พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย

๔. อุปาทินนติกะ - อนุโลมติกปัฏฐาน

 
บ้านธัมมะ
วันที่  22 ก.พ. 2565
หมายเลข  42201
อ่าน  587

[เล่มที่ 86] พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒

พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๗

ปัฏฐาน ภาคที่ ๒

อนุโลมติกปัฏฐาน

๔. อุปาทินนติกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย 1418/177

๒. อารัมมณปัจจัย 1423/179

๓. อธิปติปัจจัย 1424/180

๔. อนันตรปัจจัยฯลฯ ๖. สหชาตปัจจัย 1425/180

๗. อัญญมัญญปัจจัย 1426/181

๘. นิสสยปัจจัย ๙. อุปนิสสยปัจจัย 1427/182

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย 1428/182

๑๑. อาเสวนปัจจัย 1429/182

๑๒. กัมมปัจจัย 1430/183

๑๓. วิปากปัจจัย 1431/183

๑๔. อาหารปัจจัยฯลฯ ๒๓. อวิคตปัจจัย 1432/184

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 184

สุทธมูลกนัย 1433/184

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย 1434/185

๒. นอารัมมณปัจจัย 1437/187

๓. นอธิปติปัจจัย 1438/188

๔. นอนันตรปัจจัยฯลฯ ๑๐. นอาเสวนปัจจัย 1439/189

๑๑. นกัมมปัจจัย 1440/189

๑๒. นวิปากปัจจัย 1442/190

๑๓. นอาหารปัจจัย 1443/191

๑๔. นอินทริยปัจจัย 1444/191

๑๕. นฌานปัจจัย 1446/192

๑๖. นมัคคปัจจัย 1447/192

๑๗. นสัมปยุตตปัจจัย 1448/192

๑๘. นวิปปยุตตปัจจัย 1449/193

๑๙. โนนัตถิปัจจัย ๒๐. โนวิคตปัจจัย 1450/193

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 194

อนุโลมปัจจนียนัย 1452/194

ปัจจนียานุโลมนัย 1453/195

สหชาตวาระ 1454/195

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย 1455/195

๒. อารัมมณปัจจัย 1456/197

๓. อธิปติปัจจัย 1458/199

๔. อนันตรปัจจัย 1459/200

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 1460/200

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย 1462/201

๒. นอารัมมณปัจจัย - ๓. นอธิปติปัจจัย 1463/203

๑๑. นกัมมปัจจัย 1466/205

๑๒. นวิปากปัจจัย 1467/206

๑๓. นอาหารปัจจัยฯลฯ ๒๐. โนวิคตปัจจัย 1468/207

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 1469/208

การนับจานวนวาระในอน ํ ุโลมปัจจนียะ 208

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 208

นิสสยวาระ 2470/209

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย

เหตุปัจจัย 210

อุปาทินนุปาทานิยธรรม 1471/210

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 211

สุทธมูลกนัย 1472/211

ปัจจนียนัย 1473/211

การนับจํานวนในปัจจนียะ 212

อุนุโลมปัจจนียนัย

ปัจจนียานุโลมนัย 212

สัมปยุตตวาระ 1475/212

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย 1476/213

๒. อารัมมณปัจจัย 1483/215

๓. อธิปติปัจจัย 1489/219

๔. อนันตรปัจจัย 1493/221

๕. สมนันตรปัจจยั 224

๖. สหชาตปัจจัย 1500/224

๗. อัญญมัญญปัจจัย 1509/227

๘. นิสสยปัจจัย 1512/228

๙. อุปนิสสยปัจจัย 1520/231

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย 1529/236

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย 1536/240

๑๒. อาเสวนปัจจัย 1545/243

๑๓. กัมมปัจจัย 1547/243

๑๔. วิปากปัจจัย 1554/246

๑๕. อาหารปัจจัย 1560/247

๑๖. อินทริยปัจจัย 1572/251

๑๗. ฌานปัจจัย 1579/253

๑๘. มัคคปัจจัย 1586/255

๑๙. สัมปยุตตปัจจัย 1593/257

๒๐. วิปปยุตตปัจจัย 1596/258

๒๑. อัตถิปัจจัย 1606/262

๒๒. อัตถิปัจจัย ฯลฯ - ๒๔. อวิคตปัจจัย 1629/276

การนับจํานวนวาระในอนุโลม สุทธมูลกนัย 1630/276

ปัจจนียนัย

การยกปัจจัยในปัจจนียะ 1632/277

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ สุทธมูลกนัย 1656/282

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับวาระในอนุโลมปัจจนียะ 1658/283

ปัจจนียานุโลม

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 1659/283

อรรถกถาแห่งอุปาทินนติกปัฏฐาน 284


อ่านหัวข้ออื่นๆ ... [เล่มที่ 86]


  ข้อความที่ 1  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 177

๔. อุปาทินนติกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๑๔๑๘] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น. ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น.

มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรมเกิด ขึ้น ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น. กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น.

๒. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรมเกิดขึ้น.

๓. อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

 
  ข้อความที่ 2  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 178

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.

[๑๔๑๙] ๔. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.

มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น.

[๑๔๒๐] ๕. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.

๖. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น.

๗. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

 
  ข้อความที่ 3  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 179

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.

[๑๔๒๑] ๘. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนอนุ- ปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุ ปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม และมหาภูตรูป เกิดขึ้น.

[๑๔๒๒] ๙. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรมและ มหาภูตรูป เกิดขึ้น.

๒. อารัมมณปัจจัย

[๑๔๒๓] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. อาศัยอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น.

 
  ข้อความที่ 4  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 180

๓. อาศัยอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น. เพราะอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ.

๓. อธิปติปัจจัย

[๑๔๒๔] ๑. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น.

ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัย มหาภูตรูป เกิดขึ้น.

๒. อาศัยอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม มี ๓ วาระ.

๕. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย

คือจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม และมหาภูตรูป เกิดขึ้น.

๔. อนันตรปัจจัย ฯลฯ ๖. สหชาตปัจจัย

[๑๔๒๕] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะอนันตรปัจจัย ฯลฯ เพราะสมนันตรปัจจัย ฯลฯ เพราะสหชาตปัจจัย

 
  ข้อความที่ 5  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 181

คือ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น. กฏัตตารูป ที่เป็น อุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย เกิดขึ้น.

สำหรับพวกอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น.

อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น มี ๓ วาระ.

๔. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย เกิดขึ้น, พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

๕. อาศัยอนุปาทินนุปาทานิยธรรมเกิดขึ้น มี ๓ วาระ.

๘. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนุปาทานิยธรรมและอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น.

๙. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรมและอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น.

๗. อัญญมัญญปัจจัย

[๑๔๒๖] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย

 
  ข้อความที่ 6  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 182

คือ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ ใน ปฏิสนธิขณะ. ขันธ์ ๓ และหทยวัตถุ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น.

อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น.

สำหรับอสัญญสัตว์ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ เกิดขึ้น.

๒. อาศัยอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น

คือ พาหิรรูป ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ

๓. อาศัยอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น.

๘. นิสสยปัจจัย ๙. อุปนิสสยปัจจัย

[๑๔๒๗] ฯลฯ อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม ฯลฯ เกิดขึ้น เพราะนิสสยปัจจัย. มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เพราะอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย

[๑๔๒๘] อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะปุเรชาตปัจจัย. มี ๓ วาระ

๑๑. อาเสวนปัจจัย

[๑๔๒๙] ๑. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะอาเสวนปัจจัย

 
  ข้อความที่ 7  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 183

คือ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น.

๒. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะอาเสวนปัจจัย

คือ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น.

๑๒. กัมมปัจจัย

[๑๔๓๐] อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะกัมมปัจจัย. มี ๙ วาระ เหมือนเหตุปัจจัย.

