อามคันธสูตร ว่าด้วยมีกลิ่นดิบ ไม่มีกลิ่นดิบ และ อรรถกถา

  ความคิดเห็นที่ 1  
 
chatchai.k
วันที่ 8 ก.ค. 2564

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย สุตตนิบาต เลม ๑ ภาค ๖ - หนาที่ 80

อามคันธสูตรที่ ๒

วาดวยมีกลิ่นดิบไมมีกลิ่นดิบ

ติสสดาบสทูลถามพระผูมีพระภาคเจาพระนามวากัสสปะ ดวยคาถาความวา

[๓๑๕] สัตบุรุษทั้งหลายบริโภค ขาวฟาง ลูกเดือย ถั่วเขียว ใบไม เหงามัน และผลไมที่ไดแลวโดยธรรม หาปรารถนากาม กลาวคําเหลาะแหละไม.

ขาแตพระผูมีพระภาคเจาพระนามวากัสสปะ พระองคเมื่อเสวยเนื้อชนิดใด ที่ผูอื่นทําสําเร็จดีแลว ตบแตงไวถวายอยางประณีต เมื่อเสวยขาวสุกแหงขาวสาลี ก็ชื่อวายอมเสวยกลิ่นดิบ.

ข้าแตพระองคผูเปนเผาพันธุแหงพรหม พระองคตรัสอยางนี้วา กลิ่นดิบยอมไมควรแกเราแตยังเสวยขาวสุกแหงขาวสาลี กับเนื้อนกที่บุคคลปรุงดีแลว.

ขาแตพระผูมีพระภาคเจาพระนามวากัสสปะ ขาพระองคขอทูลถามความขอนี้กะ

 
  ความคิดเห็นที่ 2  
 
chatchai.k
วันที่ 8 ก.ค. 2564

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย สุตตนิบาต เลม ๑ ภาค ๖ - หนาที่ 81

พระองควา กลิ่นดิบของพระองคมีประการ อยางไร.

พระผูมีพระภาคเจาพระนามวากัสสปะตรัสตอบดวยพระคาถาวา

การฆาสัตว การทุบตี การตัด การ จองจํา การลัก การพูดเท็จ การกระทําดวยความหวัง การหลอกลวง การเรียนคัมภีรที่ไรประโยชน และการคบหาภรรยาผูอื่น นี้ชื่อวากลิ่นดิบ เนื้อและโภชนะไมชื่อวากลิ่นดิบเลย,

ชนเหลาใดในโลกนี้ ไมสํารวมในกามทั้งหลาย ยินดีในรสทั้งหลาย เจือปนดวยของไมสะอาด มีความเห็นวาทานที่บุคคลใหแลวไมมีผล มีการงานไมเสมอ บุคคลพึงแนะนําไดโดยยาก นี้ชื่อวากลิ่นดิบของชนเหลานั้น เนื้อและโภชนะไมชื่อวากลิ่นดิบเลย.

ชนเหลาใดผูเศราหมอง หยาบชา หนาไหวหลังหลอก ประทุษรายมิตร ไมมีความกรุณา มีมานะจัด มีปกติไมให และไมใหอะไรๆ แกใครๆ นี้ชื่อวากลิ่นดิบ

 
  ความคิดเห็นที่ 3  
 
chatchai.k
วันที่ 8 ก.ค. 2564

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย สุตตนิบาต เลม ๑ ภาค ๖ - หนาที่ 82

ของชนเหลานี้ เนื้อและโภชนะไมชื่อวา กลิ่นดิบเลย.

ความโกรธ ความมัวเมา ความเปนคนหัวดื้อ ความตั้งอยูผิด มายา ริษยา ความยกตน ความถือตัว ความดูหมิ่น และความสนิทสนมดวยอสัตบุรุษทั้งหลาย นี้ชื่อวากลิ่นดิบ เนื้อและโภชนะไมชื่อวากลิ่นดิบเลย.

ชนเหลาใดในโลกนี้ มีปกติประพฤติลามก กูหนี้มาแลวไมใช พูดเสียดสี พูดโกง เปนคนเทียม เปนคนต่ําทราม กระทํากรรมหยาบชา นี้ชื่อวากลิ่นดิบของชนเหลานั้น เนื้อและโภชนะไมชื่อวากลิ่นดิบเลย.

ชนเหลาใดในโลกนี้ ไม่สำรวมในสัตวทั้งหลาย ชักชวนผูอื่นประกอบการเบียดเบียน ทุศีล รายกาจ หยาบคาย ไมเอื้อเฟอ นี้ชื่อวากลิ่นดิบของชนเหลานั้น เนื้อและโภชนะไมชื่อวากลิ่นดิบเลย.

 
  ความคิดเห็นที่ 4  
 
chatchai.k
วันที่ 8 ก.ค. 2564

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย สุตตนิบาต เลม ๑ ภาค ๖ - หนาที่ 83

สัตวเหลาใดกําหนัดแลวในสัตวเหลานี้ โกรธเคือง ฆาสัตว ขวนขวายในอกุศลเปนนิตย ตายไปแลวยอมถึงที่มืด มีหัวลง ตกไปสูนรก นี้ชื่อวากลิ่นดิบของชนเหลานั้น เนื้อและโภชนะไมชื่อวากลิ่นดิบเลย.

การไมกินปลาและเนื้อ ความเปนคนประพฤติเปลือย ความเปนคนโลน การเกลาชฎา ความเปนผูหมักหมมดวยธุลี การครองหนังเสือพรอมทั้งเล็บ การบําเรอไฟ หรือแมวาความเศราหมองในกายที่เปนไปดวยความปรารถนา ความเปนเทวดา การยางกิเลสเปนอันมากในโลก มนตและการเซนสรวง ยัญและการซองเสพฤดู ยอมไมยังสัตวผูไมขามพนความสงสัยใหหมดจดได. ผูใด คุมครองแลวในอินทรียทั้งหกเหลานั้น รูแจงอินทรียแลว ตั้งอยูในธรรม ยินดีในความเปนคนตรงและออนโยน ลวงธรรมเปนเครื่องของเสียได ละทุกขไดทั้งหมด ผูนั้นเปนนักปราชญ ไมติดอยูในธรรมที่เห็นแลว และฟงแลว.

 
  ความคิดเห็นที่ 5  
 
chatchai.k
วันที่ 8 ก.ค. 2564

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย สุตตนิบาต เลม ๑ ภาค ๖ - หนาที่ 84

พระผูมีพระภาคเจาไดตรัสบอกความขอนี้บอยๆ ดวยประการฉะนี้ ติสสดาบสผูถึงฝงแหงมนตไดทราบความขอนั้นแลว พระผูมีพระภาคเจาผูเปนมุนี ทรงประกาศดวยพระคาถาทั้งหลาย อันวิจิตรวา บุคคลผูที่ไมมีกลิ่นดิบ ผูอันตัณหาและทิฏฐิไมอาศัยแลว ตามรูไดยาก.

ติสสดาบสฟงบทสุภาษิตซึ่งไมมีกลิ่นดิบ อันเปนเครื่องบรรเทาเสียซึ่งทุกขทั้งปวงของพระพุทธเจาแลว เปนผูมีใจนอบนอมถวายบังคมพระบาทของตถาคต ไดทูลขอบรรพชา ณ ที่นั่งนั่นแล.

จบอามคันธสูตรที่ ๒

 
  ความคิดเห็นที่ 6  
 
chatchai.k
วันที่ 8 ก.ค. 2564

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย สุตตนิบาต เลม ๑ ภาค ๖ - หนาที่ 85

อรรถกถาอามคันธสูตรที่ ๒

อามคันธสูตร มีคําเริ่มตนวา สามากจิงฺคูลกจีนกานิ จ เปนตน

ถามวา พระสูตรนี้มีการเกิดขึ้นอยางไร?

ตอบวา พระสูตรนี้มีการเกิดขึ้นดังตอไปนี้ :-

เมื่อพระผูมีพระภาคเจายังไมเสด็จอุบัติขึ้น พราหมณชื่อวา อามคันธะ บรรพชาเปนดาบสพรอมกับมาณพ ๕๐๐ คน ใหสรางอาศรมอยูในระหวางภูเขา (หุบเขา) มีเผือกมันและผลไมในปาเปนอาหาร อยูที่หุบเขาแหงนั้น ดาบสไมบริโภคปลาและเนื้อเลย. ครั้งนั้น โรคผอมเหลืองก็เกิดขึ้นแกดาบสเหลานั้น ผูไมบริโภคของเค็ม ของเปรี้ยวเปนตน. ตอแตนั้น ดาบสเหลานั้นก็พูดกันวา เราจะไปยังถิ่นมนุษย เพื่อเสพของเค็มและของเปรี้ยว ดังนี้แลว จึงไดเดินทางไปถึงปจจันตคาม. ในปจจันตคามนั้นมนุษยทั้งหลายเห็นดาบสเหลานั้นแลว ก็เลื่อมใสในดาบสเหลานั้น นิมนตใหฉันอาหาร มนุษยทั้งหลายไดนอมเตียง ตั่ง ภาชนะสําหรับบริโภคและน้ํามันทาเทาเปนตน แกดาบสเหลานั้นผูทําภัตกิจเสร็จแลว แสดงที่เปนที่อยูดวยกลาววา ขาแตทานผูเจริญทั้งหลาย ขอทานทั้งหลายจงอยูในที่นี้. ขอพวกทานอยาไดกระสันต ดังนี้แลวก็พากันหลีกไป แมในวันที่สอง พวกมนุษยไดถวายทานแกดาบสเหลานั้น แลวไดถวายทานวันละ ๑ บานตามลําดับเรือนอีก ดาบสทั้งหลายอยูในที่นั้นสิ้น ๔ เดือนมีรางกายแข็งแรงขึ้น เพราะไดเสพรสเค็มและรสเปรี้ยว จึงไดบอกแกมนุษยทั้งหลายวา ทานทั้งหลาย (อาวุโสทั้งหลาย) พวกเราจะไปละ. มนุษยทั้งหลาย

 
  ความคิดเห็นที่ 7  
 
chatchai.k
วันที่ 8 ก.ค. 2564

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย สุตตนิบาต เลม ๑ ภาค ๖ - หนาที่ 86

ไดถวายน้ํามันและขาวสารเปนตน แกดาบสเหลานั้น. ดาบสเหลานั้นถือเอาน้ํามันและขาวสารเปนตนเหลานั้น ไดไปยังอาศรมของตนนั้นเอง (ตามเดิม) ก็ดาบสเหลานั้นไดมาสูบานนั้นทุกๆ ปเหมือนอยางเคยปฏิบัติมา แมพวกมนุษยทราบวาดาบสเหลานั้นพากันมา จึงไดตระเตรียมขาวสารเปนตน ตองการเพื่อจะถวายทาน และไดถวายทานแกดาบสเหลานั้นผูมาแลว เหมือนเชนทุกครั้ง.

