๒. ติลมุฏฐิชาดก การเฆี่ยนตีเป็นการสั่งสอน

 
chatchai.k
วันที่  27 พ.ค. 2564
หมายเลข  34297
อ่าน  675

[เล่มที่ 58] พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ชาดก เล่ม ๓ ภาค ๔ - หนาที่ 12

๒. ติลมุฏฐิชาดก

การเฆี่ยนตีเปนการสั่งสอน

[๓๕๕] การที่ทานใหจับแขนเราไวแลวเฆี่ยนตี เราดวยซีกไมไผเพราะเหตุเมล็ดงากํามือหนึ่ง นั้น ยังฝงอยูในใจของเราจนทุกวันนี้.

[๓๕๖] ดูกอนพราหมณ ชะรอยทานจะไมยินดี ในชีวิตของตนแลวสินะ จึงไดมาจับแขน แลวเฆี่ยนตีเราถึง ๓ ครั้ง วันนี้ทานจะได เสวยผลของกรรมนั้น.

[๓๕๗] อารยชนใดยอมขมขี่คนที่ไมใชอารย- ขึ้นผูทํากรรมชั่วดวยอาชญากรรมของอารยชน นั้น เปนการสั่งสอนหาใชเปนเวรไม บัณฑิต ทั้งหลายรูชัดขอนั้นอยางนี้แล.

จบ ติลมุฏฐิชาดกที่ ๒


  ความคิดเห็นที่ 1  
 
chatchai.k
วันที่ 27 พ.ค. 2564

[เล่มที่ 58] พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ชาดก เล่ม ๓ ภาค ๔ - หนาที่ 12 - 21

อรรถกถาติลมุฏฐิชาดกที่ ๒

พระศาสดาเมื่อประทับอยู ณ พระวิหารเชตวัน ทรงปรารภ ภิกษุผูมักโกรธรูปหนึ่ง จึงตรัสเรื่องนี้ มีคําเริ่มตนวา อชฺชป เม ต มนสิ ดังนี้

ไดยินวา มีภิกษุรูปหนึ่งเปนผูมักโกรธมากไปดวยความคับ แคนใจ ถูกใครวาอะไร แมเพียงนิดเดียวก็โกรธ ของใจ กระทําความ

 
  ความคิดเห็นที่ 2  
 
chatchai.k
วันที่ 27 พ.ค. 2564

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๔ - หนาที่ 13

โกรธ ความประทุษราย และความนอยใจใหปรากฏ. อยูมาวันหนึ่ง ภิกษุทั้งหลายนั่งสนทนากันในโรงธรรมสภาวา ผูมีอายุทั้งหลาย ภิกษุ รูปโนนเปนคนโกรธงาย มากไปดวยความคับแคนใจ เที่ยวทําเสียง เอะอะเหมือนเกลือที่เขาใสในเตาไฟ เปนผูบวชในศาสนาที่สอน มิใหโกรธเห็นปานนี้ แมแตความโกรธเทานั้น ก็ไมอาจขมได. พระศาสดาทรงตรัสถอยคําของภิกษุเหลานั้น จึงทรงสั่งภิกษุรูปหนึ่งใหไป เรียกภิกษุรูปนั้นมา แลวตรัสถามวา ขาววาเธอเปนผูโกรธงายจริง หรือ เมื่อภิกษุรูปนั้นรับเปนสัตยแลว จึงตรัสวา ภิกษุทั้งหลาย มิใชบัดนี้เทานั้น แมในกาลกอน ภิกษุนี้ก็ไดเปนคนมักโกรธเหมือน กัน ภิกษุทั้งหลายทูลอาราธนา จึงทรงนําเอาเรื่องในอดีตมาสาธก ดังตอไปนี้ :-