๑๓. วิปากปัจจัย

[๑๔๓๑] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ.

๔. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปากปัจจัย

คือ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น.

๕. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปากปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิด ขึ้น มี ๙ วาระ.

 
  ข้อความที่ 8  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 184

๑๔. อาหารปัจจัย ฯลฯ ๒๓. อวิคตปัจจัย

[๑๔๓๒] อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะอาหารปัจจัย ฯลฯ เพราะอินทริยปัจจัย เพราะ ฌานปัจจัย เพราะมัคคปัจจัย เพราะสัมปยุตปัจจัย เพราะวิปปยุตตปัจจัย เพราะอัตถิปัจจัย เพราะนัตถิปัจจัย เพราะวิคตปัจจัย เพราะอวิคตปัจจัย.

พึงนับให้พิสดารเหมือนปฏิจจวาระ แห่งกุสลติกะ ที่ให้พิสดารแล้ว โดยวิธีสาธยาย

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

สุทธมูลกนัย

[๑๔๓๓] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๙ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๙ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๙ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

เพราะเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ... ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

 
  ข้อความที่ 9  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 185

พึงนับเหมือนการนับในปฏิจจวาระในกุสลติกะ ที่นับไว้แล้วโดยวิธี สาธยาย.

อนุโลม จบ

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๑๔๓๔] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น อุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น. หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น. ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น.

มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ กฏัตตารูป ที่เป็น อุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น.

สำหรับพวกอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น.

๒. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

 
  ข้อความที่ 10  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 186

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรมซึ่ง เป็นอเหตุกะ เกิดขึ้น.

๓. อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัย ขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.

[๑๔๓๕] ๔. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนุปาทา นิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น. ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น.

พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ อาศัยมหาภูต รูป ๑ ฯลฯ อุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป.

โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ที่สหรคต ด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ เกิดขึ้น.

[๑๔๓๖] ๕. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทา นิยธรรมและอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเป็น อเหตุกะและมหาภูตรูป เกิดขึ้น.

 
  ข้อความที่ 11  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 187

๒. นอารัมมณปัจจัย

[๑๔๓๗] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น. หทยวัตถุอาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น. มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

สำหรับพวกอสัญญสัตว์ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

๒. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิด ขึ้น.

๓. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิด ขึ้น ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

๔. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น.

 
  ข้อความที่ 12  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 188

๕. อนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม และมหาภูตรูป เกิดขึ้น.

๖. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรมและ มหาภูตรูป เกิดขึ้น.

๓. นอธิปติปัจจัย

[๑๔๓๘] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย

พึงกระทำปฏิสนธิให้บริบูรณ์. มี ๓ วาระ.

๔. ฯลฯ อาศัยธรรมที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น มี ๑ วาระ.

๕. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย

คือ อธิปติธรรมที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็น อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น.

 
  ข้อความที่ 13  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 189

๖. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรมเกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรมและ มหาภูตรูปเกิดขึ้น.

๔. นอนันตรปัจจัย ฯลฯ ๑๐. นอาเสวนปัจจัย

[๑๔๓๙] อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนอนันตรปัจจัย ฯลฯ เพราะนสมนันตรปัจจัย เพราะนอัญญมัญญปัจจัย เพราะนอุปนิสสยปัจจัย เพราะนปุเรชาตปัจจัย เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย เพราะนอาเสวนปัจจัย

อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนอาเสวนปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรมซึ่งเป็น วิบาก เกิดขึ้น ฯลฯ

๑๑. นกัมมปัจจัย

[๑๔๔๐] ๑. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น.

พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ อาศัยมหาภูต รูป ๑ ฯลฯ

 
  ข้อความที่ 14  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 190

[๑๔๔๑] ๒. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย

คือ เจตนาทีเป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ซึ่งเป็นกุศล เกิดขึ้น.

๑๒. นวิปากปัจจัย

[๑๔๔๒] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทา นิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปากปัจจัย

คือ สำหรับพวกอสัญญสัตว์ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๒. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปากปัจจัย

มี ๑ วาระ.

๓. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนุปาทานิยธรรมเกิดขึ้น เพราะนวิปากปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรมซึ่งเป็น กุศล เกิดขึ้น.

มี ๓ วาระ.

๖. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะ นวิปากปัจจัย

 
  ข้อความที่ 15  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 191

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ซึ่งเป็นกุศล และมหาภูตรูป เกิดขึ้น.

๑๓. นอาหารปัจจัย

[๑๔๔๓] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนอาหารปัจจัย

สำหรับพวกอสัญญสัตว์ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

๒. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

พาหิรรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

๑๔. นอินทริยปัจจัย

[๑๔๔๔] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนอินทริยปัจจัย

สำหรับพวกอสัญญสัตว์ รูปชีวิตินทรีย์ อาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น.

[๑๔๔๕] ๒. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนอินทริยปัจจัย

พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ อาศัยมหาภูต รูป ๑ ฯลฯ

 
  ข้อความที่ 16  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 192

๑๕. นฌานปัจจัย

[๑๔๔๖] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนฌานปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยปัญจวิญญาณ ฯลฯ

สำหรับพวกอสัญญสัตว์ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

๒. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนฌานปัจจัย

พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ อาศัยมหาภูต. รูป ๑ ฯลฯ

๑๖. นมัคคปัจจัย

[๑๔๔๗] อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนมัคคปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเป็น อเหตุกะ เกิดขึ้น ฯลฯ

มี ๕ วาระ.

๑๗. นสัมปยุตตปัจจัย

[๑๔๔๘] อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนสัมปยุตตปัจจัย

เหมือนกับนอารัมมณปัจจัย. (คือ มี ๖ วาระ)

 
  ข้อความที่ 17  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 193

๑๘. นวิปปยุตตปัจจัย

[๑๔๔๙] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ

สำหรับพวกอสัญญสัตว์ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

๒. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนุปาทานิยธรรมเกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ.

พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ อาศัยมหาภูต รูป ๑ ฯลฯ

๓. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.

๑๙. โนนัตถิปัจจัย ๒๐. โนวิคตปัจจัย

[๑๔๕๐] อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะโนนัตถิปัจจัย ฯลฯ เพราะในวิคตปัจจัย

พึงนับเหมือนปัจจนียะ ในกุสลติกะ ที่ให้พิสดารไว้แล้ว.

 
  ข้อความที่ 18  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 194

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

ในนเหตุปัจจัยมี ๕ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๖ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๖ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๖ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๖ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๖ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๖ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๒ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๒ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๕ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๖ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๖ วาระ.

เพราะนเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัยมี ๘ วาระ ฯลฯ ในโนวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ.

พึงนับจำนวนวาระเหมือนในกุสลติกะ.

ปัจจนียนัย จบ

อนุโลมปัจจนียนัย

[๑๔๕๒] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๖ วาระ ฯลฯ ในโนวิคตปัจจัย มี ๖ วาระ.

พึงนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ เหมือนในกุสลติกะ.

อนุโลมปัจจนียนัย จบ

 
  ข้อความที่ 19  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 195

ปัจจนียานุโลมนัย

[๑๔๕๓] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.

พึงนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม เหมือนในกุสลติกะ.

ปัจจนียานุโลม จบ

ปฏิจจวาระ จบ

สหชาติวาระ

[๑๔๕๔] อุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดร่วมกับอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

ปฏิจจวาระก็ดี สหชาตวาระก็ดี เหมือนกัน.

สหชาตวาระ จบ

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๑๔๕๕] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ทั้งหลายอาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น.

 
  ข้อความที่ 20  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 196

มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูปอาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น. ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น.

๒. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรมเกิดขึ้น ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น.

๓. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น.

๔. อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น.

