทั้งคันถธรรมและคันถสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งคันถธรรมและคันถสัมปยุตตธรรม และ ธรรมที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่คันถธรรม ด้วยอำนาจของ เหตุปัจจัย
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นทั้งคันถธรรม และคันถสัมปยุตตธรรม เป็น ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และคันถธรรมทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 638
๔. ธรรมที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่คันถธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่ คันถธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่คันถธรรม เป็น ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
๕. ธรรมที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่คันถธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งคันถธรรมและคันถสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่คันถธรรม เป็น ปัจจัยแก่คันถะที่เป็นสัมปยุตตธรรมทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
๖. ธรรมที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่คันถธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งคันถธรรมและคันถสัมปยุตตธรรม และธรรมที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่คันถธรรม ด้วยอำนาจ ของเหตุปัจจัย
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่คันถธรรม เป็น ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และคันถธรรมทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
๗. ธรรมที่เป็นคันถธรรมและคันถสัมปยุตตธรรม และธรรมที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่คันถธรรม เป็นปัจจัย แก่ธรรมที่เป็นทั้งคันถธรรม และคันถสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจ ของเหตุปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 639
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นทั้งคันถธรรม และคันถสัมปยุตตธรรม และ ที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่คันถธรรม เป็นปัจจัยแก่คันถะที่เป็น สัมปยุตตธรรมทั้งหลาย ด้วยอํานาจของเหตุปัจจัย.
๘. ธรรมที่เป็นทั้งคันถธรรมและคันถสัมปยุตตธรรม และธรรมที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่คันถธรรม เป็นปัจจัย แก่ธรรมที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่คันถธรรม ด้วยอำนาจ ของเหตุปัจจัย
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นทั้งคันถธรรม และคันถสัมปยุตตธรรม และ ที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่คันถธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
๙. ธรรมที่เป็นทั้งคันถธรรมและคันถสัมปยุตตธรรม และธรรมที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่คันถธรรม เป็นปัจจัย แก่ธรรมที่เป็นทั้งคันถธรรมและคันถสัมปยุตตธรรม และธรรมที่ เป็นคันถสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่คันถธรรม ด้วยอำนาจของเหตุ ปัจจัย
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นทั้งคันถธรรม และคันถสัมปยุตตธรรม และ ที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่คันถธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และคันถธรรมทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 640
๒. อารัมมณปัจจัย
[๕๗๒] ๑. ธรรมที่เป็นทั้งคันถธรรม และคันถสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งคันถธรรมและคันถสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ เพราะปรารภคันถธรรมทั้งหลาย คันถธรรมทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.
พึงกระทำมูล (วาระที่ ๒)
เพราะปรารภคันถธรรมทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่คันถธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
พึงกระทำมูล (วาระที่ ๓)
เพราะปรารภคันถธรรมทั้งหลาย คันถธรรมทั้งหลาย และขันธ์ทั้ง หลายที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
๔. ธรรมที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่คันถธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่คันถธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ ใช่คันถธรรม ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่คันถธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
พึงกระทำมูล (วาระที่ ๕)
เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่คันถธรรม คันถธรรมทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.
พึงกระทำมูล (วาระที่ ๖)
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 641
เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่ คันถธรรม คันถธรรมและขันธ์ทั้งหลายที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
๓ วาระ แม้นอกนี้ ก็พึงกระทำอย่างที่กล่าวมาแล้ว.
๓. อธิปติปัจจัย ฯลฯ ๒๐. อวิคตปัจจัย
ในอธิปติปัจจัยก็ดี ในอนันตรปัจจัยก็ดี ในอุปนิสสยปัจจัยก็ดี เหมือน กับอารัมมณปัจจัย วิภังค์ไม่มี.
การนับจํานวนวาระในอนุโลม
[๕๗๓] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ใน อินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในนัตถิ ปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.
อรูปธรรมเท่านั้นเป็นปัจจัย. แต่ละอย่างพึงกระทำอย่างละ ๓ นัย ในอารัมมณะ สหชาตะ อุปนิสสยะ พึงเปลี่ยนแปลงทั้ง ๙ วาระ แม้ในปัญหา วาระ ก็พึงกระทำอย่างที่กล่าวมาแล้วทั้งหมด.
คันถคันถสัมปยุตตทุกะ จบ