ในอดีตกาล เมื่อพระเจาพรหมทัตครองราชสมบัติอยูในกรุง พาราณสี โอรสของพระเจาพรหมทัต นั้นไดมีนามวา พรหมทัตตกุมาร. แทจริงพระราชาครั้งเกากอน แมจะมีอาจารยทิศาปาโมกขใน นครของตน ก็ยอมสงพระราชโอรสของตนๆ ไปเรียนศิลปะยังภาย นอกรัฎฐะในที่ไกล ดวยหวังใจวา เมื่อกระทําอยางนี้ พระราชโอรส เหลานั้น จักเปนผูขจัดความเยอหยิ่งดวยมานะ ๑ จักเปนผูอดทนตอ ความหนาวและความรอน ๑ จักไดรูจารีตประเพณีของชาวโลก ๑ เพราะฉะนั้น พระราชาแมพระองคนั้น จึงมีรับสั่งใหหาพระราชาโอรส ซึ่งมีพระชนมายุ ๑๖ พรรษา มา แลวพระราชทานฉลองพระบาทชั้น

 
  ความคิดเห็นที่ 3  
 
chatchai.k
วันที่ 27 พ.ค. 2564

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๔ - หนาที่ 14

เดียวคู ๑ รมใบไมคันหนึ่ง และทรัพย ๑,๐๐๐ กหาปณะ พลาง ตรัสวาลูกรัก เจาจงไปยังเมืองตักกศิลา ร่ําเรียนเอาศิลปะมา แลว ทรงสงไป. พระราชโอรสรับพระราชโองการแลวถวายบังคมพระชนกชนนี้แลวเสด็จออกไป บรรลุถึงเมืองตักกศิลาโดยลําดับ ไดไป ถามหาบานอาจารยก็ในเวลานั้น อาจารยสอนศิลปะแกพวกมาณพ เสร็จแลวลุกขึ้นมานั่ง ณ ที่ขางหนึ่งที่ประตูเรือน. พระราชโอรสนั้น ไปที่บานอาจารยนั้น ไดเห็นอาจารยนั่งอยูในที่นั้น ครั้นแลวจึงถอด รองเทาตรงที่นั้นแหละ ลดรม ไหวอาจารยแลวยืนอยู อาจารยนั้น รูวาพระราชโอรสนั้นเหน็ดเหนื่อยมาจึงใหกระทําอาคันตุกสงเคราะห. พระกุมารเสวยพระกระยาหารเสร็จแลว พักผอนอยูครูหนึ่ง จึงเขาไป หาอาจารยไหวแลวยืนอยู เมื่ออาจารยทิศาปาโมกขถามวา เธอมา จากไหนนะพอ จึงกลาวตอบวา มาจากเมืองพาราณสี. เธอเปนลูก ใคร? เปนโอรสของพระเจาพาราณสี. พระองคเสด็จมาดวยประสงค อะไร? ทานอาจารยขาพเจามาเพื่อตองการเรียนศิลปะ พระองคนํา ทรัพยอันเปนสวนของอาจารยมาดวยหรือเปลา หรือพระองคจะเปน ธัมมันเตวาสิก. พระราชกุมารนั้นกลาววา ทรัพยอันเปนสวนของ อาจารยขาพเจานํามาดวยแลว วาแลวก็วางถุงทรัพยพันกหาปณะลงที่ ใกลเทาของอาจารยแลวก็ไหว. อันศิษยที่เปนธัมมันเตวาสิก เวลา กลางวันตองทําการงานใหอาจารย กลางคืนจึงจะไดเรียน ศิษยที่ให ทรัพยอันเปนสวนของอาจารย เปนเหมือนบุตรคนโตในเรือน เรียน