๕. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

มี ๑ วาระ

๖. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนอนุปานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

มี ๓ วาระ.

 
  ข้อความที่ 21  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 197

๙. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรมเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม และหทยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุเกิดขึ้น.

๑๐. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม และมหาภูตรูป เกิดขึ้น.

๑๑. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และมหาภูตรูป เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม และหทยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุเกิดขึ้น.

๒. อารัมมณปัจจัย

[๑๔๕๖] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.

 
  ข้อความที่ 22  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 198

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.

ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น.

จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ เกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณอาศัย กายายตนะเกิดขึ้น.

ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น.

๒. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น.

๓. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุ- ปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น.

๔. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.

๕. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทนนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิด ขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.

 
  ข้อความที่ 23  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 199

[๑๔๕๗] ๖. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม และ หทยวัตถุ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เกิดขึ้น.

๗. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม และหทยวัตถุ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เกิดขึ้น.

๓. อธิปติปัจจัย

[๑๔๕๘] ๑. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย

คือ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัย หทยวัตถุ เกิดขึ้น.

๒. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย

คือ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น.

๓. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย

มี ๑ วาระ.

 
  ข้อความที่ 24  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 200

๔. ฯลฯ อาศัยอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น

มี ๓ วาระ.

๗. ฯลฯ อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย

๘. ฯลฯ อาศัยอนุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย

๙. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรมและอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม และหทยวัตถุ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เกิดขึ้น.

๔. อนันตรปัจจัย

[๑๔๕๙] อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะอนันตรปัจจัย

ปัจจัย ๒๔ พึงให้พิสดาร.

ฯลฯ เพราะอวิคตปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๑๔๖๐] ในเหตุปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๗ วาระ ในนิสสย-

 
  ข้อความที่ 25  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 201

ปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๖ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑๑ วาระ.

[๑๔๖๑] เพราะเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๑๑ วาระ. พึงนับจำนวนวาระเหมือนในกุสลติกะ.

อนุโลม จบ

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๑๔๖๒] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ เกิดขึ้น.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

สำหรับพวกอสัญญสัตว์ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ เกิดขึ้น.

จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ เกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัย กายายตนะเกิดขึ้น.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ อาศัย หทยวัตถุเกิดขึ้น.

 
  ข้อความที่ 26  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 202

๒. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทา นิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ เกิดขึ้น, ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรมซึ่งเป็นอเหตุกะ อาศัย หทยวัตถุ เกิดขึ้น. โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น.

๓. อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ เกิดขึ้น.

๔. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนุ- ปาทานิยธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ เกิดขึ้น ฯลฯ

พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ อาศัยมหาภูตรูป ๓ ฯลฯ อุปาทารูปอาศัยมหาภูตรูป.

โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ เกิดขึ้น.

๕. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 27  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 203

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ และมหาภูตรูป เกิดขึ้น, ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ และหทยวัตถุ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัย ขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เกิดขึ้น.

โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และหทยวัตถุ เกิดขึ้น.

๒. นอารัมมณปัจจัย ๓.นอธิปติปัจจัย

[๑๔๖๓] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย ฯลฯ

คือ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ

๒. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น, ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น.

๓. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย

คือ อธิปติธรรมที่เป็นอนุปาทาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น.

๔. อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย

 
  ข้อความที่ 28  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 204

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ

๕. ฯลฯ อาศัยอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น มี ๑ วาระ.

๖. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย

คือ อธิปติธรรมที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็น อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น.

[๑๔๖๔] ๗. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย

คือ อธิปติธรรมที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม และหทยวัตถุ เกิดขึ้น.

๘. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และมหาภูตรูป เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม และหทยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เกิดขึ้น.

[๑๔๖๕] อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนอนันตรปัจจัย ... เพราะนสมนันตรปัจจัย เพราะนอัญญมัญญปัจจัย เพราะนอุปนิสสยปัจจัย เพราะนปุเรชาต-

 
  ข้อความที่ 29  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 205

ปัจจัย เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย เพราะนอาเสวนปัจจัย๑.

๑๑. นกัมมปัจจัย

[๑๔๖๖] ๑. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น.

๒. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ซึ่งเป็นกุศล อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น.

๓. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น. พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น.

๔. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็น อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ซึ่งเป็นกุศล เกิดขึ้น.


๑. ดูจำนวนการนับวาระ ในข้อ ๑๔๖๙

 
  ข้อความที่ 30  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 206

๕. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย

คือ เจตนาซึ่งเป็นกุศลที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ซึ่งเป็นกุศลและหทยวัตถุเกิดขึ้น.

๖. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม และหทยวัตถุ เกิดขึ้น.

๑๒. นวิปากปัจจัย

[๑๔๖๗] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปากปัจจัย

สำหรับพวกอสัญญสัตว์ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น.

๒. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทา นิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปากปัจจัย

คือ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น.

๓. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปากปัจจัย

คือ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ซึ่งเป็นกุศล อาศัย หทยวัตถุเกิดขึ้น.

 
  ข้อความที่ 31  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 207

๔. ฯลฯ อาศัยอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ฯลฯ เกิดขึ้น

มี ๑ วาระ.

๕. ฯลฯ อาศัยอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ฯลฯ เกิดขึ้น

มี ๓ วาระ.

๘. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะ นวิปากปัจจัย ฯลฯ

๙. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปากปัจจัย ฯลฯ

๑๐. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปากปัจจัย ฯลฯ

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม และหทยวัตถุ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เกิดขึ้น.

๑๓. นอาหารปัจจัย ฯลฯ ๒๐. โนวิคตปัจจัย

[๑๔๖๘] อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนอาหารปัจจัย ... เพราะนอินทริยปัจจัย เพราะนฌานปัจจัย เพราะนมัคคปัจจัย เพราะนสัมปยุตตปัจจัย เพราะ นวิปปยุตตปัจจัย เพราะโนนัตถิปัจจัย เพราะโนวิคตปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 32  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 208

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

สุทธมูลกนัย

[๑๔๖๙] ในนเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๖ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๘ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๖ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๖ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๖ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๖ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๒ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๒ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๕ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๖ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๖ วาระ. พึงนับโดยพิสดาร.

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๖ วาระ ฯลฯ ในโนวิคตปัจจัย มี ๖ วาระ. พึงนับโดยพิสดาร.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ ฯลฯ ในอวิคต ปัจจัย มี ๕ วาระ.

ปัจจยวาระ จบ

 
  ข้อความที่ 33  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 209

นิสสยวาระ

[๑๔๗๐] อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๓ ฯลฯ

ปัจจัยวาระก็ดี นิสสยวาระก็ดี เหมือนกัน.

นิสสยวาระ จบ

 
  ข้อความที่ 34  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 210

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย

เหตุปัจจัย

[๑๔๗๑] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เจือกับอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น, ขันธ์ ๑ เจือกับขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ เจือกับขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ เจือกับ ขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.

๒. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เจือกับอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ เจือกับขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.

๓. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรมเจือกับอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ เจือกับขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.

 
  ข้อความที่ 35  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 211

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

สุทธมูลกนัย

[๑๔๗๒] ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ. ในกุสลติกะนับอย่างไร พึงนับอย่างนั้น.

อนุโลม จบ

ปัจจนียนัย

[๑๔๗๓] อุปาทินนุปาทานิยธรรม เจือกับอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทานิยธรรมซึ่งเป็นอเหตุกะ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ เจือกับขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.

ในอเหตุกะ ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เจือกับอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ เจือกับขันธ์ ๒ เกิดขึ้น. โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ เจือกับขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคต ด้วยอุทธัจจะ ฯลฯ

 
  ข้อความที่ 36  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 212

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

ในนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ

ปัจจนียนัย จบ

อนุโลมปัจจนียนัย

[๑๔๗๔] เพราะเหตุปัจจัย ในนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ.