ครั้งนั้น พระผูมีพระภาคเจาทรงอุบัติขึ้นแลวในโลก ทรงแสดงธรรมจักรอันบวรแลว เสด็จไปยังเมืองสาวัตถีโดยลําดับ ประทับอยูที่เมืองสาวัตถีนั้น ทรงเห็นอุปนิสสัยสมบัติของดาบสเหลานั้น เสด็จออกจากเมืองสาวัตถีนั้น มีหมูภิกษุแวดลอม เสด็จจาริกไปอยู เสด็จถึงบานนั้นตามลําดับ มนุษยทั้งหลายเห็นพระผูมีพระภาคเจาแลว ไดถวายมหาทาน. พระผูมีพระภาคเจาทรงแสดงธรรมแกมนุษยเหลานั้น ดวยพระธรรมเทศนานั้น มนุษยเหลานั้นบางพวก สําเร็จเปนพระโสดาบัน บางพวกสําเร็จเปนพระสกทาคามี และพระอนาคามี บางพวกบรรพชาแลวบรรลุพระอรหัต. พระผูมีพระภาคเจาไดเสด็จกลับมายังกรุงสาวัตถีเชนเดิมอีก. ครั้งนั้น ดาบสเหลานั้นไดมาสูบานนั้น มนุษยทั้งหลายเห็นพวกดาบสแลว ก็ไมไดทําการโกลาหลเชนกับในคราวกอน ดาบสทั้งหลายถามพวกมนุษยเหลานั้นวา ทานทั้งหลาย เพราะเหตุไรมนุษยเหลานี้จึงไมเปนเชนกับคราวกอน หมูบานแหงนี้ ถูกลงราชอาชญาหรือหนอแล หรือวาถูกประทุษรายดวยทุพภิกขภัย หรือวามีบรรพชิตบางรูปซึ่งสมบูรณดวยคุณมีศีลเปนตนมากกวาพวกเรา ไดมาถึงหมูบานแหงนี้.

มนุษยเหลานั้นเรียนวา ทานผูเจริญทั้งหลาย บานนี้จะถูกลงราชอาชญาก็หาไม ทั้งจะถูกประทุษรายดวยทุพภิกขภัยก็หาไม ก็แตวาพระพุทธเจาทรง

 
  ความคิดเห็นที่ 8  
 
chatchai.k
วันที่ 8 ก.ค. 2564

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย สุตตนิบาต เลม ๑ ภาค ๖ - หนาที่ 87

อุบัติขึ้นแลวในโลก พระผูมีพระภาคเจาพระองคนั้น ทรงแสดงธรรมเพื่อประโยชนแกชนเปนอันมาก ไดเสด็จมา ณ หมูบานแหงนี้. อามคันธดาบสฟงคํานั้นแลวจึงพูดวา คหบดีทั้งหลาย พวกทานพูดวา พุทฺโธ ดังนี้หรือ?

มนุษยทั้งหลายกลาวขึ้นสิ้น ๓ ครั้งวา ขาแตทานผูเจริญ พวกขาพเจายอมกลาววา พุทฺโธ ดังนี้. อามคันธดาบสยินดีแลวเปลงวาจาแสดงความยินดีวา แมเสียงวา พุทฺโธ นี้แล เปนเสียงที่หาไดยากในโลก ดังนี้ จึงไดถามวา พระพุทธเจาพระองคนั้นเสวยกลิ่นดิบหรือหนอแล หรือวาไมเสวยกลิ่นดิบ.

พวกมนุษยถามวา ขาแตทานผูเจริญ อะไรคือกลิ่นดิบ อามคันธดาบสกลาววา ดูกอนคหบดีทั้งหลาย ปลาและเนื้อชื่อวากลิ่นดิบ. มนุษยทั้งหลายกลาววา ขาแตทานผูเจริญ พระผูมีพระภาคเจาเสวยปลาและเนื้อ. ดาบสฟงคํานั้นแลวก็เกิดวิปฏิสาร (เดือดรอนใจ) วา บุคคลผูนั้นจะพึงเปนพระพุทธเจาหรือ หรือวาไมพึงเปนพระพุทธเจา. ดาบสนั้นคิดอีกวา ชื่อวาการปรากฏขึ้นของพระผูมีพระภาคเจาทั้งหลาย บุคคลไดโดยยาก เราไปเฝาพระองคแลวถาม จักทราบได.

ตอจากนั้น ดาบสนั้นจึงไดไปยังที่พระพุทธเจาประทับอยู ถามหนทางนั้นกะมนุษยทั้งหลาย เปนผูรีบรอนประดุจแมโคที่หวงลูก ไดไปถึงกรุงสาวัตถีโดยการพักคืนหนึ่งในที่ทุกแหง เขาไปยังพระเชตวันนั้นแล พรอมกับบริษัทของตน. แมพระผูมีพระภาคเขาทรงประทับนั่งบนอาสนะเพื่อแสดงธรรมในสมัยนั้น ดาบสทั้งหลายเขาไปเฝาพระผูมีพระภาคเจา เปนผูนิ่งไมถวายบังคม

 
  ความคิดเห็นที่ 9  
 
chatchai.k
วันที่ 8 ก.ค. 2564

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย สุตตนิบาต เลม ๑ ภาค ๖ - หนาที่ 88

ไดนั่งอยู ณ สวนขางหนึ่ง พระผูมีพระภาคเจาตรัสปราศรัยแสดงความชื่นชมกับดาบสเหลานั้น โดยนัยวา ทานฤาษีทั้งหลาย ทานทั้งหลายพออดทนไดละหรือ ดังนี้เปนตน. แมดาบสเหลานั้นก็ไดกราบทูลวา ขาแตพระโคดมผูเจริญ ขาพระองคทั้งหลายพออดทนได ดังนี้เปนตน. ลําดับนั้น อามคันธฤาษี ไดทูลถามพระผูมีพระภาคเจาวา ขาแตพระโคดมผูเจริญ พระองคเสวยกลิ่นดิบหรือไมเสวย. พระผูมีพระภาคเจาตรัสถามวา พราหมณ ชื่อวากลิ่นดิบนั้นคืออะไร? ดาบสนั้นทูลวา ขาแตพระโคดมผูเจริญ ปลาและเนื้อชื่อวากลิ่นดิบ. พระผูมีพระภาคเจาตรัสวา ดูกอนพราหมณ ปลาและเนื้อไมใชกลิ่นดิบ ก็แล กิเลสทั้งปวงที่เปนบาป เปนอกุศลธรรม ชื่อวากลิ่นดิบ แลวตรัสวา ดูกอนพราหมณ ตัวทานเองไดถามถึงกลิ่นดิบในกาลบัดนี้ก็หามิได แมในอดีต พราหมณชื่อวาติสสะก็ไดถามถึงกลิ่นดิบกะพระผูมีพระภาคเจาพระนามวากัสสปะแลว ก็ติสสพราหมณไดทูลถามแลวอยางนี้ พระผูมีพระภาคเจาไดทรงพยากรณแลวอยางนี้ ดังนี้ แลวไดทรงนํามาซึ่งพระคาถาที่ติสสพราหมณ และพระผูมีพระภาคเจากัสสปะตรัสแลวนั้นแล เมื่อจะใหอามคันธพราหรมณทราบดวยคาถาเหลานี้ จะตรัสวา สามากจิงฺคูลกจีนกานิ จ ดังนี้เปนตน. นี่คือเหตุเกิดขึ้นแหงพระสูตรนี้ ในที่นี้เพียงเทานี้กอน แตในอดีตกาลมีเหตุเกิดขึ้นดังตอไปนี้.

ไดยินวา พระโพธิสัตวพระนามวากัสสปะ บําเพ็ญบารมี ๘ อสงไขยกับแสนกัป ไดถือปฏิสนธิในครรภของนางพราหมณีชื่อวา ธนวดี ปชาบดีของพรหมทัตตพราหมณในเมืองพาราณสี แมอัครสาวกก็เคลื่อนจากเทวโลกในวันนั้นเหมือนกัน อุบัติในครรภของปชาบดีของพราหมณผูเปนอนุปุโรหิต การถือ

 
  ความคิดเห็นที่ 10  
 
chatchai.k
วันที่ 8 ก.ค. 2564

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย สุตตนิบาต เลม ๑ ภาค ๖ - หนาที่ 89

