พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย

๕๐. ปรามาสทุกะ

 
บ้านธัมมะ
วันที่  27 ก.พ. 2565
หมายเลข  42288
อ่าน  409

[เล่มที่ 88] พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔

พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๗

ปัฏฐาน ภาคที่ ๔

อนุโลมทุกปัฏฐาน

๕๐. ปรามาสทุกะ 730


อ่านหัวข้ออื่นๆ ... [เล่มที่ 88]


  ข้อความที่ 1  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 730

๕๐. ปรามาสทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๖๖๒] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม อาศัยปรามาสธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยปรามาสธรรม.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ ปรามาสธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่ปรามาส ธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ตลอดถึงอสัญญสัตว์. มหาภูตรูป ฯลฯ.

๓. ปรามาสธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ปรามาสธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม.

๔. ปรามาสธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓, ปรามาสธรรม และ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

 
  ข้อความที่ 2  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 731

๕. ธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม อาศัยปรามาสธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม และปรามาสธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๖๖๓] ในเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ ใน ปัจจัยทั้งปวง มี ๕ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๖๖๔] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ ปรามาสธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้ง หลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

๒. นอารัมมณปัจจัย

[๖๖๕] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม อาศัยปรามาสธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

 
  ข้อความที่ 3  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 732

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยปรามาสธรรม.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ปรามาส ธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม อาศัยปรามาสธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยปรามาสธรรม และสัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๖๖๖] ในนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ใน นอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ใน นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ใน โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

 
  ข้อความที่ 4  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 733

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๖๖๗] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ... ในน อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ฯลฯ ในนวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในโนนัตถิปัจจจัย มี ๓ วาระ ใน โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๖๖๘] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ ... ใน อนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๑ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ.

แม้สหชาตวาระ ก็เหมือนกับ ปฏิจจวาระ.

 
  ข้อความที่ 5  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 734

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๖๖๙] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม อาศัยปรามาสธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายและจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยปรามาสธรรม.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ ปรามาสธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่ปรามาส ธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ตลอดถึงอัชฌัตติกมหาภูตรูป.

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

๓. ปรามาสธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ปรามาสธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม.

ปรามาสธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

๔. ปรามาสธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

 
  ข้อความที่ 6  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 735

คือ ขันธ์ ๓, ปรามาสธรรม และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ปรามาสธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ปรามาสธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม อาศัยปรามาสธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม และปรามาสธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยปรามาสธรรมและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยปรามาสธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม อาศัยปรามาสธรรม และหทยวัตถุ.

ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๖๗๐] ในเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๕วาระ ใน อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๕ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.

 
  ข้อความที่ 7  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 736

ปัจจนียนัย

[๖๗๑] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ ปรามาสธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม ซึ่งเป็นอเหตุะ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ.

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ อาศัยหทยวัตถุ.

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และหทยวัตถุ.

ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๖๗๒] ในนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ... ฯลฯ ในน อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

 
  ข้อความที่ 8  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 737

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๖๗๓] เพราะปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ... ใน นอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง พึงกระทำอย่างนี้.

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๖๗๔] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ ... ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ.

นิสสยวาระ เหมือนกับ ปัจจยวาระ.

 
  ข้อความที่ 9  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 738

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๖๗๕] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม เจือกับปรามาสธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เจือกับปรามาสธรรม.

วาระ ๕ พึงกระทำอย่างนี้ เฉพาะในอรูปภูมิเท่านั้น.

สังสัฏฐวาระ ก็ดี สัมปยุตตวาระ ก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.

สังสัฏฐวาระ จบ

 
  ข้อความที่ 10  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 739

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๖๗๖] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาสธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาสธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

๓. ธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาสธรรม และ ธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาสธรรม ทั้งหลาย, ปรามาสธรรม และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของ อธิปติปัจจัย.

๒. อารัมมณปัจจัย

[๖๗๗] ๑. ปรามาสธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาสธรรม ด้วย อำนาจของอารัมมณปัจจัย

 
  ข้อความที่ 11  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 740

คือ เพราะปรารภปรามาสธรรม ปรามาสธรรม ย่อมเกิดขึ้น. พึงกระทำมูล. (วาระที่ ๒)

เพราะปรารภปรามาสธรรม ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม ย่อมเกิดขึ้น

๓. ธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ ไม่ใช่ปรามาสธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ กระทำอุโบสถกรรม แล้วพิจารณา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภทานเป็นต้นนั้น ราคะ วิจิกิจฉา อุทธัจจะ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

พิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน.

ออกจากฌาน แล้วพิจารณาฌาน.

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค พิจารณามรรค, พิจารณาผล, พิจารณานิพพาน.