 
  ความคิดเห็นที่ 4  
 
chatchai.k
วันที่ 27 พ.ค. 2564

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๔ - หนาที่ 15

แตศิลปะเทานั้น. เพราะฉะนั้น อาจารยแมนั้น พอมีฤกษงามยามดี แลว จึงเริ่มสอนศิลปะแกพระกุมารโดยพิสดาร. ฝายพระราชกุมาร ก็เรียนเอาศิลปะดวยความตั้งใจ วันหนึ่ง ไดไปอาบน้ําพรอมกับ อาจารย. ครั้งนั้นมีหญิงชราคนหนึ่ง ขัดสีเมล็ดงาใหหมดเปลือกแลว เอามาแผตากไว นั่งเฝาอยู. พระกุมารเห็นเมล็ดงาที่ตากไว ก็อยาก จะเสวย จึงหยิบเมล็ดงามาหนึ่งกํามือแลวเคี้ยวเสวย. หญิงชราคิดวา มาณพนี้คงอยากกิน จึงนิ่งเสียมิไดกลาวประการใด. แมในวันรุงขึ้น พระกุมารนั้นก็ไดทําเหมือนอยางนั้น ในเวลานั้น. แมหญิงชรานั้นก็ ไมกลาวอะไรกะพระราชกุมารนั้น. แมในวันที่๓ พระราชกุมารก็ใช ทําเหมือนอยางนั้นนั่นแหละ. คราวนั้น หญิงชราเห็นเขาจึงประคอง แขนทั้งสองรองคร่ําครวญวาอาจารยทิศาปาโมกข ใชใหพวกศิษยของ ตนปลนเรา. อาจารยหันกลับมาถามวา นี่อะไรกันแน หญิงชรา กลาววา นายศิษยของทานเคี้ยวกินเมล็ดงาออนที่ขาพเจาทําไว วันนี้ กํามือหนึ่ง เมื่อวานกํามือหนึ่ง เมื่อวันซืนกํามือหนึ่ง ก็เมื่อศิษย ของทานเคี้ยวกินอยูอยางนี้ เมล็ดงาที่มีอยูสองดิฉันเทาไรๆ ก็จักหมด สิ้นไปมิใชหรือ. อาจารยทิศาปาโมกขกลาววา แม อยารองไหไปเลย ฉันจักใหมูลคาแกทาน. หญิงชรากลาววา ดิฉันไมตองการมูลคาดอก นาย ดิฉันขอใหทานสั่งสอน โดยอยาใหกุมารนี้กระทําอยางนี้อีก ตอไป. อาจารยกลาววา ถาอยางนั้น จงคอยดูนะแม แลวใหมาณพ ๒ คนจับพระราชกุมารนั้นที่แขนทั้ง ๒ ขางไว จึงเอาซีกไมไผมาเฆี่ยนที

 
  ความคิดเห็นที่ 5  
 
chatchai.k
วันที่ 27 พ.ค. 2564

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๔ - หนาที่ 16

กลางหลัง ๓ ครั้งพรอมกับสอนวา เธออยาไดทําอยางนี้อีกตอไป พระราชกุมารโกรธอาจารย ทานัยนตาแดงมองดูตั้งแตหลังเทาจนถึง ปลายผม. แมอาจารยนั้นก็รูวา พระราชกุมารนั้นมองดูเพราะโกรธ เคือง. พระราชกุมารเรียนศิลปะจบแลวทําการฝกซอม เก็บโทษที่ อาจารยนั้นกระทําไวในหทัย โดยอาฆาตวา เราตองฆาอาจารยผูนี้ ครั้นเวลาจะไป จึงไหวอาจารย ทําที่มีความสิเนหาอยางสุดซึ้งรับเอา ปฏิญญาวา ทานอาจารย เมื่อใด ขาพเจาไดราชสมบัติในพระนคร พาราณสี แลวสงขาวมาถึงทาน เมื่อนั้น ขอใหทานพึงมาหา ขาพเจา กลาวดังนี้แลวก็จากไป.