ปฏิสนธิและการคลอดจากครรภของพระโพธิสัตว และอัครสาวกทั้งสองนั้น ไดมีแลวในวันเดียวกันนั่นเอง ดวยประการฉะนี้ ญาติทั้งหลายไดตั้งชื่อบุตรของพราหมณคนหนึ่งวากัสสปะ บุตรของพราหมณคนหนึ่งวา ติสสะ ในวันเดียวกันนั้นเอง. เด็กทั้งสองเหลานั้นเปนสหายเลนฝุนกันมา ไดถึงความเจริญวัยโดยลําดับ. บิดาของติสสะไดสั่งลูกชายวา ดูกอนพอ สหายกัสสปะนี้ออกบวชแลว จะเปนพระพุทธเจา แมเจาเองบวชในสํานักของพระพุทธเจา พระนามวากัสสปะนั้นแลว ก็จะพึงทําการสลัดออกจากภพเสียได. ติสสะนั้นรับวา ดีละ แลวก็ไปยังสํานักของพระโพธิสัตวกลาววา ดูกอนสหาย แมเราทั้งสอง จักบรรพชาดวยกัน. พระโพธิสัตวรับวา ดีละ. ตอจากนั้น ในกาลที่สหายทั้งสองเจริญวัยโดยลําดับ ติสสะพูดกับพระโพธิสัตววา สหาย มาเถิดเราจะบรรพชาดวยกัน. พระโพธิสัตวมิไดออกบรรพชา. ติสสะคิดวา ญาณของสหายนั้น ยังไมถึงกาลแกรอบกอน ดังนี้แลว ตนเองจึงไดออกบวชเปนฤาษี ใหสรางอาศรมอยูที่เชิงภูเขาในปา. ในสมัยตอมา แมพระโพธิสัตว ทั้งๆ ที่ดํารงอยูในเรือนนั้นเอง ก็กําหนดอานาปานสติ ทําฌาน ๔ และอภิญญาใหบังเกิดขึ้นแลวเสด็จไปที่ใกลโคนตนโพธิดวยปราสาท (ดวยฤทธิ์) แลวอธิษฐานอีกวา ขอปราสาทจงดํารงอยูในที่ตามเดิมนั้นแล. ปราสาทนั้นก็ไปประดิษฐานอยูในที่ของตนตามเดิม. ไดยินวา พระโพธิสัตวที่มิใชบรรพชิต ไมอาจจะเขาถึงโคนตนโพธิได เพราะฉะนั้น พระโพธิสัตวบรรพชาแลวจึงไปถึงโคนตนโพธิ นั่งทําความเพียรอยู่ ๗ วัน ทําใหแจงแลวซึ่งสัมโพธิญาณโดยใชเวลา ๗ วัน.

ณ กาลครั้งนั้น ที่ปาอิสิปตนะมีบรรพชิตอยูถึง ๒ หมื่นรูป ครั้งนั้น พระผูมีพระาคเจาทรงพระนามวากัสสปะ ตรัสเรียกบรรพชิตเหลานั้นมาแลว

 
  ความคิดเห็นที่ 11  
 
chatchai.k
วันที่ 8 ก.ค. 2564

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย สุตตนิบาต เลม ๑ ภาค ๖ - หนาที่ 90

ทรงแสดงธรรมจักร ในเวลาจบพระสูตรนั้นเอง บรรพชิตทุกรูปก็เปนพระอรหันต ไดยินวา พระผูมีพระภาคเจาพระองคนั้น มีภิกษุ ๒ หมื่นรูปเปนบริวาร ประทับอยูที่ปาอิสิปตนะนั้นนั่นเอง และพระเจากาสีพระนามวา กิกี ทรงอุปฏฐากพระองคดวยปจจัย ๔.

ตอมาวันหนึ่ง บุรุษชาวเมืองพาราณสีคนหนึ่ง แสวงหาวัตถุทั้งหลาย มีแกนจันทนเปนตนที่ภูเขา ลุถึงอาศรมของติสสดาบส อภิวาทดาบสนั้นแลว ไดยืนอยู ณ ขางหนึ่ง. ดาบสเห็นบุรุษนั้นแลวถามวา ทานมาจากที่ไหน. บุรุษนั้นตอบวา ผมมาจากเมืองพาราณสี ขอรับ. ดาบสถามวา ความเปนไปที่เมืองพาราณสีนั้นเปนอยางไรบาง. บุรุษนั้นตอบวา ทานผูเจริญ พระสัมมาสัมพุทธเจาทรงพระนามวากัสสปะ. บังเกิดขึ้นแลวที่เมืองพาราณสีนั้น. ดาบสไดสดับคําที่ฟงไดโดยยากก็เกิดปติโสมนัส แลวถามวา พระพุทธเจาพระองคนั้นเสวยกลิ่นดิบหรือไมเสวย. บุรุษนั้นถามวา กลิ่นดิบคืออะไร ขอรับ.

ดาบสตอบวา กลิ่นดิบคือปลาและเนื้อสิคุณ.

บุรุษนั้นตอบวา ขาแตทานผูเจริญ พระผูมีพระภาคเจาเสวยปลาและเนื้อ. ดาบสฟงคํานั้น แลวก็เกิดวิปฏิสาร ดําริอีกวา เราจะไปทูลถามพระผูมีพระภาคเจาพระองคนั้น ถาหากวาพระองคจักตรัสวา เราบริโภคกลิ่นดิบ ตอแตนั้น เราก็จะหามพระองควา ขาแตพระองคผูเจริญ ขอนั้นไมเหมาะสมแกชาติและสกุลของพระองค ดังนี้แลวคิดวา เราบวชในสํานักของพระพุทธเจาพระองคนั้น จักกระทําการสลัดออกจากภพได ดังนี้แลว จึงไดถือเอาอุปกรณ (บริขาร) ที่เบาๆ ไปถึงเมืองพาราณสีในเวลาเย็น โดยการพักราตรีเดียวในที่

 
  ความคิดเห็นที่ 12  
 
chatchai.k
วันที่ 8 ก.ค. 2564

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย สุตตนิบาต เลม ๑ ภาค ๖ - หนาที่ 91

ทั้งปวง เขาไปแลวสูปาอิสิปตนะนั้นเอง แมพระผูมีพระภาคเจาประทับนั่งบนอาสนะ เพื่อแสดงพระธรรมเทศนาอยูในสมัยนั้นนั่นเอง. ดาบสเขาไปเฝาพระผูมีพระภาคเจาแลว ไมถวายบังคม เปนผูนิ่งไดยืนอยู ณ สวนขางหนึ่ง. พระผูมีพระภาคเจาทรงเห็นดาบสนั้นแลว ตรัสปฏิสันถารโดยนัยที่ขาพเจากลาวแลว ในตอนตนนั้นแล. แมดาบสนั้นกลาวคําทั้งหลายเปนตนวา ขาแตพระผูมีพระภาคเจาพระนามวากัสสปะผูเจริญ พระองคทรงพออดทนไดอยูหรือ. ดังนี้เปนตน แลวนั่ง ณ สวนขางหนึ่ง ทูลถามพระผูมีพระภาคเจาวา ขาแตพระกัสสปะผูเจริญ พระองคเสวยกลิ่นดิบหรือไม. พระผูมีพระภาคเจาตรัสวา พราหมณ เราหาไดเสวยกลิ่นดิบไม. ดาบสทูลวา ขาแตพระกัสสปะผูเจริญ สาธุ สาธุ พระองคเมื่อไมเสวยซากศพของสัตวอื่น ไดทรงกระทํากรรมดีแลว ขอนั้นสมควรแลวแกชาติ สกุล และโคตรของพระกัสสปะผูเจริญ. ตอแตนั้น พระผูมีพระภาคเจาจึงทรงดําริวา เราพูดวาเราไมบริโภคกลิ่นดิบ ดังนี้หมายถึง (กลิ่นดิบ) คือกิเลสทั้งหลาย พราหมณเจาะจงเอาปลาและเนื้อ ทําอยางไรหนอ เราจะไมเขาไปสูบานเพื่อบิณฑบาตพรุงนี้ จะพึงบริโภคบิณฑบาตที่เขานํามาจากวังของพระเจากิกิ คาถาปรารภกลิ่นดิบจักเปนไปอยางนี้ ตอแตนั้นเราจะใหพราหมณเขาใจได ดวยพระธรรมเทศนา ดงนี้แลว ทรงทําบริกรรมสรีระแตเชาตรูในวันที่สอง เสด็จเขาไปยังพระคันธกุฎี ภิกษุทั้งหลายเห็นพระคันธกุฎีปด จึงรูไดวาวันนี้พระผูมีพระภาคเจาไมประสงคจะเสด็จเขาไปพรอมกับภิกษุทั้งหลาย จึงไดกระทําปทักษิณพระคันธกุฎี แลวเขาไปเพื่อบิณฑบาต แมพระผูมีพระภาคเจาออกจากพระคันธกุฎี

 
  ความคิดเห็นที่ 13  
 
chatchai.k
วันที่ 8 ก.ค. 2564

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย สุตตนิบาต เลม ๑ ภาค ๖ - หนาที่ 92

แลวประทับนั่งบนอาสนะที่ปูลาดไว ฝายดาบสแลตมกิ่งใบไม แลวเคี้ยวกินแลวนั่งอยูในสํานักของพระผูมีพระภาคเจา พระเจากาสิกราชพระนามวา กิกิ เห็นภิกษุทั้งหลายเที่ยวบิณฑบาตจึงตรัสถามวา ทานผูเจริญ พระผูมีพระภาคเจาเสด็จไปไหน และไดทรงสดับวาพระผูมีพระภาคเจาประทับอยูในวิหาร มหาบพิตร. แลวจึงไดทรงสั่งโภชนะที่ถึงพรอมดวยกับและรสตางๆ สมบูรณดวยชนิดของเนื้อแดพระผูมีพระภาคเจา.

อํามาตยทั้งหลายไปสูวิหาร กราบทูลแดพระผูมีพระภาคเจา ถวายน้ําทักษิโณทก เมื่อจะอังคาสก็ไดถวายขาวยาคู อันถึงพรอมดวยเนื้อนานาชนิดเปนครั้งแรก ดาบสเห็นแลวจึงไดยืนคิดอยูวา พระผูมีพระภาคเจาจะเสวยหรือไมหนอ พระผูมีพระภาคเจาเมื่อดาบสนั้นดูอยูนั้นแล จึงทรงดื่มขาวยาคู ทรงใสชิ้นเนื้อเขาไปในพระโอษฐ ดาบสเห็นแลวก็โกรธ เมื่อพระผูมีพระภาคเจาทรงดื่มขาวยาคูเสร็จแลว อํามาตยทั้งหลายก็ไดถวายโภชนะอันประกอบดวยกับขาว อันมีรสตางๆ อีก ดาบสเห็นพระผูมีพระภาคเจาทรงรับโภชนะแมนั้นเสวยอยู ก็โกรธยิ่งขึ้น กลาววา ขาพเจาไมฉันปลาและเนื้อ.