ปัจจนียานุโลมนัย

เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ ... ในอวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.

สังสัฏฐวาระ จบ

สัมปยุตตวาระ

[๑๔๗๕] อุปาทินนุปาทานิยธรรม สัมปยุตกับอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย.

ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ... ฯลฯ ... ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

สังสัฏฐวาระก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี เหมือนกัน.

สัมปยุตตวาระ จบ

 
  ข้อความที่ 37  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 213

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๑๔๗๖] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ เหตุที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูป ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

[๑๔๗๗] ๒. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

[๑๔๗๘] ๓. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 38  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 214

[๑๔๗๙] ๔. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

[๑๔๘๐] ๕. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

[๑๔๘๑] ๖. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

[๑๔๘๒] ๗. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 39  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 215

๒. อารัมมณปัจจัย

[๑๔๘๓] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ พระเสกขะหรือปุถุชน พิจารณาเห็นจักษุโดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุนั้น ราคะย่อมเกิดขึ้น โทมนัสย่อมเกิดขึ้น เมื่อกุศลและอกุศลดับไปแล้ว ตทารัมมณจิตอันเป็นวิบาก ย่อมเกิดขึ้น.

พระเสกขะหรือปุถุชน พิจารณาเห็นโสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และหทยวัตถุ และขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยะ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภโสตะเป็นต้นนั้น ราคะย่อมเกิดขึ้น โทมนัสย่อมเกิดขึ้น เมื่อกุศลและอกุศลดับไปแล้ว ตทารัมมณจิต อันเป็นวิบาก ย่อมเกิดขึ้น.

รูปายตนะที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ คันธายตนะ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ฯลฯ รสายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

[๑๔๘๔] ๒. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุนั้น ราคะย่อมเกิดขึ้น โทมนัสย่อมเกิดขึ้น.

 
  ข้อความที่ 40  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 216

บุคคลพิจารณาเห็นโสตะ ฆานะ ชิวหา กาย รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และหทยวัตุถุ และขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภโสตะเป็นต้นนั้น ราคะย่อมเกิดขึ้น โทมนัสย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยทิพยจักษุ, รู้จิตของ บุคคลผู้มีความพร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.

ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

[๑๔๘๕] ๓. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล ทำอุโบสถกรรม แล้วพิจารณากุศล นั้น, พิจารณากุศลที่สั่งสมดีแล้วในกาลก่อน, ออกจากฌานแล้วพิจารณาฌาน.

พระอริยะทั้งหลายพิจารณาโคตรภู, พิจารณาโวทาน, พิจารณากิเลส ที่ละแล้ว, พิจารณากิเลสที่ข่มแล้ว, รู้กิเลสที่เคยเกิดแล้วในกาลก่อน, พิจารณา เห็นรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทินนุปานิยธรรม และ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์

 
  ข้อความที่ 41  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 217

เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภรูปเป็นต้นนั้น ราคะย่อมเกิดขึ้น โทมนัสย่อมเกิดขึ้น.

เห็นรูปที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยทิพยจักษุ, ฟังเสียงด้วย ทิพโสตธาตุ รู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.

อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ ด้วยอำนาจของ อารัมมณปัจจัย.

อากิญจัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ ด้วยอำนาจ ของอารัมมณปัจจัย.

ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

[๑๔๘๖] ๔. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ พระเสกขะหรือปุถุชน พิจารณาเห็นรูปที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ... เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม และขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภรูปเป็นต้นนั้น ราคะย่อมเกิดขึ้น โทมนัสย่อมเกิดขึ้น เมื่อกุศลและอกุศลดับไปแล้ว ตทารัมมณจิตอันเป็นวิบากย่อมเกิดขึ้น.

 
  ข้อความที่ 42  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 218

อากาสานัญจายตนกุศล เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนวิบาก ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

อากิญจัญญายตนกุศล เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนวิบาก ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

รูปายตนะที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

[๑๔๘๗] ๕. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ นิพพาน เป็นปัจจัยแก่มรรค แก่ผล ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

[๑๔๘๘] ๖. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ พระอริยะทั้งหลาย ออกจากมรรค แล้วพิจารณามรรค, พิจารณาผล, พิจารณานิพพาน, นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

พระอริยะทั้งหลาย รู้จิตของบุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยจิตที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.

ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 43  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 219

๓. อธิปติปัจจัย

[๑๔๘๙] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะการทำจักษุให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำจักษุให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิย่อมเกิดขึ้น. บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำ โสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ หทยวัตถุ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำโสตะเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิย่อมเกิดขึ้น.

๒. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรม แล้วกระทำกุศล นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา.

กระทำกุศลที่สั่งสมไว้ดีแล้วในกาลก่อน ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา.

ออกจากฌาน กระทำฌานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้วพิจารณา.

 
  ข้อความที่ 44  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 220

พระเสกขะทั้งหลายกระทำโคตรภู ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา กระทำโวทานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้วพิจารณา.

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม และขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ครั้นกระทำรูปเป็นต้นนั้นให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นอนุปาทินนุปานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตสมุฏฐานรูปด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

[๑๔๙๐] ๓. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่มรรค, แก่ผล ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

[๑๔๙๑] ๔. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

 
  ข้อความที่ 45  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 221

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา, กระทำผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา, กระทำนิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา.

นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่โวทาน ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

[๑๔๙๒] ๕. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วย อำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

๔. อนันตรปัจจัย

[๑๔๙๓] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 46  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 222

ปัญจวิญญาณเป็นปัจจัยแก่มโนธาตุ ที่เป็นวิบาก ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

มโนธาตุที่เป็นวิบากเป็นปัจจัยแก่มโนวิญญาณธาตุ ที่เป็นวิบาก ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

[๑๔๙๔] ๒. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ภวังคจิต เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนจิต. มโนวิญญาณธาตุที่เป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่มโนวิญญาณธาตุที่เป็นกิริยา ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

[๑๔๙๕] ๓. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของ อนันตรปัจจัย.

อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู.

อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทาน.

อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 47  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 223

[๑๔๙๖] ๔. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ปัญจวิญญาณ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วย อำนาจของอนันตรปัจจัย.

[๑๔๙๗] ๕. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรค

โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรค

อนุโลมเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ

เนวสัญญานาสัญญายตนะของผู้ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

[๑๔๙๘] ๖. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย มรรคเป็นปัจจัยแก่ผล ผลเป็นปัจจัยแก่ผล ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 48  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 224

[๑๔๙๙] ๗. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ผล เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๕. สมนันตรปัจจัย

๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย

เหมือนอนันตรปัจจัย.

๖. สหชาตปัจจัย

[๑๕๐๐] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัย แก่ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป.

ขันธ์ทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุหทยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย.

มหาภูตรูป ๑ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๓, มหาภูตรูป ๓ เป็นปัจจัยแก่ มหาภูตรูป ๑, มหาภูตรูป ๒ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๒, มหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.

สำหรับพวกอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

 
  ข้อความที่ 49  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 225

[๑๕๐๑] ๒. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย

คือ ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.

[๑๕๐๒] ๓. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย

คือ ขันธ์ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และ จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.

[๑๕๐๓] ๔. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.

มหาภูตรูป ๑ ที่เป็นอนุปาทาทินนุปาทานิยธรรม ฯลฯ มหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ฯลฯ

พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ มหาภูต รูป ๑ ฯลฯ มหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่อุปาทายรูป ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 50  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 226

[๑๕๐๔] ๕. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.

[๑๕๐๕] ๖. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย

คือ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏ- ฐานรูป ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.

[๑๕๐๖] ๗. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ อนุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วย อำนาจของสหชาตปัจจัย

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัย แก่ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.

