พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย

๔๘. นีวรณนีวรณสัมปยุตตทุกะ

 
บ้านธัมมะ
วันที่  27 ก.พ. 2565
หมายเลข  42286
อ่าน  404

[เล่มที่ 88] พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔

พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๗

ปัฏฐาน ภาคที่ ๔

อนุโลมทุกปัฏฐาน

๔๘. นีวรณนีวรณสัมปยุตตทุกะ 715-728


อ่านหัวข้ออื่นๆ ... [เล่มที่ 88]


  ข้อความที่ 1  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 715

๔๘. นีวรณนีวรณสัมปยุตตทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๖๔๔] ๑. ธรรมที่เป็นทั้งนีวรณธรรม และนีวรณสัมปยุตตธรรม อาศัยธรรมที่เป็นทั้งนีวณธรรม และนีวรณสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ถีนมิทธนิวรณ์ อุทธัจจนิวรณ์ อวิชชานิวรณ์ อาศัยกามฉันทนิวรณ์.

พึงผูกจักรนัย พึงทำนิวรณ์ทั้งหมด.

๒. ธรรมที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่นีวรณธรรม อาศัยธรรมที่เป็นทั้งนีวรณธรรม และนีวรณสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยนีวรณธรรมทั้งหลาย.

๓. ธรรมที่เป็นทั้งนีวรณธรรม และนีวรณสัมปยุตตธรรม และธรรมที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่นีวรณธรรม อาศัยธรรมที่เป็นทั้งนีวรณธรรม และนีวรณสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

 
  ข้อความที่ 2  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 716

คือ ถีนมิทธนิวรณ์ อุทธัจจนิวรณ์ อวิชชานิวรณ์ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยกามฉันทนิวรณ์.

พึงผูกจักรนัย.

๔. ธรรมที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรมแต่ไม่ใช่นีวรณธรรม อาศัยธรรมที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่นีวรณธรรม เกิดขึ้น เพราะปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรมแต่ไม่ใช่ นีวรณธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

๕. ธรรมที่เป็นทั้งนีวรณธรรม และนีวรณสัมปยุตตธรรม อาศัยธรรมที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่นีวรณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ นีวรณธรรมทั้งหลาย อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่นีวรณธรรม.

๖. ธรรมที่เป็นทั้งนีวรณธรรม และนีวรณสัมปยุตตธรรม และธรรมที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่นีวรณธรรม อาศัยธรรมที่เป็นนีวรณธรรมสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่นีวรณธรรม เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และนีวรณธรรมทั้งหลาย อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่นีวรณธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

 
  ข้อความที่ 3  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 717

๗. ธรรมที่เป็นทั้งนีวรณธรรม และนีวรณสัมปยุตตธรรม อาศัยธรรมที่เป็นทั้งนีวรณธรรม และนีวรณสัมปยุตตธรรม และธรรมที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่นีวรณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ถีนมิทธนิวรณ์ อุทธัจจนิวรณ์ อวิชชานิวรณ์ อาศัยกามฉันทนิวรณ์ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย.

พึงผูกจักรนัย.

๘. ธรรมที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรมแต่ไม่ใช่นีวรณธรรม อาศัยธรรมที่เป็นทั้งนีวรธรรม และนีวรณสัมปยุตตธรรม และธรรมที่เป็นนีวรณธรรมและนีวรณสัมปยุตตธรรม และธรรม เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่ นีวรณธรรม และนีวรณธรรมทั้งหลาย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

๙. ธรรมที่เป็นทั้งนีวรณธรรม และนีวรณสัมปยุตตธรรม และธรรมที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่นีวรณธรรม เกิดขึ้น อาศัยธรรมที่เป็นทั้งนีวรณธรรมและนีวรณสัมปยุตตธรรม และธรรม ที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรมแต่ไม่ใช่นีวรณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุ ปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ ถีนมิทธนิวรณ์ อุทธัจจนิวรณ์ อวิชชานิวรณ์ อาศัย ขันธ์ ๑ ที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรมแต่ไม่ใช่นีวรณธรรม และกามฉันทนิวรณ์ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

 
  ข้อความที่ 4  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 718

พึงผูกจักรนัย.

ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในอุโลม

[๖๔๕] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ใน อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๖๔๖] ๑. ธรรมที่เป็นทั้งนีวรณธรรม และนีวรณสัมปยุตตธรรม อาศัยธรรมที่เป็นทั้งนีวรณธรรม และนีวรณสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ อวิชชานิวรณ์ อาศัยวิจิกิจฉานิวรณ์, อวิชชานิวรณ์ อาศัย อุทธัจจนิวรณ์.

๒. ธรรมที่เป็นทั้งนีวรณธรรม และนีวรณสัมปยุตตธรรม อาศัยธรรมที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่นีวรณธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ อวิชชานิวรณ์ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่ สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

 
  ข้อความที่ 5  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 719

๓. ธรรมที่เป็นทั้งนีวรณธรรม และนีวรณสัมปยุตตธรรม อาศัยธรรมที่เป็นทั้งนีวรณธรรม และนีวรณสัมปยุตตธรรม และธรรมที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่นีวรณธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ อวิชชานิวรณ์ อาศัยวิจิกิจฉานิวรณ์ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย

อวิชชานิวรณ์ อาศัยอุทธัจจนิวรณ์ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย

ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๖๔๗] ในนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ.

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๖๔๘] เพราะเหตุปัจจัย ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ... ฯลฯ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ.