ครั้นไปถึงพระนครพาราณสีแลว ถวายบังคมพระชนกชนนี แลวแสดงศิลปะใหทอดพระเนตร. พระราชาตรัสวา เรามีชีวิตอยูทันเห็นบุตรเราขณะมีชีวิตอยูนี้แหละ จักได เห็นความสงาในราชสมบัติแหงบุตรของเรา จึงทรงสถาปนาพระราชโอรสไวในราชสมบัติ. เมื่อพระราชโอรสไดครอบครองศิริราชสมบัติ ก็ระลึกถึงโทษที่อาจารยไดกระทําไว ก็ทรงพระพิโรธ จึงทรงสงทูตไป ถึงอาจารยเพื่อใหมาเฝาดวยตั้งพระทัยวา เราจักฆาอาจารยนั้น. ทาน อาจารยคิดวา ในเวลาที่เขายังหนุมแนนเราจักไมอาจใชพระราชานั้น เขาใจได จึงมิไดไป ในเวลาที่พระราชานั้นลวงเขามัชฌิมวัย คิดวา บัดนี้เราจักอาจทําใหพระราชานั้นเขาใจได จึงไดเดินทางไปยืนอยูที่ ประตูพระราชวัง ใหกราบทูลวาอาจารยจากเมืองตักศิลามาแลว. พระราชาทรงโสมนัสยินดีรับสั่งใหเรียกพราหมณมา พอเห็นอาจารย

 
  ความคิดเห็นที่ 6  
 
chatchai.k
วันที่ 27 พ.ค. 2564

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๔ - หนาที่ 17

นั้นมาเฝาพระองคเทานั้น ทรงพระพิโรธจนพระเนตรทั้งสองขางแดง ตรัสเรียกอํามาตยทั้งหลายมาวา แนะผูเจริญที่ที่อาจารยเฆี่ยนยังเสียด แทงเรา อยูจนทุกวันนี้ อาจารยบากหนาพาเอาความตายมาโดยไม รูวา เราจักตายวันนี้ อาจารยผูนั้นจะไมมีชีวิตแลว จึงไดตรัสคาถา ๒ คาถา อันมีในเบื้องตนวา :-

การที่ทานใหจับแขนเราไวแลวเฆี่ยน ตีเราดวยซีกไมไผ เพราะเหตุเมล็ดงากํามือ หนึ่งนั้น ยังฝงใจเราอยูจนทุกวันนี้. ดูกอน พราหมณ ทานไมใยดีในชีวิตของทานแลว หรือ จึงมาหาเราถึงที่นี่ ผลที่ทานใหจับแขน ทั้งสองของเราแลวเฆี่ยนตีเราถึง ๓ ที่นั้น จักสนองทานในวันนี้

ทุติยาวิภัติ ในบททั้งสองวา ย ม และ พาทาย ม ใน คาถานั้น เพงถึงการเฆี่ยนตีและการจับ. ในบทนี้มีอธิบายดังนี้วา ขอที่ทานเฆี่ยนตีเรา เพราะเมล็ดงากํามือหนึ่ง และเมื่อเฆี่ยนตียังได จักแขนเราแลวเฆี่ยนตีนั้น ยังฝงใจเราอยูแมทุกวันนี้

บทวา นนุ ชีวิเต น รมสิ ความวา ทานเห็นจะไมยินดีในชีวิตของตน

บทวา เยนาสิ พฺราหฺมณาคโต ความวา ดูกอนพราหมณ เพราะเหตุที่ทาน มาหาเราในที่นี้

บทวา ย ม พาหา คเหตฺวาน ความวา ขอที่ จับแขนทั้งสองของเราอธิบายวา จับที่แขนดังนี้ก็มี

บทวา ติกฺขตฺต

 
  ความคิดเห็นที่ 7  
 
chatchai.k
วันที่ 27 พ.ค. 2564

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๔ - หนาที่ 18

อนุตาลยิ ความวา ทานเฆี่ยนตีเราดวยซีกไมไผถึง ๓ ครั้ง วันนี้ แหละ ทานจะไดรับผลแหงการเฆี่ยนตีเรานั้น. พระราชาเอาความ ตายมาขูอาจารยดังนี้ จึงกลาวอยางนั้น