ครั้งนั้น ดาบสไดเขาไปหาพระผูมีพระภาคเจา ผูทรงทําภัตกิจเสร็จแลว ทรงลางมือและเทาประทับนั่งอยู ทูลวา ขาแตทานกัสสปะผูเจริญ ทานตรัสคําเท็จ ขอนั้นไมใชกิจของบัณฑิต ดวยวาพระผูมีพระภาคเจาทั้งหลายทรงติเตียนมุสาวาทไวแลว แมพวกฤาษีเหลานั้นเหลาใดยังอัตภาพใหเปนไปดวยมูลผลาผลในปา อยู ณ เชิงเขา ฤาษีแมเหลานั้นก็ไมยอมพูดเท็จ เมื่อจะพรรณนาคุณทั้งหลายของฤาษีทั้งหลายดวยพระคาถา จึงกลาววา สามากจิงฺคูลกจีนกานิ จ เปนตน.

 
  ความคิดเห็นที่ 14  
 
chatchai.k
วันที่ 8 ก.ค. 2564

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย สุตตนิบาต เลม ๑ ภาค ๖ - หนาที่ 93

ติญชาติและธัญชาติที่เขาถึงซึ่งความเปนสิ่งอันบุคคลขจัด (เปลือกออกเสียแลว) หรือวาเลือกเอาแตรวงทั้งหลายแลวถือเอา ชื่อวา ขาวฟาง ในคาถานั้น อนึ่ง ลูกเดือย (จิงฺคูลกา) มีรวงซึ่งมีสัณฐานเหมือนดอกกณวีระ.

ถั่วเขียว (จีนกานิ) ซึ่งเขาปลูกแลว เกิดขึ้นที่เชิงเขาในดง ชื่อวา จีนกานิ.

ใบไม (สีเขียว) อยางใดอยางหนึ่ง ชื่อวา ปตฺตปฺผล.

เผือกมันอยางใดอยางหนึ่ง ชื่อวา มูลปฺผล.

ผลไมและผลเถาวัลยอยางใดอยางหนึ่ง ชื่อวา ควิปฺผล.

อีกประการหนึ่ง เผือกมัน ทานถือเอาดวยศัพทวา มูล.

ผลไมและผลแหงเถาวัลย ทานถือเอาดวยศัพทวา ผล.

ผลแหงกระจับและแหวเปนตน ซึ่งเกิดในน้ํา ทานถือเอาดวยศัพทวา ควิปฺผล.

สองบทวา ธมฺเมน ลทฺธ ความวา ละมิจฉาชีพ มีการเปนทูตรับใช และการไปสื่อขาว แลวไดมาดวยการทองเที่ยวขอเขาเลี้ยงชีพ.

พระอริยเจาทั้งหลายผูสงบ ชื่อวา สต.

บทวา อสมานา ได้แก่ บริโภคอยู.

ดวยบาทพระคาถาวา น กามกามา อลิก ภณนฺติ ฤๅษียอมแสดงถึงการติเตียนตอพระผูมีพระภาคเจา ดวยการสรรเสริญฤๅษีทั้งหลายวา ฤๅษีทั้งหลายเหลานั้น ไมยึดถือของของตน บริโภคอยูซึ่งขาวฟางเปนตนเหลานั้นอยูอยางนี้ ยอมไมพูดคําเหลาะแหละเพราะปรารถนากาม คือวาปรารถนากาม

 
  ความคิดเห็นที่ 15  
 
chatchai.k
วันที่ 8 ก.ค. 2564

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย สุตตนิบาต เลม ๑ ภาค ๖ - หนาที่ 94

อยูก็ไมพูดคําเท็จ อยางที่พระองคปรารถนากามทั้งหลายอันมีรสอรอยเปนตน เสวยกลิ่นดิบอยูนั้นแล ก็ยังตรัสวา พราหมณ เราหาบริโภคกลิ่นดิบไม ชื่อวาตรัสคําไมจริง (เหลาะแหละ) ดังนี้. พราหมณครั้นติเตียนพระผูมีพระภาคเจาดวยการอางคําสรรเสริญฤๅษีทั้งหลายอยางนี้แลว บัดนี้ เมื่อจะแสดงเรื่องการติเตียนตามที่ตนประสงค จะติเตียนพระผู้มีพระภาคเจ้าโดยนิปปริยาย จึงไดกลาววา ยทสมาโน เปนตน.

อักษรในคาถานั้นเปนการเชื่อมบท แตเนื้อความมีดังตอไปนี้ :-

เนื้อนกมูลไถหรือเนื้อนกกระทาอยางใดอยางหนึ่ง ซึ่งกระทําดีแลวดวยการบริกรรมในเบื้องตน มีการลางและการหั่นเปนตน สําเร็จดีแลวดวยการบริกรรม ในภายหลัง มีการปรุงและการยางเปนตน อันชนเหลาอื่นผูใครธรรมซึ่งสําคัญอยูวา ทานผูนี้ไมใชมารดา ไมใชบิดา (ของเรา) แตอีกอยางหนึ่งแล ทานผูนี้เปนทักขิเณยยบุคคล ดังนี้ ไดถวายไป ชื่อวา ตกแตงดีแลวในการการทําสักการะ.

ชื่อวา ประณีต คือตกแตงเรียบรอย คือวาประณีต เพราะเปนโภชนะมีรสเลิศ เพราะเปนโภชนะมีโอชะ เพราะเปนโภชนะที่สามารถจะนํามาซึ่งกําลังและไขมัน พระองคเสวยอยู คือใหนํามาอยู คือวาพระองคเสวยเนื้ออยางใดอยางหนึ่งอยางเดียวก็หามิได โดยที่แทแล พระองคเสวยขาวสาลีแมนี้ ไดแก ขาวสุกแหงขาวสาลีซึ่งไดเลือกกากออกแลว ดาบสเรียกพระผูมีพระภาคเจาดวยอางพระโคตรวา ขาแตทานกัสสปะ พระองคนั้นเสวยกลิ่นดิบ. พระองคเสวยอยูซึ่งเนื้อชนิดใดชนิดหนึ่ง และเสวยอยูซึ่งขาวสาลีนี้ ขาแตทานกัสสปะ พระองคชื่อวาเสวยกลิ่นดิบ ดังนี้.

 
  ความคิดเห็นที่ 16  
 
chatchai.k
วันที่ 8 ก.ค. 2564

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย สุตตนิบาต เลม ๑ ภาค ๖ - หนาที่ 95

ดาบสครั้นติเตียนพระผูมีพระภาคเจา เพราะอาหารอยางนี้แลว บัดนี้ เมื่อจะยกเรื่องมุสาวาทขึ้นติเตียน จึงกลาววา น อามคนฺโธ ฯเปฯ สุสงฺขเตหิ

เนื้อความแหงพระคาถานั้นวา ดาบสเมื่อกลาวบริภาษอยูวา ขาแตพระผูมีพระภาคเจาผูเปนเผาพันธุแหงพรหม ผูเวนจากคุณของพราหมณ ขาแตทานผูเปนพราหมณผูสมมติแตเพียงชาติ พระองคเปนผูที่ขาพระองคทูลถามในกาลกอนแลว พระองคก็ตรัสอยางนี้วา คือวาพระองคตรัสโดยสวนเดียว อยางนี้วา กลิ่นดิบไมสมควรแกขาพเจา ดังนี้.

บทวา สาลีนมนฺน ไดแก ขาวสุกแหงขาวสาลี.

บทวา ปริภุฺชมาโน ไดแก บริโภคอยู.

บาทคาถาวา สกุนฺตม เสหิ สุสงฺขเตหิ ความวา ดาบสกลาวถึงเนื้อนกซึ่งพระราชานํามาถวายแกพระผูมีพระภาคเจาในครั้งนั้น ก็ดาบสเมื่อจะกลาวอยางนี้นั้นเอง จึงไดแหงนมองดูพระวรกายของพระผูมีพระภาคเจา ในเบื้องลางตั้งแตฝาพระบาทจนถึงปลายพระเกศาในเบื้องบน จึงไดเห็นความสมบูรณ์แหงพระลักษณะอันประเสริฐ ๓๒ ประการและอนุพยัญชนะ ๘๐ ประการ รวมทั้งไดเห็นการแวดลอมแหงพระรัศมีที่ขยายออกไปวาหนึ่ง จึงคิดวา ผูที่มีกายประดับดวยมหาปุริสลักษณะเปนตนเห็นปานนี้ ไมควรที่จะพูดเท็จ ก็พระอุณาโลมนี้ ซึ่งเกิดขึ้นในระหวางคิ้ว สีขาวออนนุมคลายนุน และขนที่ขุมขนทั้งหลาย เปนอเนกเกิดขึ้นแกทานผูนี้. เพราะผลอันไหลออกแหงสัจวาจา แมในระหวางภพนั่นเอง ก็บุคคลเชนนี้นั้นจะพูดเท็จในบัดนี้ไดอยางไร กลิ่นดิบของพระผูมีพระภาคเจาจะตองเปนอยางอื่นแนแท พระองคตรัสคํานี้หมายถึง

 
  ความคิดเห็นที่ 17  
 
chatchai.k
วันที่ 8 ก.ค. 2564

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย สุตตนิบาต เลม ๑ ภาค ๖ - หนาที่ 96

กลิ่นอันใดวา พราหมณเราหาไดบริโภคกลิ่นดิบไม ดังนี้ ไฉนหนอเราจะพึงถามถึงกลิ่นนั้น เปนผูมีมานะมากบังเกิดขึ้นแลว เมื่อจะเจรจาดวยอํานาจโคตรนั้นเอง จึงกลาวคาถาที่เหลือนี้วา :-

ขาแตทานกัสสปะ ขาพระองคขอถามเนื้อความนี้กะพระองควา กลิ่นดิบของพระองคมีประการเปนอยางไร ดังนี้.

ครั้งนั้น พระผูมีพระภาคเจาเมื่อจะทรงแกถึงกลิ่นดิบแกพราหมณนั้น จึงตรัสพระดํารัสเปนตนวา ปาณาติปาโต ดังนี้.

การฆาสัตว ชื่อวา ปาณาติบาต ในคาถานั้น. ในคําวา วธจฺเฉทพนฺธน นี้ มีอธิบายวา การทุบตีทํารายสัตวทั้งหลายดวยทอนไมเปนตน ชื่อวา วธะ การทุบตี การตัดมือและเทาเปนตน ชื่อวา เฉทะ การตัด การจองจําดวยเชือกเปนตน. ชื่อวา พันธนะ การจองจํา.