[๑๕๐๗] ๘. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุ- ปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจ. ของสหชาตปัจจัย

คือ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม และมหาภูตรูป เป็น ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 51  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 227

[๑๕๐๘] ๙. อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย

คือ ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และมหาภูตรูป เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.

๗. อัญญมัญญปัจจัย

[๑๕๐๙] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และหทยวัตถุ ฯลฯ.

ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ, หทยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย.

มหาภูตรูป ๑ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๓ ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๒.

สำหรับพวกอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ.

[๑๕๑๐] ๒. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย

 
  ข้อความที่ 52  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 228

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย.

มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

[๑๕๑๑] ๓. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒.

๘. นิสสยปัจจัย

[๑๕๑๒] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย ฯลฯ.

ในปฏิสนธิขณะ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ.

สำหรับอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ.

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัย แก่กายวิญญาณ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย.

[๑๕๑๓] ๒. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย

 
  ข้อความที่ 53  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 229

คือ ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย. หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย.

[๑๕๑๔] ๓. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย

คือ หทยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย.

[๑๕๑๕] ๔. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และ จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย.

[๑๕๑๖] ๕. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม มี ๑ วาระ.

อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม มี ๓ วาระ (วาระที่ ๖ - ๗ - ๘).

 
  ข้อความที่ 54  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 230

[๑๕๑๗] ๙. อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจ ของนิสสยปัจจัย

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม และหทยวัตถุ เป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย.

[๑๕๑๘] ๑๐. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย

คือ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม และมหาภูตรูป เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย.

[๑๕๑๙] ๑๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย

คือ ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และมหาภูตรูป เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย.

ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรมและหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 55  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 231

๙. อุปนิสสยปัจจัย

[๑๕๒๐] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

สุขทางกาย เป็นปัจจัย แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย.

ทุกข์ทางกาย เป็นปัจจัย แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย.

อุตุ เป็นปัจจัย แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย, โภชนะ เป็นปัจจัย แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย, สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย อุตุ โภชนะ เป็น ปัจจัยแก่สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[๑๕๒๑] ๒. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยสุขทางกาย ให้ทาน สมาทานศีล ทำอุโบสถกรรม ยังฌานให้เกิด ยังวิปัสสนาให้เกิด ยังอภิญญาให้เกิด ยังสมาบัติให้เกิด ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

เข้าไปอาศัยทุกข์ทางกาย อุตุ โภชนะ ให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

 
  ข้อความที่ 56  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 232

สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย อุตุ โภชนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม แก่ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา ราคะ โทสะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ ความปรารถนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[๑๕๒๒] ๓. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยสุขทางกาย ยังมรรคให้เกิด เข้าผลสมาบัติ.

บุคคลอาศัยทุกข์ทางกาย อุตุ โภชนะ ยังมรรคให้เกิด เข้าผลสมาบัติ.

สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย อุตุ โภชนะ เป็นปัจจัยแก่มรรค แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[๑๕๒๓] ๔. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็นอารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ให้ทาน สมาทานศีล ทำอุโบสถกรรม ยังฌานให้เกิด ยัง วิปัสสนาให้เกิด ยังอภิญญาให้เกิด ยังสมาบัติให้เกิด ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลาย สงฆ์ ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.

 
  ข้อความที่ 57  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 233

บุคคลอาศัยศีลที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม สุตะ จาคะ ปัญญา ราคะ โทสะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ ความปรารถนา อุตุ โภชนะ เสนาสนะ แล้วให้ทาน ยังสมาบัติให้เกิด ฆ่าสัตว์ ทำลายสงฆ์ ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.

ศรัทธาที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา ราคะ โทสะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ ความปรารถนา อุตุ โภชนะ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม แก่ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา ราคะ โทสะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ ความปรารถนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

บริกรรมแห่งปฐมฌาน เป็นปัจจัยแก่ปฐมฌาน ฯลฯ บริกรรมแห่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ.

ปฐมฌาน เป็นปัจจัยแก่ทุติยฌาน ฯลฯ อากิญจัญญายตนะ เป็นปัจจัย แก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ.

ปาณาติบาต เป็นปัจจัยแก่ปาณาติบาต ฯลฯ นิยตมิจฉาทิฏฐิ เป็นปัจจัยแก่นิยตมิจฉาทิฏฐิ.

[๑๕๒๔] ๕. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรมแล้ว ยังตนให้เดือดร้อน ให้เร่าร้อน เสวยทุกข์มีการแสวงหา เป็นมูล.

 
  ข้อความที่ 58  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 234

บุคคลอาศัยศีลที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ฯลฯ เสนาสนะ ยังตน ให้เดือดร้อน ให้เร่าร้อน เสวยทุกข์มีการแสวงหาเป็นมูล.

ศรัทธาที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

กุศลกรรมและอกุศลกรรม เป็นปัจจัยแก่วิบาก ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[๑๕๒๕] ๖. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บริกรรมแห่งปฐมมรรค เป็นปัจจัยแก่ปฐมมรรค ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

บริกรรมแห่งทุติยมรรค เป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค

บริกรรมแห่งตติยมรรค เป็นปัจจัยแก่ตติยมรรค

บริกรรมแห่งจตุตถมรรค เป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรค ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[๑๕๒๖] ๗. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

 
  ข้อความที่ 59  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 235

ปฐมมรรค เป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

ทุติยมรรค เป็นปัจจัยแก่ตติยมรรค

ตติยมรรค เป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรค.

มรรค เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[๑๕๒๗] ๘. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ผลสมาบัติ เป็นปัจจัยแก่สุขทางกาย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[๑๕๒๘] ๙. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

พระอริยะทั้งหลายอาศัยมรรค ยังสมาบัติที่ยังไม่เกิดให้เกิดขึ้น เข้า สมาบัติที่เกิดแล้ว พิจารณาสังขารโดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา.

มรรคเป็นปัจจัยแก่อัตถปฏิสัมภิทา ธรรมปฏิสัมภิทา นิรุตติปฏิสัมภิทา ปฏิภาณปฏิสัมภิทา ความฉลาดในฐานะและอฐานะ ของพระอริยะทั้งหลายด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 60  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 236

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย

[๑๕๒๙] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

พระเสกขะหรือปุถุชนพิจารณาเห็นจักษุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา. ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุนั้น ราคะย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสย่อมเกิดขึ้น เมื่อกุศลและอกุศลดับไปแล้ว ตทารัมมณจิตอันเป็นวิบากย่อมเกิดขึ้น.

พระเสกขะหรือปุถุชนพิจารณา โสตะ ฆานะ ชิวหา กายะที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และหทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภโสตะเป็นต้นนั้น ราคะย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสย่อมเกิดขึ้น เมื่อกุศลและอกุศลดับไปแล้ว ตทารัมมณจิตอันเป็นวิบากย่อมเกิดขึ้น

รูปายตนะที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ, คันธายตนะ ... รสายตนะ ... โผฏฐัพพายตนะ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

 
  ข้อความที่ 61  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 237

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

[๑๕๓๐] ๒. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

พระเสกขะหรือปุถุชนพิจารณาเห็นจักษุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุนั้น ราคะย่อมเกิดขึ้น โทมนัสย่อมเกิดขึ้น.

พระเสกขะหรือปุถุชน พิจารณาเห็นโสตะ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความ เป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภโสตะเป็นต้นนั้น ราคะย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสย่อมเกิดขึ้น.

พระเสกขะหรือปุถุชน เห็นรูปที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วย ทิพยจักษุ.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วย อำนาจของปุเรชาตปัจจัย

 
  ข้อความที่ 62  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 238

[๑๕๓๑] ๓. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มีอย่างเดียว คือ ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วย อำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

[๑๕๓๒] ๔. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มีอย่างเดียว คือ ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภรูปเป็นต้นนั้น ราคะย่อมเกิด ฯลฯ โทมนัสย่อมเกิดขึ้น.