อาจารยไดฟงดังนั้นจึงกลาวคาถาที่ ๓ วา :-

อริยชนใดยอมเกียดกันอนารยชน ผู กระทําชั่วดวยการลงโทษ กรรมของอริยชน นั้นเปนการสั่งสอนหาใชเปนเวรไม บัณฑิต ทั้งหลายยอมรูชัดขอนั้นอยางนี้แล. บทวา อริโย ในคาถานั้น เปนชื่อของผูสอน. ก็อริยชนนี้ นั้นมี ๔ ประเภท คือ อาจารอริยชน อริยชนผูมีอาจาระ ๑ ทัสสนอริยชน อริยชนที่ควรแลดู ๑ ลิงคอริยชน อริยชนผูถือเพศ ๑ ปฏิเวธอริยชน อริยชนผูรูแจงแทงตลอด ๑ ในอริยชน ๔ ประเภท นั้น อริยชนผูตั้งอยูในมารยาทอันประเสริฐ จะเปนมนุษยหรือสัตว ดิรัจฉานก็ตาม ชื่อวาอาจารอริยชน. สมจริงดังที่ทานกลาวไววา :- ขาพเจาขอสละภัสดาผูประพฤติเยี่ยง อริยชนคนโกง เชิดชูบิณฑะ ที่พามาไดนั้น แกทาน ขอทานทั้งสองจงไปตามสบายเถิด. สวนอริยชนผูประกอบดวยรูปและอิริยาบถอันนาเลื่อมใส นาดู ชื่อวาทัสสนอริยชน สมจริงดังคําที่ทานกลาวไววา :-

 
  ความคิดเห็นที่ 8  
 
chatchai.k
วันที่ 27 พ.ค. 2564

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๔ - หนาที่ 19

ทานผูเจริญ ทานมีนัยนตาผองใส มี ทาทางอันประเสริฐ ออกบวชจากตระกูล อะไร จิตของทานสละโภคทรัพยไดละหรือ ผูมีปญญาเทานั้นจึงจะออกจากเรือนบวชได. อริยชนผูเปนคลายสมณะ โดยถือเพศดวยการนุงหมเที่ยวไป อยู แมจะเปนผูทุศีล ก็ชื่อวาลิงคอริยชน ซึ่งทานหมายกลาวไววา :- บุคคลผูทําการนุงหมเหมือนผูมีพรต อันงามทั้งหลาย มักเอาหนา ประทุษราย ตระกูล เปนคนคะนอง เปนคนเจาเลห ไม สํารวม เปนคนพร่ําเพอ ประพฤติโดยอาการ เทียม ชื่อวาเปนผูทําลายหนทาง.

ฝายพระอริยบุคคลทั้งหลายมีพระพุทธเจาเปนตน ชื่อวาปฏิเวธอริยชน. ดวยเหตุนั้น ทานจึงกลาววา พระพุทธเจา พระปจเจกพุทธเจา และพุทธสาวกทั้งหลาย เรียกวา พระอริยะ. บรรดาอริยชน เหลานั้น ในที่นี้ พราหมณประสงคเอาอาจารอริยชนอยางเดียว. บทวา อนริย ไดแก ผูทุศีล มีธรรมอันลามก.

บทวา กุพฺพ ไดแก ผูกระทํากรรมของผูทุศีล ๕ อยาง มีปาณาติบาตเปนตน. อีกอยางหนึ่ง อรรถบทนี้เปนอยางเดียวกันวา บุคคลผูกระทํากรรมอันเปนเวร และ ภัย ๕ อันไมประเสริฐ คือ เลวทราม ลามก

บทวา โย ความวา ก็บรรดากษัตริยเปนตน คนใดคนหนึ่งนั้น

บทวา ทณฺเฑน ความวา

 
  ความคิดเห็นที่ 9  
 
chatchai.k
วันที่ 27 พ.ค. 2564

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๔ - หนาที่ 20

ดวยเครื่องประหารอยางใดอยางหนึ่ง.

บทวา นิเสธติ ความวา เฆี่ยนตี หามปรามวา อยาทํากรรมเห็นปานนี้อีกตอไป.