การลักและการพูดเท็จ ชื่อวา เถยยะและมุสาวาท.

การใหความหวังเกิดขึ้นโดยนัยเปนตนวา เราจักให เราจักกระทํา แลวก็ทําใหหมดหวังเสีย ชื่อวา นิกติ การกระทําใหมีความหวัง.

การใหผูอื่นถือเอาสิ่งที่ไมใชทองวาเปนทองเปนตน ชื่อวา วัญจนา การหลอกลวง.

การเลาเรียนคัมภีรเปนอเนกที่ไมมีประโยชน ชื่อวา อัชเฌนกุตติ การเรียนคัมภีรที่ไรประโยชน.

ความพระพฤติผิดในภรรยาที่ผูอื่นหวงแหน ชื่อวา ปรทารเสวนา การคบหาภรรยาผูอื่น.

 
  ความคิดเห็นที่ 18  
 
chatchai.k
วันที่ 8 ก.ค. 2564

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย สุตตนิบาต เลม ๑ ภาค ๖ - หนาที่ 97

บาทพระคาถาวา เอสามคนฺโธ น หิ ม สโภชน ความวา ความประพฤติดวยอํานาจอกุศลธรรม มีปาณาติบาตเปนตนนี้ ชื่อวา อามคันธะ กลิ่นดิบ คือ เปนกลิ่นที่มีพิษ เปนกลิ่นดุจซากศพ. ถามวา เพราะเหตุไร?

ตอบวา เพราะไมเปนที่พอใจ เพราะคลุกเคลาดวยของไมสะอาดคือกิเลส เพราะเปนของที่สัปบุรุษทั้งหลายเกลียด และเพราะนํามาซึ่งความเปนกลิ่นที่เหม็นอยางยิ่ง.

สัตวทั้งหลายเหลาใด ซึ่งมีกิเลสอันบังเกิดขึ้นแลว ดวยกลิ่นดิบทั้งหลายเหลาใด สัตวทั้งหลายเหลานั้น ชื่อวาเปนผูมีกลิ่นเหม็นอยางยิ่งกวากลิ่นดิบทั้งหลายเหลานั้น แมรางที่ตายแลวของคนที่หมดกิเลสทั้งหลาย ก็ยังไมจัดวามีกลิ่นเหม็น เพราะฉะนั้น กลิ่นนี้ (คือการฆาสัตวเปนตน) จึงเปนกลิ่นดิบ. สวนเนื้อและโภชนะที่ผูบริโภคไมไดเห็น ไมไดยิน และไมไดรังเกียจ (คือไมสงสัยวาเขาฆาเพื่อตน) จัดเปนสิ่งหาโทษมิได เพราะฉะนั้น เนื้อและโภชนะจึงไมใชกลิ่นดิบเลย.

พระผูมีพระภาคเจา ครั้นทรงวิสัชนากลิ่นดิบโดยนัยหนึ่ง ดวยเทศนาที่เปนธรรมาธิษฐานอยางนี้แลว บัดนี้ เพราะเหตุที่สัตวเหลานั้นๆ ประกอบดวยกลิ่นดิบทั้งหลายเหลานั้นๆ สัตวผูหนึ่งเทานั้น จะประกอบดวยกลิ่นดิบทุกอยางก็หามิได และกลิ่นดิบทุกอยาง จะประกอบกับสัตวผูเดียวเทานั้น ก็หามิได ฉะนั้น เมื่อจะทรงประกาศกลิ่นดิบเหลานั้นๆ แกสัตวเหลานั้น เมื่อจะทรงวิสัชนากลิ่นดิบดวยเทศนาที่เปนบุคคลธิษฐานกอนโดยนัยวา ชนทั้งหลายเหลาใดในโลกนี้ ไมสํารวมแลวในกามทั้งหลาย ดังนี้เปนตน จึงไดทรงภาษิตพระคาถา ๒ พระคาถา.

 
  ความคิดเห็นที่ 19  
 
chatchai.k
วันที่ 8 ก.ค. 2564

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย สุตตนิบาต เลม ๑ ภาค ๖ - หนาที่ 98

ในบาทพระคาถานั้น คาถาวา เย อิธ กาเมสุ อสฺตา ชนา ความวา ปุถุชนจําพวกใดจําพวกหนึ่งในโลกนี้ ไมสํารวม เพราะทําลายความสํารวมเสียแลว ในกามทั้งหลายกลาวคือการเสพกาม โดยการเวนเขตแดนในชนทั้งหลายมีมารดาและนาสาวเปนตน.

สองบทวา รเสสุ คิทฺธา ความวา เกิดแลว คือเยื่อใยแลว สยบแลว คือไดประสบแลว ในรสทั้งหลายที่จะพึงรูไดดวยชิวหาวิญญาณเปนผูมีปกติเห็นวาไมมีโทษ ไมมีปญญาเปนเครื่องสลัดออก บริโภครสทั้งหลายอยู่.

บทวา อสุจีกมิสฺสิตา ความวา คลุกเคลาดวยของไมสะอาด กลาวคือมิจฉาทิฏฐิมีประการตางๆ เพื่อประโยชนแกการไดรส เพราะความติดในรสนั้น.

บทวา นตฺถีกทิฏิ ความวา ประกอบดวยมิจฉาทิฏฐิ ๑๐ อยาง เชน มิจฉาทิฏฐิขอที่วา ทานที่ใหแลวไมมีผลเปนตน.

บทวา วิสมา ความวา ประกอบดวยกายกรรมเปนตน ที่ไมสม่ําเสมอ.

บทวา ทุรนฺนยา ความวา เปนผูอันบุคคลอื่นแนะนําไดโดยยาก ไดแก ผูที่ประกอบดวยการไมสละคืน การยึดมั่นถือมั่นในทิฏฐิที่ผิดๆ .

บทวา เอสามคนฺโธ ความวา พึงทราบกลิ่นดิบที่พระผูมีพระภาคเจาแสดงเฉพาะในบุคคล ดวยคาถานี้วามี ๖ ชนิด ดวยอรรถที่พระองคตรัสไวในตอนตน แมอื่นอีกวา ความไมสํารวมในกาม ๑ การติดในรส ๑ อาชีววิบัติ ๑ นัตถิกทิฏฐิ ๑ ความเปนผูไมสม่ําเสมอในทุจริตมีกาย ทุจริตเปนตน ๑ ความเปนผูแนะนําไดยาก ๑.

 
  ความคิดเห็นที่ 20  
 
chatchai.k
วันที่ 8 ก.ค. 2564

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย สุตตนิบาต เลม ๑ ภาค ๖ - หนาที่ 99

คําวา น หิ ม สโภชน ความวา ก็เนื้อและโภชนะหาใชกลิ่นดิบไม ดวยอรรถตามที่ขาพเจากลาวไวนั้นแล.

พึงทราบวินิจฉัยแมในคาถาที่ ๒ ดังตอไปนี้.

สองบทวา เย ลูขสา ความวา ชนเหลาใด เศราหมอง ไมมีรส. อธิบายวา ประกอบตนไวในอัตตกิลมถานุโยค.

บทว่า ทารุณา ได้แก่ หยาบชา กักขฬะ คือประกอบดวยความเปนผูวายาก.

บทวา (ปร) ปฏิม สิกา ความวา ตอหนา ก็พูดไพเราะ แลวก็พูดติเตียนในที่ลับหลัง. จริงอยู่ ชนทั้งหลายเหลานี้ ไมอาจจะแลดูซึ่งหนาได เปนราวกะวาแทะเนื้อหลังของชนทั้งหลายลับหลัง เพราะเหตุนั้น ทานจึงเรียกวา หนาไวหลังหลอก.

บทวา มิตฺตทุพฺภิโน คือ ผูประทุษรายมิตร มีคําอธิบายวา ปฏิบัติผิดตอมิตรทั้งหลายผูใหความคุนเคย ในเรื่องภรรยา ทรัพย และชีวิต ในที่นั้นๆ .

บทวา นิกฺกรุณา ความวา ปราศจากความเอ็นดู คือตองการใหสัตวทั้งหลายพินาศ.

บทวา อติมาโน ไดแก ประกอบดวยการถือตัวจัด ดังที่พระผูมีพระภาคเจาตรัสไววา คนบางคนในโลกนี้ ดูหมิ่นผูอื่นดวยกระทบถึงชาติกําเนิด ฯลฯ หรือดวยอางถึงวัตถุอยางใดอยางหนึ่ง ความถือตัวเห็นปานนี้ใด ฯลฯ ความเปนผูมีจิตเหมือนกับธง.

 
  ความคิดเห็นที่ 21  
 
chatchai.k
วันที่ 8 ก.ค. 2564

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย สุตตนิบาต เลม ๑ ภาค ๖ - หนาที่ 100

บทวา อทานสีลา คือ มีปกติไมให ไดแก มีจิตใจนอมไปเพื่อไมให อธิบายวา ไมยินดีในการจายแจก.

หลายบทวา น จ เทนฺติ กสฺสจิ ความวา ก็เพราะเหตุที่มีปกติไมใหนั้น แมจะเปนผูถูกขอก็ไมยอมใหอะไรแกใครๆ คือวาเปนเชนกับดวยมนุษยในสกุลอทินนปุพพกะพราหมณ ยอมจะเกิดเปนนิชฌามตัณหิกเปรตในสัมปรายภพ.

แตอาจารยบางพวกกลาววา อาทานสีลา ดังนี้ก็มี ความวา เปนผูมีปกติรับอยางเดียว แตก็ไมยอมใหอะไรๆ แกใครๆ .

บาทคาถาวา เอสามคนฺโธ น หิ ม สโภชน ความวา ผูศึกษาพึงทราบวา กลิ่นดิบที่พระผูมีพระภาคเจาทรงแสดงเจาะจงบุคคลทั้งหลายดวยคาถานี้มี ๘ ชนิด ดวยอรรถตามที่พระผูมีพระภาคเจาตรัสไวแลวในตอนตนอื่นอีก คือ ความเปนผูมีรสที่เศราหมอง ๑ ความทารุณ ๑ หนาไหวหลังหลอก ๑ ความเปนผูคบมิตรชั่ว ๑ การไรความเอ็นดู ๑ การถือตัวจัดหนึ่ง ๑ การมีปกติไมให ๑ และการไมสละ ๑ เนื้อและโภชนะใหใชกลิ่นดิบเลย.