เห็นรูปที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยทิพยจักษุ, ฟังเสียงด้วย ทิพโสตธาตุ.

[๑๕๓๓] ๕. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มีอย่างเดียว คือ ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นรูป เสียง กลิ่น รส โผฎฐัพพะ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อม

 
  ข้อความที่ 63  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 239

ยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภรูปเป็นต้นนั้น ราคะย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสย่อมเกิดขึ้น เมื่อกุศลและอกุศลดับไปแล้วตทารัมมณจิตอันเป็นวิบาก ย่อมเกิดขึ้น.

รูปายตนะที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

[๑๕๓๔] ๖. อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี อย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ รวมกับ วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

รูปายตนะ และจักขายตนะ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ

โผฏฐัพพายตนะ และกายายตนะ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

รูปายตนะ และหทยวัตถุที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ

โผฏฐัพพายตนะ และหทยวัตถุ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

 
  ข้อความที่ 64  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 240

[๑๕๓๕] ๗. อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของ ปุเรชาตปัจจัย

มีอย่างเดียว คือ ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ รวมกับ วัตถุปุเรชาตะ

คือ รูปายตนะ และหทยวัตถุที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ

โผฏฐัพพายตนะ และหทยวัตถุที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย

[๑๕๓๖] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย

คือ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่ กายนี้ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

[๑๕๓๗] ๒. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย

คือ ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 65  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 241

[๑๕๓๘] ๓. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรมและอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย

คือ ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรมที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

[๑๕๓๙] ๔. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย

คือ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

[๑๕๔๐] ๕. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย

คือ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

[๑๕๔๑] ๖. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย

 
  ข้อความที่ 66  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 242

คือ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรมและอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

[๑๕๔๒] ๗. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย

คือ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

[๑๕๔๓] ๘. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย

คือ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

[๑๕๔๔] ๙. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย

คือ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรมที่เกิดก่อนด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 67  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 243

๑๒. อาเสวนปัจจัย

[๑๕๔๕] ๑. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย

คือ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัย แก่ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรมที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย,

อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู

อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทาน ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.

[๑๕๔๖] ๒. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย

คือ โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค

โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.

๑๓. กัมมปัจจัย

[๑๕๔๗] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย,

ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูป ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย,

เจตนาเป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 68  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 244

[๑๕๒๘] ๒. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๓. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

[๑๕๔๙] ๔. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

[๑๕๕๐] ๕. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มีอย่างเดียว คือ นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเป็นวิบาก และกฏัตตารูป ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 69  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 245

[๑๕๕๑] ๖. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่ กุศลเจตนาที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ซึ่งเป็นวิบากด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

[๑๕๕๒] ๗. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

คือ เจตนาที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

[๑๕๕๓] ๘. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 70  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 246

๑๔. วิปากปัจจัย

[๑๕๕๔] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย.

ขันธ์ทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย.

[๑๕๕๕] ๒. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย

คือ ขันธ์ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย.

[๑๕๕๖] ๓. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 71  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 247

[๑๕๕๗] ๔. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ซึ่งเป็นวิบากเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย.

[๑๕๕๘] ๕. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย

คือ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็น ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย.

[๑๕๕๙] ๖. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย.

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย.

๑๕. อาหารปัจจัย

[๑๕๖๐] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย

 
  ข้อความที่ 72  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 248

คือ อาหารที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ อาหารที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูป ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

กวฬีการาหาร ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กาย ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

[๑๕๖๑] ๒. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย

คือ อาหารที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

กวฬีการาหาร ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กาย ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรมด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

[๑๕๖๒] ๓. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย

คือ อาหารที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

กวฬีการาหาร ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 73  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 249

[๑๕๖๓] ๘. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย

คือ อาหารที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

กวฬีการาหาร ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กาย ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

[๑๕๖๔] ๕. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย

คือ กวฬีการาหาร ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

[๑๕๖๕] ๖. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของ อาหารปัจจัย

คือ กวฬีการาหาร ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ กายที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย

[๑๕๖๖] ๗. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย

 
  ข้อความที่ 74  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 250

คือ อาหารที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

[๑๕๖๗] ๘. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย

คือ อาหารที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏ- ฐานรูป ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

[๑๕๖๘] ๙. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุ- ปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย

คือ อาหารที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

[๑๕๖๙] ๑๐. อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย

คือ กวฬีการาหาร ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 75  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 251

[๑๕๗๐] ๑๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย

คือ กวฬีการาหาร ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจ ของอาหารปัจจัย.

[๑๕๗๑] ๑๒. อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย

คือ กวฬีการาหาร ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

๑๖. อินทริยปัจจัย

[๑๕๗๒] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย

คือ อินทรีย์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ อินทรีย์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูป ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 76  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 252

จักขุนทรีย์ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายินทรีย์ เป็นปัจจัย แก่กายวิญญาณ.

รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

[๑๕๗๓] ๒. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย

คือ อินทรีย์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

[๑๕๗๔] ๓. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย

คือ อินทรีย์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

[๑๕๗๕] ๔. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย

คือ อินทรีย์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

[๑๕๗๖] ๕. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย

 
  ข้อความที่ 77  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 253

คือ อินทรีย์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

[๑๕๗๗] ๖. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย

คือ อินทรีย์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

[๑๕๗๘] ๗. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย

คือ อินทรีย์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

๑๗. ฌานปัจจัย

[๑๕๗๙] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย

คือ องค์ฌานที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ องค์ฌานที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูป ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 78  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 254

[๑๕๘๐] ๒. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย

คือ องค์ฌานที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย.

[๑๕๘๑] ๓. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย

คือ องค์ฌานที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย.

[๑๕๘๒] ๔. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย

คือ องค์ฌานที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย.

[๑๕๘๓] ๕. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย

คือ องค์ฌานที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 79  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 255

[๑๕๘๔] ๖. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย

คือ องค์ฌานที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย.

[๑๕๘๕] ๗. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย

คือ องค์ฌานที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย.

๑๘. มัคคปัจจัย

[๑๕๘๖] ๑. อุปาทินนุปาทาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย

คือ องค์มรรคที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย. ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

[๑๕๘๗] ๒. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย

คือ องค์มรรคที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 80  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 256

[๑๕๘๘] ๓. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย

คือ องค์มรรคที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย.

[๑๕๘๙] ๔. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย

คือ องค์มรรคที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย.

[๑๕๙๐] ๕. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย

คือ องค์มรรคที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย.

[๑๕๙๑] ๖. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย

คือ องค์มรรคที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 81  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 257

[๑๕๙๒] ๗. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย

คือ องค์มรรคที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย.

๑๙. สัมปยุตตปัจจัย

[๑๕๙๓] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

[๑๕๙๔] ๒. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒.

[๑๕๙๕] ๓. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒.