 
  ข้อความที่ 6  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 720

ปัจจนียานุโลม

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๖๔๙] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัยมี ๓ วาระ ... ใน อนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

สหชาตวาระก็ดี ปัจจยวาระก็ดี นิสสยวาระก็ดี สังสัฏฐวาระ ก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี เหมือนกับ ปฏิจจวาระ ไม่มีแตกต่างกัน.

 
  ข้อความที่ 7  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 721

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๖๕๐] ๑. ธรรมที่เป็นทั้งนีวรณธรรม และนีวรณสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งนีวรณธรรม และนีวรณสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นทั้งนีวรณธรรม และนีวรณสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่นิวรณ์ที่เป็นสัมปยุตตธรรมทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๒. ธรรมที่เป็นทั้งนีวรณธรรม และนีวรณสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรมแต่ไม่ใช่นีวรณธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นทั้งนีวรณธรรม และนีวรณสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของเหตุ ปัจจัย.

๓. ธรรมที่เป็นทั้งนีวรณธรรม และนีวรณสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งนีวรณธรรม และนีวรณสัมปยุตตธรรม และธรรมที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่นีวรณธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นนีวรณธรรม และนีวรณสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และนีวรณทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 8  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 722

๒. อารัมมณปัจจัย

[๖๕๑] ๑. ธรรมที่เป็นทั้งนีวรณธรรม และนีวรณสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งนีวรณธรรม และนีวรณสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ เพราะปรารภนีวรณธรรมทั้งหลาย นีวรณธรรมทั้งหลาย ย่อม เกิดขึ้น

พึงถามถึงมูล. (วาระที่ ๒)

เพราะปรารภนีวรณธรรมทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรมแต่ไม่ใช่นีวรณธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

พึงถามถึงมูล. (วาระที่ ๓) เพราะปรารภนีวรณธรรมทั้งหลาย นีวรณธรรม และสัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

๔. ธรรมที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรมแต่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรมแต่ไม่ใช่นีวรณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่ นีวรณธรรม ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่นีวรณธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

พึงถามถึงมูล. (วาระที่ ๕)

เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่ นีวรณธรรม นีวรณธรรมทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

 
  ข้อความที่ 9  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 723

เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่ นีวรณธรรม นีวรณธรรมและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

๖. ธรรมเป็นทั้งนีวรณธรรม และนีวรณสัมปยุตตธรรม และธรรมที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่นีวรณธรรมเป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งนีวรณธรรม และนีวรณสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ.

๓. อธิปติปัจจัย

[๖๕๒] ๑. ธรรมที่เป็นทั้งนีวรณธรรม และนีวรณสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งนีวรณธรรม และนีวรณสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ มี ๓ วาระ พึงกระทำว่า กระทำให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นนั้นเทียว.

๔. ธรรมที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรมแต่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรมแต่ไม่ใช่นีวรณธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่ นีวรณธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรมแต่ไม่ใช่นีวรณธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

 
  ข้อความที่ 10  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 724

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นนีวรณสัมปยุคคธรรม แต่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็น ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

พึงถามถึงมูล. (วาระที่ ๕)

เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรมแต่ไม่ใช่นีวรณธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น นีวรณธรรมทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็น ปัจจัยแก่สัมปยุตตนีวรณธรรมทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

พึงถามถึงมูล. (วาระที่ ๖)

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นนีวรณสัมปยุตธรรม แต่ไม่ใช่ นีวรณธรรมให้หนักแน่น นีวรณธรรมและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็น ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และนีวรณธรรมทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๗. ธรรมที่เป็นทั้งนีวรณธรรมและนีวรณสัมปยุตตธรรม และธรรมที่เป็นนีวรณธรรมสัมปยุตตธรรมแต่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งนีวรณธรรม และนีวรณสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ มี ๓ วาระ.

 
  ข้อความที่ 11  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 725

๔. อนันตรปัจจัย ฯลฯ ๑๐. อาเสวนปัจจัย

[๖๕๓] ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย อาวัชชนะก็ดี วุฏฐานะก็ดี ไม่มี พึงกระทำว่า ที่เกิดก่อนๆ ในที่ทั้งปวง.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย เหมือนกับ อารัมมณปัจจัย วิบากไม่มี.

๑๑. กัมมปัจจัย

[๖๕๔] ๑. ธรรมที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่ นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรมแต่ไม่ใช่ นีวรณธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็น ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

พึงถามถึงมูล. (วาระที่ ๒)

เจตนาที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็น สัมปยุตตนีวรณธรรมทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 12  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 726

เจตนาที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรมแต่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์ และนีวรณธรรมทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๑๒. อาหารปัจจัย

[๖๕๕] ๑. ธรรมที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่ นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรมแต่ไม่ใช่ นีวรณธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ

๑๓. อินทริยปัจจัย ฯลฯ ๒๐. อวิคตปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย มี ๓ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๖๕๖] ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย

 
  ข้อความที่ 13  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 727

มี ๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาเสวนปัจจัย ใน ๙ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

การยกปัจจัยในปัจจนียะ

[๖๕๗] ธรรมที่เป็นนีวรณธรรม และนีวรณสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งนีวรณธรรมและนีวรณสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ สหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

ในบททั้ง ๓ พึงเปลี่ยนแปลงให้เป็น ๙ วาระอย่างนี้.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๖๕๘] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในโนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๖๕๙] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ... ใน นอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย

 
  ข้อความที่ 14  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 728

มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในนมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๖๖๐] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ... ใน อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ พึงกระทำอนุโลมมาติกา ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

นีวรณนีวรณสัมปยุตตทุกะ จบ