พระผูมีพระภาคเจาครั้นตรัส ๒ พระคาถาดวยเทศนาเปนบุคลาธิษฐานอยางนี้แลว ก็ไดทรงทราบถึงการอนุวัตรตามอัธยาศัยของดาบสนั้นอีก จึงไดตรัสพระคาถา ๑ (คาถา) ดวยเทศนาที่เปนธรรมาธิษฐาน.

ความโกรธในพระคาถานั้น ผูศึกษาพึงทราบโดยนัยที่ขาพเจากลาวไวแลวในอุรคสูตร ความมัวเมาแหงจิต มีประเภทดังที่พระผูมีพระภาคเจาตรัสไวในวิภังคโดยนัยวา ความเมาในคติ ความเมาในโคตร ความเมาในความไมมีโรค เปนตน ชื่อวา มโท ความเมา.

 
  ความคิดเห็นที่ 22  
 
chatchai.k
วันที่ 8 ก.ค. 2564

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย สุตตนิบาต เลม ๑ ภาค ๖ - หนาที่ 101

ความเปนผูแข็งกระดาง ชื่อวา ถมฺโภ ความเปนคนหัวดื้อ.

การตั้งตนไวในทางที่ผิด ได้แก่การตั้งตนไว้ผิดจากพระดำรัสที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ โดยนัยอันชอบธรรม ชื่อวา ปจฺจุปฺปฏานา การตั้งตนไวผิด.

การปกปดบาปที่ตนกระทําไว ซึ่งพระผูมีพระภาคเจาจําแนกไวในคัมภีรวิภังค โดยนัยเปนตนวา คนบางคนในโลกนี้ประพฤติกายทุจริต ชื่อวา มายา หลอกลวง.

การริษยาในลาภสักการะของบุคคลอื่นเปนตน ชื่อวา อุสฺสุยา ริษยา.

คําที่บุคคลยกขึ้น มีการอธิบายวา การยกตนขึ้น ชื่อวา ภสฺสสมุสฺ โสโย การยกตน.

ความถือตัวที่พระผูมีพระภาคเจาทรงจําแนกไวในคัมภีรวิภังควา คนบางคนในโลกนี้ถือตัววาเสมอกับผูอื่นในกาลกอน ดวยชาติกําเนิดเปนตน ฯลฯ หรือดวยวัตถุอยางใดอยางหนึ่ง แตมาภายหลังยกตนวาเสมอ ไมยอมรับวาตนเองเลวกวาคนอื่น มานะเห็นปานนี้ใด ฯลฯ ความเปนผูมีจิตดุจธง ชื่อวา มานาติมาโน การถือตัว.

การสมาคมกับอสัปบุรุษทั้งหลาย ชื่อวา อสพฺภิสนฺถโว การสมาคมกับอสัตบุรุษ.

บาทพระคาถาวา เอสามคนฺโธ น หิ ม สโภชน ความวา อกุศลราศี ๙ อยางมีความโกรธเปนตนนี้ พึงทราบวา เปนกลิ่นดิบ โดยอรรถตามที่ขาพเจากลาวไวในตอนตนนั้นแล เนื้อและโภชนะไมชื่อวากลิ่นดิบเลย.

 
  ความคิดเห็นที่ 23  
 
chatchai.k
วันที่ 8 ก.ค. 2564

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย สุตตนิบาต เลม ๑ ภาค ๖ - หนาที่ 102

พระผูมีพระภาคเจา ครั้นทรงแสดงกลิ่นดิบ ๙ อยาง ดวยเทศนาที่เปนธรรมาธิษฐานอยางนี้แลว เมื่อจะทรงวิสัชนากลิ่นดิบดวยเทศนาที่เปนบุคลาธิษฐานที่นัยตามที่ขาพเจากลาวแลวในตอนตนนั้นแลแมอีก จึงไดทรงภาษิต ๓ พระคาถา.

บรรดาบทเหลานั้น สองบทวา เย ปาปสีลา ความวา ชนเหลาใดปรากฏในโลกวามีปกติประพฤติชั่ว เพราะเปนผูมีความประพฤติชั่ว.

การยืมหนี้แลวฆาเจาหนี้เสียเพราะไมใชหนี้นั้น และการพูดเสียดแทง เพราะคําสอเสียด ตามนัยที่กลาวไวในวสลสูตร ชื่อวา อิณฆาตสูจกา ผูฆาเจาหนี้และพูดเสียดแทงเจาหนี้.

บาทคาถาวา โวหารกูฏา อิธ ปาฏิรูปกา ความวา ชนทั้งหลายดํารงอยูแลว ในฐานะที่ตั้งอยูในธรรม (เปนผูตัดสินความ) รับคาจางแลว ทําเจาของใหพายแพ ชื่อวาผูพูดโกง เพราะประกอบดวยโวหารที่โกง ชื่อวา ปาฏิรูปกา คนผูหลอกลวง เพราะเอาเปรียบผูตั้งอยูในธรรม.

อีกประการหนึ่ง บทวา อิธ ไดแก ในศาสนา.

บทวา ปาฏิรูปกา ไดแก พวกคนทุศีล.

จริงอยู เพราะเหตุคนทุศีลเหลานั้น มีการสํารวมอิริยาบถใหงดงามเรียบรอย เปนตน ซึ่งจะเปรียบไดกับทานผูมีศีล ฉะนั้น จึงชื่อวาเปน คนผูหลอกลวง.

บาทคาถาวา นราธมา เยธ กโรนฺติ กิพฺพิส ความวา ชนเหลาใด เปนคนต่ําทรามในโลกนี้ ยอมกระทํากรรมหยาบชา กลาวคือการปฏิบัติผิดในมารดาและบิดาทั้งหลาย และในพระพุทธเจาและพระปจเจกพุทธเจาเปนตน.

 
  ความคิดเห็นที่ 24  
 
chatchai.k
วันที่ 8 ก.ค. 2564

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย สุตตนิบาต เลม ๑ ภาค ๖ - หนาที่ 103

บาทคาถาวา เอสามคนฺโธ น หิ ม สโภชน ความวา กลิ่นชนิดนี้ซึ่งพระผูมีพระภาคเจาทรงแสดงไวดวยคาถานี้ อันตั้งอยูแลวในบุคคล เปนบุคลาธิษฐาน ผูศึกษาพึงทราบกลิ่นแมอื่นอีก ๖ ชนิด โดยอรรถที่ขาพเจากลาวไวแลวในกาลกอนวา ความเปนผูมีปกติประพฤติชั่ว ๑ การกูหนี้มาแลวไมใช ๑ การพูดเสียดสี ๑ การเปนผูพิพากษาโกง ๑ การเปนคนหลอกลวง ๑ การกระทําที่หยาบชา ๑ เนื้อและโภชนะไมใชกลิ่นดิบเลย ดังนี้.

บาทคาถาวา เย อิธ ปาเณสุ อส ยตา ชนา ความวา ชนเหลาใดในโลกนี้ ฆาสัตวรอยหนึ่งบาง พันหนึ่งบาง เพราะประพฤติตามความอยาก ชื่อวาไมสํารวมแลว เพราะไมกระทําแมสักวาความเอ็นดูในสัตว.

บาทคาถาวา ปเร สมาทาย วิเหสมุยฺยุตา ความวา ถือเอาทรัพยหรือชีวิตอันเปนของที่มีอยูของบุคคลอื่น ตอแตนั้นก็ประกอบการเบียดเบียน โดยการใชฝามือ กอนดิน และทอนไมตอชนทั้งหลายผูออนวอนหรือหามอยูวา "ทานทั้งหลายอยาทําอยางนี้" ดังนี้.

อีกอยางหนึ่ง จับสัตวทั้งหลายเหลาอื่นไดแลว ก็ยึดถือไวอยางนี้วา เราจะฆาสัตว ๑๐ ตัวในวันนี้ จะฆา ๒๐ ตัวในวันนี้ ดังนี้ แลวก็ทําการเบียดเบียนสัตวเหลานั้น ดวยการฆาและการจองจําเปนตน.

บทวา ทุสฺสีลลุทฺทา ความวา ผูทุศีล เพราะประพฤติชั่ว และชื่อวาผูดุราย เปนผูมีการงานหยาบชา เพราะเปนผูมีฝามือเปอนเลือด ชนทั้งหลายผูมีกรรมอันเปนบาป มีชาวประมง นายพรานเนื้อและนายพรานนก เปนตน พระผูมีพระภาคเจาทรงประสงคในพระคาถานี้.

 
  ความคิดเห็นที่ 25  
 
chatchai.k
วันที่ 8 ก.ค. 2564

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย สุตตนิบาต เลม ๑ ภาค ๖ - หนาที่ 104

บทวา ผรุสา ไดแก มีวาจาหยาบคาย.

บทวา อนาทรา ไดแก่ ผูเวนจากความเอื้อเฟออยางนี้วา พวกเราจักไมกระทําในบัดนี้ พวกเราเห็นบาปนี้ จักงดเวน ดังนี้.

บาทคาถาวา เอสามคนฺโธ น หิ ม สโภชน ความวา กลิ่นนี้ที่พระผูมีพระภาคเจาทรงแสดงดวยคาถานี้ ซึ่งตั้งอยูแลวในบุคคลทั้งที่ขาพเจากลาวไวแลว และยังไมไดกลาวโดยกาลกอน เปนตนวา การฆา การตัด และการจองจํา ชื่อวา ปาณาติบาต ดังนี้.

บัณฑิตพึงทราบ กลิ่นดิบ ๖ ชนิด คือ ความไมสํารวมในสัตวทั้งหลาย ๑ การเบียดเบียนสัตวเหลาอื่น ๑ ความเปนผูทุศีล ๑ ความเปนผูรายกาจ ๑ ความเปนผูหยาบคาย ๑ ความเปนผูไมเอื้อเฟอ ๑ เนื้อและโภชนะไมชื่อวากลิ่นดิบเลย สมจริงดังคําที่ทานกลาวไวในตอนตนวา ขอนั้น ทานหาไดกลาวไวอีกดวยเหตุทั้งหลาย มีอาทิอยางนี้วา เพื่อปรารถนาจะฟง เพื่อการกําหนด เพื่อกระทําใหมั่นคงไม.