 
  ข้อความที่ 82  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 258

๒๐. วิปปยุตตปัจจัย

[๑๕๙๖] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุ- ปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรมที่เกิดพร้อม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

ขันธ์ทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะที่เกิดก่อน เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย ฯลฯ กายายตนะที่เกิดก่อน เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

[๑๕๙๗] ๒. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรมที่เกิดพร้อมเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 83  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 259

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่ หทยวัตถุที่เกิดก่อน เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

[๑๕๙๘] ๓. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยวิปปยุตตปัจจัย

มีอย่างเดียว

คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทยวัตถุที่เกิดก่อนเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

[๑๕๙๙] ๘. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

[๑๖๐๐] ๕. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

 
  ข้อความที่ 84  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 260

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรมที่เกิดพร้อม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเกิดก่อนด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

[๑๖๐๑] ๖. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

[๑๖๐๒] ๗. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

[๑๖๐๓] ๘. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

 
  ข้อความที่ 85  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 261

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

[๑๖๐๔] ๙. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรมที่เกิดพร้อม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเกิดก่อนด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

[๑๖๐๕] ๑๐. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของ วิปปยุตตปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรมที่เกิดภายหลังเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 86  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 262

๒๑. อัตถิปัจจัย

[๑๖๐๖] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และ อินทริยะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรมที่เกิดก่อน เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย. ขันธ์ทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ, หทยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย,

มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ มหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

สำหรับพวกอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ มหาภูตรูป เป็นปัจจัย แก่กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่ พระเสกขะหรือปุถุชน พิจารณาเห็นจักษุที่เกิดก่อน โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุนั้น ราคะ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น เมื่อกุศลและอกุศลดับไปแล้ว ตทารัมมณจิตอันเป็นวิบาก ย่อมเกิดขึ้น.

 
  ข้อความที่ 87  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 263

พระเสกขะหรือปุถุชน พิจารณาเห็นโสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และหทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลิน ยิ่ง เพราะปรารภโสตะเป็นต้นนั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น เมื่อกุศลและอกุศลดับไปแล้ว ตทารัมมณจิตอันเป็นวิบาก ย่อมเกิดขึ้น.

รูปายตนะ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ คันธายตนะ ฯลฯ รสายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ.

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ, หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรมที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

กวฬีการาหาร ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

[๑๖๐๗] ๒. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

 
  ข้อความที่ 88  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 264

มี ๔ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ และ อาหาระ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรมที่เกิดพร้อม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่พระเสกขะหรือปุถุชน พิจารณาเห็นจักษุที่เกิดก่อน โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุนั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

พระเสกขะ หรือปุถุชน พิจารณาโสตะ ฆานะ ฯลฯ ชิวหา ฯลฯ กายะ ฯลฯ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม รูป กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และหทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภโสตะเป็นต้นนั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

เห็นรูปที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยทิพยจักษุ, หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรมที่เกิดก่อน เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเกิดก่อนด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

กวฬีการาหาร ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 89  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 265

[๑๖๐๘] ๓. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์

ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

[๑๖๐๙] ๔. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรมด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปัจฉาชาตะ และ อาหาระ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

กวฬีการาหาร ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

[๑๖๑๐] ๕. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๔ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ และ อาหาระ

 
  ข้อความที่ 90  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 266

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์๑ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

มหาภูตรูป ๑ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๓ ฯลฯ มหาภูตรูป เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอุปาทารูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลพิจารณาเห็นรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะที่เกิดก่อน ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภรูป เป็นต้นนั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

เห็นรูปที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรมด้วยทิพยจักษุ, ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่อนุปาทินนุปาทานิยธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเกิดก่อน ด้วย อำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น อาหาระ ได้แก่กวฬีกาาราหาร ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

[๑๖๑๑] ๖. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

 
  ข้อความที่ 91  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 267

มี ๓ อย่าง คือ ที่เป็น ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ และ อาหาระ

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่ บุกคลพิจารณาเห็นรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะที่เกิดก่อน ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภรูป เป็นต้นนั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น. เมื่อกุศลและอกุศลดับไปแล้ว ตทารัมมณจิตอันเป็นวิบาก ย่อมเกิดขึ้น.

รูปายตนะที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอุปาทินนุปานิยธรรม ซึ่งเกิดก่อนด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น อาหาระ ได้แก่กวฬีการาหาร ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

[๑๖๑๒] ๗. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือ ที่เป็น ปัจฉาชาตะ และ อาหาระ

 
  ข้อความที่ 92  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 268

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรมที่ เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น อาหาระ ได้แก่ กวฬีการาหาร ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

[๑๖๑๓] ๘. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ด้วยอำนาจของ อัตถิปัจจัย.

[๑๖๑๔] ๙. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มีอย่างเดียว

คือ ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ที่เกิดภายหลังเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรมซึ่งเกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

[๑๖๑๕] ๑๐. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

 
  ข้อความที่ 93  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 269

มี ๒ อย่าง คือ ที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ที่เกิดพร้อมเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรมที่เกิดภายหลังเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเกิดก่อนด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

[๑๖๑๖] ๑๑. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี อย่างเดียว คือ ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ที่เกิดพร้อมเป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๓ และแก่กายนี้ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรมซึ่งเกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และแก่กายนี้ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

[๑๖๑๗] ๑๒. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒อย่าง คือ ที่เป็น สหชาตะ และ สหชาตะ รวมกับ ปัจฉาชาตะ

 
  ข้อความที่ 94  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 270

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ที่เกิดพร้อมเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย. ขันธ์ ๓ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย, ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรมที่เกิดพร้อมเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และกายนี้ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเกิดก่อนด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๓ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ และกายนี้ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย, ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และกายนี้ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

[๑๖๑๘] ๑๓. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มีอย่างเดียว คือ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และ อนุปาทินนุปาทานิยธรรมนี้ ซึ่งเกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

[๑๖๑๙] ๑๔. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม อนุปาทินนุปาทานิยธรรมและอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

 
  ข้อความที่ 95  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 271

มีอย่างเดียว คือ สหชาตะ รวมกับ ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรมที่เกิดพร้อมเป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๓ และกายนี้ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๓ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ และกายนี้ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย, ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และกาย นี้ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเกิดก่อนด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

[๑๖๒๐] ๑๕. อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มีอย่างเดียว คือ ปัจฉาชาตะ รวมกับ อินทริยะ ได้แก่

ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรมที่เกิดภายหลัง และรูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

[๑๖๒๑] ๑๖. อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

 
  ข้อความที่ 96  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 272

มีอย่างเดียว คือ ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ที่เกิดพร้อม และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย, ขันธ์ ๓ และหทยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย, ขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

[๑๖๒๒] ๑๗. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มีอย่างเดียว คือ ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่

ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรมที่เกิดภายหลัง และกวฬีการาหาร ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

[๑๖๒๓] ๑๘. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือ ที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรมและ มหาภูตรูป เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 97  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 273

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ที่เกิดภายหลัง และกวฬีการาหาร ที่เป็นอนุปาทินนุปาทา นิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิ ปัจจัย.

[๑๖๒๔] ๑๙. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มีอย่างเดียว คือ ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ที่เกิดภายหลัง และกวฬีการาหาร ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

[๑๖๒๕] ๒๐. อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือ ที่เป็น ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และ ปัจฉาชาตะ รวมกับ อินทริยะ

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่ รูปายตนะ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม และจักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 98  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 274

ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม และกายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

รูปายตนะ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม และจักขุวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม และกายวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และกวฬีการาหาร ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย, กวฬีการาหารที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัย แก่กายที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อินทริยะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม และรูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป ด้วยอำนาจ ของอัตถิปัจจัย.

[๑๖๒๖] ๒๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๔ อย่าง คือที่เป็น สหชตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ และ อาหาระ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรมที่เกิดพร้อม และมหาภูตรูป เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 99  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 275

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่ รูปายตนะ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรมและหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอุปาทินทินนุปาทานิยธรรมที่เกิดภายหลัง และกวฬีการาหาร ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

กวฬีการาหาร ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรมเป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

[๑๖๒๗] ๒๒. อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มีอย่างเดียว คือ อาหาระ ได้แก่ กวฬีการาหาร ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กาย ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

[๑๖๒๘] ๒๓. อุปาทินนุปาทานิยธรรม อนุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

 
  ข้อความที่ 100  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 276

มีอย่างเดียว คือ ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และ อินทริยะ

ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรมที่เกิดภายหลัง และ กวฬิการาหาร ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม และรูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัย แก่กฏัตตารูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

๒๒. อัตถิปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย

[๑๖๒๙] อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของนัตถิปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของวิคตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

สุทธมูลกนัย

[๑๖๓๐] ในเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๖ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๘ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๖ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๑๒ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๗ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๗ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๗ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปปยุคตปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๒๓ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๒๓ วาระ.