บทวา สาสน ต น ต เวร ความวา ขาแตมหาราช ชื่อวาการเฆี่ยนติกัดกันบุตรธิดา หรือศิษยผูกระทําสิ่งไมควรทําดวยอาการอยางนี้ เปนการสั่งสอนใน โลกนี้ คือ เปนการพร่ําสอน เปนโอวาท หาใชเปนการกอเวรไม

บทวา อิติน ปณฺฑิตาวิทู ความวา บัณฑิตทั้งหลายยอมรูชัดขอนั้น อยางนี้ทีเดียว. ขาแตมหาราช เพราะฉะนั้น แมพระองคก็โปรด ทรงทราบอยางนี้ พระองคไมควรกอเวรในฐานะเห็นปานนี้ ถาแม ขาพระองคจักไมไดใหพระองคทรงสําเนียกอยางนี้แลว ตอไปภาย หนา พระองคลักขนม น้ําตาลกรวด แลผลไมเปนตน ติดในโจรกรรม ทั้งหลาย จะทําการตัดชองยองเบา ฆาตนในหนทางและฆาชาวบาน เปนตน โดยลําดับ ถูกจับพรอมทั้งของกลาววา โจรผูผิดตอพระราชา แลวะแสดงตอพระราชา จักไดรับภัยคืออาญา โดยพระดํารัสวา พวก ทานจงไปลงอาญาอันสมควรแกโทษของโจรนี้ สมบัติเห็นปานนี้ จัก ไดมีแกพระองคมาแตไหน พระองคไดความเปนใหญโดยเรียบรอย เพราะอาศัยขาพระองคมิใชหรือ อาจารยไดทําใหพระราชายินยอม ดวยประการดังกลาวมานี้.

ฝายอํามาตยทั้งหลายผูยินหอมลอมอยู ไดฟงถอยคําของ อาจารยนั้นแลวจึงกราบทูลวา ขอเดชะ คําที่อาจารยกลาวนั้นเปน ความจริง ความเปนใหญนี้เปนไปของทานอาจารยของพระองค ขณะนั้น

 
  ความคิดเห็นที่ 10  
 
chatchai.k
วันที่ 27 พ.ค. 2564

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๔ - หนาที่ 21

พระราชาทรงกําหนดไดถึงคุณของอาจารยจึงพากลาววา ทานอาจารย ขาพเจาใหความเปนใหญนี้แกทาน ขอทานจงรับราชสมบัติเถิด. อาจารยปฏิเสธวา ขาพระองคไมตองการราชสมบัติ. พระราชาทรง สงขาวไปยังเมืองตักกศิลา ใหนําบุตรและภรรยาของอาจารยมา แลว ประทานอิสริยศใหญ ทรงตั้งอาจารยนั้นนั่นแล ใหเปนปุโรหิต แลวตั้งไวในฐานเปนบิดา ตั้งอยูในโอวาทของอาจารยนั้น บําเพ็ญบุญ ทั้งหลาย มีทานเปนตน ไดมีสวรรคเปนที่ไปในเบื้องหนา

พระศาสดาครั้นทรงนําพระธรรมเทศนานี้มาแลวทรงประกาศ อริยสัจ ๔ ทรงประชุมชาดก. ในเวลาจบอริยสัจ ภิกษุผูมักโกรธ ดํารงในอนาคามิผล คนอื่นๆ ไดเปนพระโสดาบันและพระสกทาคามี. พระราชาในคราวนั้น ไดเปนภิกษุผูมักโกรธในบัดนี้ สวนอาจารยใน คราวนั้น ไดเปนเราตถาคตฉะนี้แล

จบ อรรถกถาติลมุฏฐิชาดกที่ ๒

 
  ความคิดเห็นที่ 11  
 
chatchai.k
วันที่ 27 พ.ค. 2564

ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น

 
  ความคิดเห็นที่ 12  
 
chatchai.k
วันที่ 28 พ.ค. 2564
 
เขียนความคิดเห็น กรุณาเข้าระบบ