ก็เพราะเหตุนั้นแล พระผูมีพระภาคเจาจึงไดตรัสถึงเนื้อความนี้ไวขางหนา พระผูมีพระภาคเจาผูถึงฝงแหงมนต ไดตรัสบอกเนื้อความนี้อยางนี้บอยๆ ชื่อวา ใหผูอื่นทราบเนื้อความนั้น.

บาทคาถาวา เอเตสุ คิทฺธา วิรุทฺธาติปาติโน ความวา กําหนัดแลว ดวยความกําหนัดในสัตวเหลานั้น โกรธแลวดวยโทสะ ไมเห็นโทษดวยโมหะ และฆาสัตวดวยการประพฤติผิดในสัตวทั้งหลายบอยๆ .

 
  ความคิดเห็นที่ 26  
 
chatchai.k
วันที่ 8 ก.ค. 2564

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย สุตตนิบาต เลม ๑ ภาค ๖ - หนาที่ 105

อีกอยางหนึ่ง ราคะ โทสะ และโมหะ กลาวคือ ความกําหนัด ความโกรธ และการฆาสัตวเหลาใด ชนทั้งหลายกําหนัด โกรธ และฆาสัตวดวย ราคะ โทสะ และโมหะเหลานั้น ตามที่มันเกิดขึ้นในบาปกรรมทั้งหลาย ซึ่งทานกลาวแลวโดยนัยวา การฆา การตัด และการจองจําในสัตวเหลานี้ ชื่อวา ปาณาติบาต.

บทวา นิจฺจุยฺยุตา ความวา ประกอบในอกุศลกรรมอยูเปนนิตย คือบางคราวพิจารณาแลวก็ไมงดเวน.

บทวา เปจฺจ ไดแก ไปจากโลกนี้สูโลกอื่น.

บาทคาถาวา ตม วชนฺติ เย ปตนฺคติ สตฺตา นิรย อว สิรา ความวา ชนเหลาใดไปสูที่มืด กลาวคือ โลกันตริกนรกอันมืดมนอนธกาล หรืออันตางดวยสกุล มีสกุลต่ําเปนตน และสัตวเหลาใดผูมีหัวตกลง ไดแก มีศีรษะตกลงไปเบื้องลาง เพราะยอมตกลงไปยังนรก อันตางดวยอเวจีนรก เปนตน.

บทวา เอสามคนฺโธ ความวา กลิ่นดิบ ๓ ประเภทโดยอรรถตามที่ขาพเจากลาวแลว อันเปนเคามูลแหงกลิ่นดิบทั้งปวง อันตางโดยความกําหนัด ความโกรธ และการฆาสัตว เพราะเปนเหตุใหสัตวเหลานั้นไปสูที่มืดและตกนรก นี้ ชื่อวา กลิ่นดิบ.

บทวา น หิ ม สโภชน ความวา แตเนื้อและโภชนะ ไมชื่อวากลิ่นดิบเลย.

 
  ความคิดเห็นที่ 27  
 
chatchai.k
วันที่ 8 ก.ค. 2564

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย สุตตนิบาต เลม ๑ ภาค ๖ - หนาที่ 106

พระผูมีพระภาคเจาครั้นทรงวิสัชนากลิ่นดิบโดยปรมัตถ และทรงประกาศความที่กลิ่นดิบเปนทางแหงทุคติอยางนี้แลว บัดนี้ ดาบสมีความสําคัญในปลาเนื้อและโภชนะใดวาเปนกลิ่นดิบ และมีความสําคัญวาเปนทางแหงทุคติ เปนผูปรารถนาความบริสุทธิ์ ดวยการไมบริโภคปลาและเนื้อนั้น จึงไมยอมบริโภคโภชนะ คือปลาและเนื้อนั้น เมื่อจะทรงแสดงซึ่งความที่เนื้อและโภชนะนั้นและโภชนะอื่นๆ เห็นปานนั้น ไมสามารถจะชําระตนใหบริสุทธิ์ได จึงตรัสคาถาที่ ๖ นี้วา น มจฺฉม ส เปนตน.

ในคาถานั้น พึงเชื่อมบททั้งปวง (คือ บทวา โสเธติ มจฺจ อวิติณฺณกงฺข ยอมไมยังสัตวผูขามความสงสัยไมไดใหบริสุทธิ์ได) ดวยบทสุดทายอยางนี้วา การไมกินปลาและเนื้อ มิไดทําสัตวผูขามความสงสัยไมไดใหบริสุทธิ์ได การบวงสรวง การบูชายัญ และการซองเสพฤดู หาไดยังสัตวผูยังขามความสงสัยไมไดใหบริสุทธิ์ได. ก็ในขอนี้ พระโบราณาจารยทั้งหลายกลาวอยางนี้วา คําวา น มจฺฉม ส ไดแก ปลาและเนื้อ มิไดทําบุคคลผูไมบริโภคใหบริสุทธิ์ได การไมบริโภคปลาและเนื้อก็ไมอาจจะทำสัตวใหบริสุทธิ์ไดเหมือนกัน ดังนี้เปนตน. ดวยวาการกลาว อยางนี้จะพึงดีกวา (คือเขาใจไดงายกวา) แมพระบาลีก็มีอยูวา การไมกินปลากินเนื้อ ยอมไมทําสัตวใหบริสุทธิ์ คือวา ความเปนผูไมบริโภคตางๆ ซึ่งปลาและเนื้อยอมไมทําสัตวใหบริสุทธิ์ ไดแก ความเปนผูไมบริโภคปลาและเนื้อ ยอมไมทําสัตวใหบริสุทธิ์ได.

 
  ความคิดเห็นที่ 28  
 
chatchai.k
วันที่ 8 ก.ค. 2564

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย สุตตนิบาต เลม ๑ ภาค ๖ - หนาที่ 107

ถามวา เมื่อเปนเชนนั้น ทานก็ทิ้งความเปนผูไมบริโภคเสีย?

ตอบวา ขอนี้หาเปนเชนนั้นไม เพราะวาการทรมานตน ที่เหลือที่ขาพเจากลาวไวแลวแมทั้งหมด ยอมถึงการสงเคราะหในคํานี้วา เย วาป โลเก อมรา พหู ตปา เพราะเหตุที่ทานสงเคราะหเขาดวยการยางกิเลส เพื่อปรารถนาความเปนเทวดา.

ความเปนคนเปลือยกาย ชื่อวา นคฺคิย.

ความเปนคนโลน ชื่อวา มุณฺฑิย.

การเกลาชฎาและการเปนผูหมักหมมดวยธุลี ชื่อวา ชฎาชลฺล.

เล็บและหนังเสือ ชื่อวา ขราชินานิ.

การบําเรอไฟ ชื่อวา อคฺคิโหตสฺสุปเสวนา.

ความเศราหมองทางกายอันเปนไปแลว เพื่อปรารถนาความเปนเทวดา ชื่อวา อมรา.

บทวา พหู ไดแก เปนอเนก โดยตางดวยการนั่งกระโหยง เปนตน

การยางกิเลสทางกาย ชื่อวา ตปา.

เวททั้งหลาย ชื่อวา มนฺตา.

กรรม คือการบูชาไฟ ชื่อวา อาหุติ.

ยัญ ที่ชื่อวา อัสวเมธ เปนตน และการซองเสพฤดู ชื่อวา ยฺมุตูปเสวนา.

การซองเสพสถานที่รอน ในฤดูรอน การซองเสพรุกขมูล ในฤดูฝน การซองเสพคือการเขาไปสูชลาลัย ในฤดูหนาว ชื่อวา การซองเสพฤดู.

 
  ความคิดเห็นที่ 29  
 
chatchai.k
วันที่ 8 ก.ค. 2564

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย สุตตนิบาต เลม ๑ ภาค ๖ - หนาที่ 108

บาทพระคาถาวา น โสเธติ มจฺจ อวิติณฺณกงฺข ไดแก ยอมไมทําสัตวผูยังขามความสงสัยไมได ใหบริสุทธิ์ ดวยความบริสุทธิ์จากกิเลส หรือดวยความบริสุทธิ์จากภพ เพราะเมื่อยังมีมลทิน คือความสงสัย สัตวก็เปนผูบริสุทธิ์ไมได และตัวทานเองก็ชื่อวา ยังมีความสงสัยอยูนั่นเอง.

ก็ในคาถานี้ มีอธิบายวา คําวา อวิติณฺณกงฺข นี้ พึงเปนคําที่พระผูมีพระภาคเจาตรัสไว ในเมื่อเกิดความสงสัยขึ้นแกดาบสวา ทางแหงความบริสุทธิ์จะไมพึงมี ดวยเหตุมีการไมบริโภคปลาและเนื้อเปนตน หรือหนอแล ดังนี้ เพราะไดฟง ซึ่งคําทั้งหลายมีคําเปนตนวา นมจฺฉม ส ดังนี้ ก็ความสงสัย ในพระผูมีพระภาคเจา อันใด เกิดขึ้นแกดาบสนั้น เพราะฟงวาพระผูมีพระภาคเจานั้น เสวยปลาและเนื้อดังนี้ คํานี้บัณฑิตพึงทราบวา พระผูมีพระภาคเจาตรัสหมายถึงความสงสัยนั้น.

พระผูมีพระภาคเจา ตรัสบทแสดงความที่บุคคลไมสามารถจะทําตนใหบริสุทธิ์ดวยการไมบริโภคปลาเนื้อเปนตนอยางนี้แลว บัดนี้เมื่อจะทรงแสดงพระธรรมที่สามารถจะทําสัตวใหบริสุทธิ์ได จึงตรัสพระคาถานี้วา โสเตสุ คุตฺโต เปนตน.

บรรดาบทเหลานั้น บทวา โสเตสุ ไดแก ในอินทรีย ๖.