 
  ข้อความที่ 101  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 277

[๑๖๓๑] เพราะเหตุปัจจัย ในอธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ ... ใน สหชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๖ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๗ วาระ ใน มัคคปัจจัย มี ๗ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๔ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในอวิคตปัจจัย ๗ วาระ.

การนับกุสลติกะ ได้นับแล้วโดยวิธีสาธยาย ฉันใด พึงนับฉันนั้น.

การนับวาระในอุปาทินนติกะลึกซึ้งและสุขุมกว่าการนับวาระในกุสลติกะ ผู้มีปัญญาพึงนับโดยทำอย่างนี้.

อนุโลม จบ

ปัจจนียนัย

การยกปัจจัยในปัจจนียะ

[๑๖๓๒] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

[๑๖๓๓] ๒. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วย

 
  ข้อความที่ 102  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 278

อำนาจของสหชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของ ปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

[๑๖๓๔] ๓. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วย อำนาจของปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ

[๑๖๓๕] ๔. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

[๑๖๓๖] ๕. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วย อำนาจของ สหชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของ ปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

[๑๖๓๗] ๖. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย

 
  ข้อความที่ 103  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 279

ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

[๑๖๓๘] ๗. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[๑๖๓๙] ๘. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

[๑๖๔๐] ๙. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย ฯลฯ เป็น ปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[๑๖๔๑] ๑๐. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ อุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ เป็น ปัจจัยด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

[๑๖๔๒] ๑๑. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 104  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 280

[๑๖๔๓] ๑๒. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปัจฉาชาตะ

[๑๖๔๔] อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปัจฉาตะ

[๑๖๔๕] อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย

[๑๖๔๖] อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม อนุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปัจฉาชาตะ

[๑๖๔๗] อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อินทริยะ

[๑๖๔๘] อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ

 
  ข้อความที่ 105  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 281

[๑๖๔๙] อนุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ

[๑๖๕๐] อนุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ

[๑๖๕๑] อนุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ

[๑๖๕๒] อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และรวมกับ อินทริยะ

[๑๖๕๓] อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม

มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ

[๑๖๕๔] อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม

 
  ข้อความที่ 106  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 282

มีอย่างเดียว คือ อาหาระ

[๑๖๕๕] อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม

มี ๑ อย่าง คือ ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ รวมกับ อินทริยะ

(คือปัจฉาชาตะ + อาหาระ + อินทริยะ)

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

สุทธมูลกนัย

[๑๖๕๖] ในนเหตุปัจจัย มี ๒๔ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๒๔ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๒๔ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๒๔ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๒๔ วาระ ในนสหชาตปัจจัย มี ๒๐ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๒๐ วาระ ในนนิสสยปัจจัย มี ๒๐ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๒๓ วาระ ใน นปุเรชาตปัจจัย มี ๒๓ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๒๔ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๒๔ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๒๔ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๒๐ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๒๒ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๒๔ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๒๔ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๒๐ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๑๔ วาระ ในโนอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๒๔ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๒๔ วาระ ในโนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

[๑๖๕๗] เพราะนเหตุปัจจัยในนอารัมมณปัจจัย มี ๒๔ วาระ ฯลฯ การนับปัจจนียะในกุสลติกะให้พิสดารแล้ว ฉันใด พึงให้พิสดารฉันนั้น.

ปัจจนียะ จบ

 
  ข้อความที่ 107  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 283

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๑๖๕๘] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ ... ในนอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอาเสวน ปัจจัย มี ๗ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๗ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๗ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๗ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๔ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.

ปัจจัย ๕ คือ เหตุ สหชาตะ นิสสยะ อัตถิ อวิคตปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ ... ในนอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ. การนับวาระในอนุโลมปัจจนียะ จำแนกไว้แล้วในกุสลติกะฉันใด พึง นับฉันนั้น.

อนุโลมปัจจนียะ จบ

ปัจจนียานุโลม

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๑๖๕๙] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๖ วาระ ... ใน อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ใน

 
  ข้อความที่ 108  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 284

นิสสยปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๒วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๘ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๖ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๑๒ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๗ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๗ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๗ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๒๓ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๒๓ วาระ.

ฯลฯ

การนับวาระในปัจจนียานุโลม จำแนกไว้แล้วในกุสลติกะ ฉันใด พึงนับฉันนั้น

อุปาทินนติกะ ที่ ๔ จบ

อรรถกถาพรรณนาเนื้อความแห่งอุปาทินนติกปัฏฐาน

ในปัญหาวาระแห่ง อุปาทินนุปาทานิยติกะ พระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสหมายถึงปวัตติกาลว่า วัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยะ โดยปุเรชาตปัจจัยเท่านั้น แต่ในปฏิสนธิกาล วัตถุนั้นหาเป็นปุเรชาตปัจจัยไม่. ในคำนี้ว่า กพฬีการาหารที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยะ เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยะ โดยอาหารปัจจัย ดังนี้ความว่า ชื่อว่ากพฬีการาหารที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยะ ได้แก่ โอชาที่อยู่ในภายในแห่งรูปที่มีกรรมเป็นสมุฏฐาน. สองบทว่า อุปาทินฺนุปาทานิยสฺส กายสฺส ความว่าเป็น ปัจจัยแก่กาย คือรูปที่มีกรรมเป็นสมุฏฐานนั่นเอง โดยอาหารปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 109  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 285

อาหารเป็นปัจจัย ด้วยอำนาจการเลี้ยงรักษาและค้ำจุนแก่กัมมชรูป เหมือนรูปชีวิตินทรีย์ ไม่ได้เป็นปัจจัยด้วยอำนาจการยังรูป ให้เกิดขึ้น.

ส่วนคำใดที่อาจารย์บางพวกกล่าวว่า โอชาในตัวกบเป็นต้นที่ยังเป็นอยู่เป็นปัจจัยโดยอาหารปัจจัยแก่ตัวงูที่กลืนกบเป็นต้นเข้าไป คำนั้นไม่พึงถือเอา เพราะว่า โอชาในตัวสัตว์ที่ยังเป็นอยู่ ย่อมไม่ให้สำเร็จความเป็นอาหารปัจจัยแก่ร่างกายของผู้อื่น. ก็ในคำนี้ว่า อนุปาทินฺนุปาทานิยสฺส กายสฺส ย่อมได้ความเป็นปัจจัยด้วยอำนาจการให้เกิดขึ้น. ในคำนี้ว่า อุปาทินฺนุปาทานิยสฺส จ อนุปาทินฺนุปาทานิยสฺส จ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสอาหารปัจจัยด้วยอำนาจเป็นธรรมค้ำจุนแก่กายอย่างหนึ่ง ด้วยอำนาจทำให้เกิดแก่กายอย่างหนึ่ง หรือด้วยอำนาจเป็นธรรมค้ำจุนเท่านั้น แก่กายที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยะ และที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยะ. ก็อาหาร ๒ เมื่อเป็นปัจจัยร่วมกัน ย่อมเป็นอุปัตถัมภกสัตติคือค้ำจุนเท่านั้น ไม่เป็นชนกสัตติคือทำให้เกิด. คำที่เหลือในอธิการนี้ ผู้ศึกษาพึงตรวจบาลีให้ดีแล้วทราบเถิด.

อรรถกถาพรรณนาเนื้อความแห่งอุปาทินนติกปัฏฐาน จบ