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวหาร, แก่มรรค, แก่ผล, แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว ที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม ฯลฯ กิเลสที่ข่มแล้ว ฯลฯ กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน ฯลฯ

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ปรามาส ธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะ ปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะ วิจิกิจฉา อุทธัจจะ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

 
  ข้อความที่ 12  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 741

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ, ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม ด้วย เจโตปริยญาณ

อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ, อากิญจัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ.

รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัย แก่กายวิญาณ.

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ, แก่ เจโตปริยญาณ, แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ, แก่ยถากัมมูปคญาณ, แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาส ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ แล้วย่อม ยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งกุศลกรรมนั้น เพราะปรารภกุศลกรรมนั้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

พิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ

ออกจากฌานแล้ว ฯลฯ.

บุคคลพิจารณา จักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

 
  ข้อความที่ 13  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 742

๕. ธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาส ธรรมและธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ แล้ว ย่อม ยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งกุศลกรรมนั้น เพราะปรารภกุศลกรรมนั้น ปรามาสธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

พิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ปรามาสธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

๖. ปรามาสธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาสธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ เพราะปรามาสธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ฯลฯ มี ๓ วาระ.

๓. อธิปติปัจจัย

[๖๗๘] ๑. ปรามาสธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม ด้วย อำนาจของอธิปติปัจจัย

คือ เพราะกระทำปรามาสธรรมทั้งหลายให้เป็นอารมณ์ อย่างหนัก แน่น ปรามาสธรรม ฯลฯ มี ๓ วาระ พึงกระทำ อารัมมณาธิปติ อย่างเดียว

๔. ธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ ไม่ใช่ปรามาสธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

 
  ข้อความที่ 14  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 743

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรมแล้ว.

กระทำกุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา, ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำกุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่น ราคะ ย่อมเกิดขึ้น.

พิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ

ออกจากฌาน ฯลฯ

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่น ฯลฯ ผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ นิพพานให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่น ฯลฯ.

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก้มรรค, แก่ผล, ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

บุคคลย่อมยินดีย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ปรามาสธรรมให้เป็นอารมณ์หนักแน่น ครั้นกระทำจักษุ เป็นต้น ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาส ธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

 
  ข้อความที่ 15  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 744

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ

พิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ.

ออกจากฌาน ฯลฯ

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ปรามาสธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้น กระทำจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ทิฏฐิ ฯลฯ

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรมเป็นปัจจัยแก่ปรามาสธรรม ด้วย อำนาจของอธิปติปัจจัย.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาส ธรรมและธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถธรรม ฯลฯ

พิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ

ออกจากฌาน ฯลฯ.

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ปรามาสธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้น

 
  ข้อความที่ 16  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 745

กระทำจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ปรามาสธรรม และ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ปรามาสธรรม และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๗. ปรามาสธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาสธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

เพราะกระทำปรามาสธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่น ปรามาสธรรม ฯลฯ มี ๓ วาระ (วาระที่ ๗ - ๘ - ๙)

๔. อนันตรปัจจัย

[๖๗๙] ๑. ปรามาสธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาสธรรม ด้วย อำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ปรามาสธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ปรามาสธรรม ที่เกิด หลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๒)

ปรามาสธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ปรามาส ธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

ปรามาสธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พึงกระทำมูล. (วาระที่ ๓)

 
  ข้อความที่ 17  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 746

ปรามาสธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ปรามาสธรรมที่เกิดหลังๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ ไม่ใช่ปรามาสธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

อนุโลมเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๕)

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ ปรามาสธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ปรามาสธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๖)

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ ปรามาสธรรม ที่เกิดหลังๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของ อนันตรปัจจัย.

อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ปรามาสธรรมและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วย อำนาจของอนันตรปัจจัย.

๗. ปรามาสธรรม และ ธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาสธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

คือ ปรามาสธรรม เกิดก่อนๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็น ปัจจัยแก่ปรามาสธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๘)

 
  ข้อความที่ 18  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 747

ปรามาสธรรม ที่เกิดก่อนๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายเป็นปัจจัย แก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

ปรามาสธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่ วุฏฐานะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๙)

ปรามาสธรรม ที่เกิดก่อนๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัย แก่ปรามาสธรรม ที่เกิดหลังๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของ อนันตรปัจจัย.

๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสสยปัจจัย

๑. ปรามาสธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาสธรรม ด้วย อำนาจของสมนันตรปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ.

๙. อุปนิสสยปัจจัย

[๖๘๐] ๑. ปรามาสธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาสธรรม ด้วย อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

 
  ข้อความที่ 19  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 748

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

ปรามาสธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาสธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๒ - ๓)

๔. ธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ก่อมานะ.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา ราคะ โทสะ โมหะ มานะ ความปรารถนา สุขทางกาย ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติ ให้เกิดขึ้น ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ปัญญา แก่ ราคะ ฯลฯ แก่ความปรารถนา แก่สุขทางกาย ฯลฯ แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรมเป็นปัจจัยแก่ปรามาสธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

 
  ข้อความที่ 20  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 749

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้ว ถือทิฏฐิ.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา ราคะ ความปรารถนา สุขทางกาย ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ถือทิฏฐิ.

ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ปรามาสธรรม ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรมเป็นปัจจัยแก่ปรามาสธรรมและธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้ว ถือทิฏฐิ.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ถือทิฏฐิ.

ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ปรามาสธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๗. ปรามาสธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาสธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

เป็นอุปนิสสยะ ทั้ง ๓

ปรามาสธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่ปรามาสธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๗ - ๘ - ๙)

 
  ข้อความที่ 21  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 750

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย

[๖๘๑] ๑. ธรรมที่ไม่ใช้ปรามาสธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะ วิจิกิจฉา อุทธัจจะ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพย์จักษุ, ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น ปัจจัยแก่กายวิญญาณ.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

จักขาตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่ กายวิญญาณ.

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม ด้วย อำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาสธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

 
  ข้อความที่ 22  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 751

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ เพราะ ปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ทิฏฐิ ฯลฯ

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ปรามาสธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรมเป็นปัจจัยแก่ปรามาสธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ เพราะ ปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ปรามาสธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ปรามาสธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย

[๖๘๒] ๑. ปรามาสธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย

มี ๓ วาระ พึงกระทำปัจฉาชาตะ.

๑๒. อาเสวนปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ.

 
  ข้อความที่ 23  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 752

๑๓. กัมมปัจจัย

[๖๘๓] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาสธรรม, สัมปยุตตทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

พึงกระทำมูล. (วาระที่ ๒)

เจตนาที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาสธรรม ด้วยอำนาจ ของกัมมปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๓)

เจตนาที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาสธรรม, สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๑๔. วิปากปัจจัย

[๖๘๔] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ.

 
  ข้อความที่ 24  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 753

๑๕. อาหารปัจจัย ฯลฯ ๑๗. ฌานปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย มี ๓ วาระ

๑๘. มัคคปัจจัย

[๖๘๕] ๑. ปรามาสธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย

คือ องค์มรรคที่เป็นปรามาสธรรม ฯลฯ

มี ๕ วาระ พึงกระทำอย่างนี้.

๑๙. สัมปยุตตปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ.

๒๐. วิปปยุตตปัจจัย

[๖๘๖] ๑. ปรามาสธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

 
  ข้อความที่ 25  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 754

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

๓. ธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาสธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ ที่เกิดก่อน เป็นปัจจัยแก่ปรามาสธรรม ด้วยอำนาจของ วิปปยุตตปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาสธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ปรามาสธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๕. ปรามาสธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

๒๑. อัตถิปัจจัย

[๖๘๗] ๑. ปรามาสธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

 
  ข้อความที่ 26  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 755

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ปรามาสธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ปรามาสธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วย อำนาจของอัตถิปัจจัย.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และ อินทริยะ ฯลฯ

๓. ธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาสธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาสธรรม ด้วย อำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ เพราะ ปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ปรามาสธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 27  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 756

๔. ธรรมที่ไม่ใช่ปราสธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาสธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ปรามาสธรรม และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ฯลฯ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ เพราะ ปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ปรามาสธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ปรามาสธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

๕. ปรามาสธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และ อินทริยะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม และปรามาสธรรม เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ปรามาสธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 28  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 757

ปรามาสธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ปรามาสธรรม และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ ปรามาสธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ปรามาสธรรม ที่เกิดภายหลัง และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัย แก่กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ปรามาสธรรม ที่เกิดภายหลัง, สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และ กวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ปรามาสธรรม ที่เกิดภายหลัง และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และรูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๖๘๘] ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ ใน นิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ใน

 
  ข้อความที่ 29  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 758

กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๕ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.

ปัจจนียนัย

การยกปัจจัยในปัจจนียะ

[๖๘๙] ๑. ปรามาสธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาสธรรม ด้วย อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๒. ปรามาสธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ สหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

๓. ปรามาสธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาสธรรม และ ธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็น ปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย อำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย,

 
  ข้อความที่ 30  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 759

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ ปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย อำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรมเป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ สหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาสธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ ของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๗. ปรามาสธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาสธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๘. ปรามาสธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ ของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

๙. ปรามาสธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาสธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม ด้วย อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 31  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 760

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๖๙๐] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในโนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๖๙๑] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ... ใน นอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในนมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ ใน นวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๖๙๒] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ... ใน อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ พึงกระทำอนุโลมมาติกา ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.

ปรามาสทุกะ จบ