บทวา คุตฺโต ไดแก ประกอบดวยการคุมครองคือการสํารวมอินทรีย. พระผูมีพระภาคเจา ทรงแสดงศีล ซึ่งมีอินทรียสังวรเปนบริวาร ดวยคํามีประมาณเทานี้.

 
  ความคิดเห็นที่ 30  
 
chatchai.k
วันที่ 8 ก.ค. 2564

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย สุตตนิบาต เลม ๑ ภาค ๖ - หนาที่ 109

สองบทวา วิทิตินฺทฺริโย จเร ความวา ทราบอินทรียทั้ง ๖ ดวยญาตปริญญา พึงประพฤติใหปรากฏ. อธิบายวา พึงมี พระผูมีพระภาคเจาทรงแสดงการกําหนดนามรูปแหงบุคคลผูมีศีลอันบริสุทธิ์แลว ดวยเหตุมีประมาณเทานี้.

สองบทวา ธมฺเม ิโต ไดแก ดํารงอยูในธรรมคืออริยสัจ ๔ อันจะพึงบรรลุไดดวยอริยมรรค.

ดวยคําวา ธมฺเม ิโต นี้ พระผูมีพระภาคเจาทรงแสดงถึงภูมิแหงพระโสดาบัน.

สองบทวา อชฺชวมทฺทเว รโต ไดแก ยินดีแลวในความเปนคนตรง และในความเปนคนออนโยน. ดวยคําวา อชฺชวมทฺทเว รโต นี้ พระผูมีพระภาคเจา ทรงแสดงถึงภูมิของพระสกทาคามี ดวยวาพระสกทาคามียินดีแลวในความซื่อตรงและในความออนโยน เพราะความที่ทานทําใหเบาบางซึ่งกิเลสทั้งหลาย มีอันกระทําความคดกายเปนตน และทําราคะและโทสะอันกระทําความแข็งกระดางแหงจิต ใหเบาบางลง.

บทวา สงฺคาติโค ไดแก ขามพนเครื่องของ คือ ราคะและโทสะเสียได. ดวยบทวา สงฺคาติโค นี้ พระผูมีพระภาคเจา ทรงแสดงภูมิแหงพระอนาคามี.

บทวา สพฺพทุกฺขปฺปหีโน ความวา ชื่อวาละทุกขทั้งปวงเสียได เพราะละเหตุแหงทุกขในวัฏฏะทั้งสิ้นเสียได. ดวยคําวา สพฺพทุกฺขปฺปหีโน นี้ พระผูมีพระภาคเจา ทรงแสดงอรหัตภูมิ.

 
  ความคิดเห็นที่ 31  
 
chatchai.k
วันที่ 8 ก.ค. 2564

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย สุตตนิบาต เลม ๑ ภาค ๖ - หนาที่ 110

บาทพระคาถาวา น ลิมฺปติ ทิฏสุเตสุ ธีโร ความวา ผูนั้นบรรลุแลวซึ่งพระอรหัต โดยลําดับอยางนี้ ชื่อวาเปนนักปราชญ เพราะถึงพรอมดวยความเพียร ยอมไมติดอยูในธรรมทั้งหลาย ที่ตนเห็นแลวและฟงแลวดวยการติดอยางใดอยางหนึ่ง.

พระผูมีพระภาคเจา ใหเทศนาจบลงดวยธรรมเทศนาที่เปนบุคลาธิษฐานอยางเดียวก็หามิได แตใหจบลงดวยยอดคือพระอรหัตทีเดียววา บุคคลนั้นยอมไมติดในธรรมทั้งหลาย ทั้งที่เห็น ทั้งที่ไดฟง และในธรรมทั้งหลาย ทั้งที่ตนทราบและไดรู จึงเปนผูถึงแลวซึ่งความบริสุทธิ์อยางยิ่งโดยแท.

ตอจากนี้ไป พระธรรมสังคีติกาจารย ไดกลาว ๒ พระคาถาวา อิจฺเจตมตฺถ ดังนี้เปนตน.

ผูศึกษาพึงทราบเนื้อความแหงพระคาถานั้น ดังตอไปนี้ :-

พระผูมีพระภาคเจา ทรงพระนามวากัสสปะ ไดตรัสบอก คือตรัสเนื้อความนี้ใหพิสดาร ดวยเทศนาที่เปนธรรมาธิษฐาน และที่เปนบุคลาธิษฐานดวยคาถาเปนอเนกบอยๆ จนกระทั่งดาบสนั้นไดทราบชัดดังพรรณนามาฉะนี้.

สามบทวา น เวทยิ มนฺตปารคู ความวา ก็ติสสพราหมณแมนั้น ผูถึงซึ่งฝงแหงมนต คือผูถึงฝงแหงเวท ไดทราบคือไดรู ซึ่งเนื้อความนั้น.

ถามวา เพราะเหตุไร?

 
  ความคิดเห็นที่ 32  
 
chatchai.k
วันที่ 8 ก.ค. 2564

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย สุตตนิบาต เลม ๑ ภาค ๖ - หนาที่ 111

ตอบวา เพราะพระมุนี ทรงประกาศดวยคาถาทั้งหลายที่ไพเราะทั้งโดยอรรถ ทั้งโดยบท ทั้งโดยกระแสแหงเทศนา.

ถามวา เปนเชนไร?

ตอบวา บุคคลที่ไมมีกลิ่นดิบ ผูอันตัณหาและทิฏฐิไมอาศัยแลว ตามรูไดยาก ที่ชื่อวาผูไมมีกลิ่นดิบ ก็เพราะไมมีกิเลสอันเปนกลิ่นดิ ที่ชื่อวาอสิตะ ก็เพราะไมมีตัณหาและทิฏฐิเขาไปอาศัย. ชื่อวาเปนผูตามรูไดยาก ก็เพราะใครๆ ไมอาจเพื่อจะแนะนําไดดวยสามารถแหงทิฎฐิในภายนอกวา สิ่งนี้ประเสริฐกวา สิ่งนี้ประเสริฐ ดังนี้เปนตน.

ก็ติสสพราหมณฟงบทสุภาษิต ไดแกฟงพระธรรมเทศนา ที่ตรัสดีแลวของพระผูมีพระภาคเจาพระองคนั้น ผูทรงประกาศแลวอยางนี้ เปนผูมีใจนอบนอม ไดแกเปนผูมีจิตนอบนอม ถวายบังคมพระผูพระภาคเจาผูไมมีกลิ่นดิบ คือผูไมมีเครื่องของคือกิเลส ผูบรรเทาความทุกขทั้งปวงเสียได ไดแกผูบรรเทาความทุกขในวัฏฏะทั้งปวงเสียได แลวถวายบังคมพระบาทของพระตถาคตเจาดวยเบญจางคประดิษฐ.

บาทคาถาวา ตเถว ปพฺพชฺชมโรจยิตฺถ มีคําอธิบายวา ติสสดาบสไดทูลขอ คือไดทูลออนวอนขอ ซึ่งบรรพชา กะพระผูมีพระภาคเจาทรงพระนามวากัสสปะพระองคนั้น ผูประทับนั่งบนอาสนะนั้นนั่นเอง.

พระผูมีพระภาคเจา ไดตรัสกะติสสดาบสนั้นวา "เธอจงเปนภิกษุมาเถิด" ดังนี้ ดาบสนั้นเปนผูประกอบดวยบริขาร ๘ ในทันใดนั้นเอง เปนดุจพระเถระมีพรรษาตั้งรอยมาทางอากาศ ถวายบังคมพระผูมีพระภาคเจา

 
  ความคิดเห็นที่ 33  
 
chatchai.k
วันที่ 8 ก.ค. 2564

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย สุตตนิบาต เลม ๑ ภาค ๖ - หนาที่ 112

โดยการลวงไป เพียง ๒-๓ วันเทานั้น ก็ไดบรรลุสาวกบารมีญาณ ไดเปนอัครสาวก ชื่อวา ติสสะ. (สาวกที่สองของพระผูมีพระภาคเจาพระองคนั้น) ชื่อวา ภารทวาชะ. พระผูมีพระภาคเจา (กัสสปะ) พระองคนั้น จึงมีคูแหงพระสาวก มีชื่อวา ติสสะ และ ภารทราชะ ดวยประการฉะนี้.

สวนพระผูมีพระภาคเจา แหงเราทั้งหลาย ทรงนําพระคาถา ๑๔ พระคาถาแมทั้งสิ้น ที่ติสสพราหมณกลาว ในตอนตน ๓ คาถา ที่พระผูมีพระภาคเจาทรงพระนามวา กัสสปะ ตรัส ในทามกลาง ๙ คาถา และที่พระสังคีติกาจารยทั้งหลาย กลาวในที่สุด ๒ คาถา ในกาลครั้งนั้น (พระองค) ทรงกระทําใหบริบูรณแลว ทรงพยากรณกลิ่นดิบแกดาบส ๕๐๐ มีอาจารยเปนประธาน อันชื่อวา อามคันธสูตร นี้.

พราหมณอามคันธะนั้น ครั้นสดับพระธรรมเทศนานั้นแลว ก็มีใจออนนอมเหมือนอยางที่กลาวแลวนั้นแหละ ถวายบังคมที่พระบาทของพระผูมีพระภาคเจา (โคตมะ) ทูลขอบวชพรอมกับดวยบริษัท (ของตน) พระผูมีพระภาคเจาไดตรัสวา ทานทั้งหลายจงเปนภิกษุมาเถิด. ดาบสเหลานั้นถึงความเปน เอหิภิกขุ เหมือนอยางนั้นนั่นแหละ เปนดุจพระเถระมีพรรษาตั้งรอย มาทางอากาศถวายบังคมพระผูมีพระภาคเจา โดยเวลา ๒-๓ วัน เทานั้น ทุกทานก็ไดประดิษฐานอยูในพระอรหัต อันเปนผูที่เลิศ ดังนี้แล.

การพรรณนาอามคันธสูตร

แหงอรรถถาขุททกนิกาย

ชื่อปรมัตถโชติกา จบ

 
  ความคิดเห็นที่ 34  
 
chatchai.k
วันที่ 10 ก.ค. 2564

ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น

 
เขียนความคิดเห็น กรุณาเข้าระบบ