พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย

๗. ปีติติกะ - อนุโลมติกปัฏฐาน

 
บ้านธัมมะ
วันที่  22 ก.พ. 2565
หมายเลข  42204
อ่าน  446

[เล่มที่ 86] พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒

พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๗

ปัฏฐาน ภาคที่ ๒

อนุโลมติกปัฏฐาน

๗. ปีติติกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย 465/554

การนับจํานวนวาระในอนุโลมนัยแห่งปฏิจจวาระ สุทธมูลกนัย 470/558

ปัจจนียนัย

นเหตุปัจจัย 471/558

นฌานปัจจัย 476/562

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 478/562

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 479/563

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 480/563

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย 481/564

๒. อารัมมณปัจจัย 487/566

๓. อธิปติปัจจัย 496/573

๔. อนันตรปัจจัย 511/578

๕. สมนันตรปัจจัย 524/585

๖. สหชาตปัจจัย 525/586

๗. อัญญมัญญปัจจัย - ๘. นิสสยปัจจัย 526/586

๙. อุปนิสสยปัจจัย 527/586

๑๐. อาเสวนปัจจัย 543/598

๑๑. กัมมปัจจัย 549/600

๑๒. วิปากปัจจัย 555/604

๑๓. อาหารปัจจัย ฯลฯ - ๑๗. อัตถิปัจจัย 556/604

๑๘. นิตถิปัจจัย ๑๙. วิคตปัจจัยง 605

๒๐. อวิคตปัจจัย 605

การนับจํานวนวาระในอนุโลมแห่งปัญหาวาระ สุทธมูลกนัย 557/605

ปัจจนียนัย

การยกปัจจัยในปัจจนียะแห่งปัญหาวาระ 558/606

การนับจํานวนวาระในปัจนียะแห่งปัญหาวาระ สุทธมูลกนัย 574/609

อนุโลมปัจจนียนัย 575/609

ปัจจนียานุโลมนัย 576/610

อรรถกถาปีติติกะ 611


อ่านหัวข้ออื่นๆ ... [เล่มที่ 86]


  ข้อความที่ 1  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 554

๗. ปีติติกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

[๔๖๕] ๑. ปีติสหคตธรรม อาศัยปีติสหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปีติสหคตธรรม, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓, ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปีติสหคตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.

๒. สุขสหคตธรรม อาศัยปีติสหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นสุขสหคตธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปีติสหคตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ ที่เป็นสุขสหคตธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปีติสหคตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.

๓. ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม อาศัยปีติสหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปีติสหคตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.

 
  ข้อความที่ 2  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 555

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ ที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปีติสหคตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.

[๔๖๖] ๔. สุขสหคตธรรม อาศัยสุขสหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสุขสหคตธรรม, ขันธ์ ๑ อาศัย ขันธ์ ๒ (๑)

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสุขสหคตธรรม ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒.

๕. ปีติสหคตธรรม อาศัยสุขสหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นปีติสหคตธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสุขสหคตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ ที่เป็นปีติสหคตธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสุขสหคตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.

๖. ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม อาศัยสุขสหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ ที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสุขสหคตธรรม, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒.


๑. องค์ธรรมของสุขสหคตธรรม ได้แก่ สุขสหคตจิต ๖๓ เจ. ๔๖. (เว้นเวทนาขันธ์) เพราะ ฉะนั้น จึงแสดงได้เพียงนามขันธ์ ๓ อาศัยกันเท่านั้น

 
  ข้อความที่ 3  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 556

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ ที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสุขสหคตธรรม, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒.

[๔๖๗] ๗. อุเบกขาสหคตธรรม อาศัยอุเบกขาสหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม, ขันธ์ ๑ อาศัย ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

[๔๖๘] ๘. ปีติสหคตธรรม อาศัยปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นปีติสหคตธรรม อาศัยขันธ์ ที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ ที่เป็นปีติสหคตธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.

๙. สุขสหคตธรรม อาศัยปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ ที่เป็นสุขสหคตธรรม อาศัยขันธ์ ที่เป็นปีติสหคตธรรมและสุขสหคตธรรม, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ ที่เป็นสุขสหคตธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒.

 
  ข้อความที่ 4  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 557

๑๐. ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม อาศัยปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ ที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ ที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒.

เหตุปัจจัย จบ

[๔๖๙] ปีติสหคตธรรม อาศัยปีติสหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณ (๑) ปัจจัย, เพราะอธิปติปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ไม่มี.

เพราะ อนันตรปัจจัย เพราะ สมนันตรปัจจัย เพราะ สหชาตปัจจัย เพราะ อัญญมัญญปัจจัย เพราะ นิสสยปัจจัย เพราะ อุปนิสสยปัจจัย เพราะ ปุเรชาตปัจจัย ในปุเรชาตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ไม่มี.

เพราะ อาเสวนปัจจัย ในอาเสวนปัจจัย วิบาก ไม่มี.

เพราะ กัมมปัจจัย เพราะ วิปากปัจจัย เพราะ อาหารปัจจัย เพราะ ฯลฯ เพราะ อินทริยปัจจัย เพราะ ฌานปัจจัย เพราะ มัคคปัจจัย เพราะ สัมปยุตตปัจจัย เพราะ วิปปยุตตปัจจัย เพราะ อัตถิปัจจัย เพราะ นัตถิ- ปัจจัย เพราะ วิคตปัจจัย เพราะ อวิคตปัจจัย.

มาติกา จบ


๑. ตั้งแต่อารัมมณปัจจัย ถึง อวิคตปัจจัย แต่ละปัจจัย มี ๑๐ วาระ.

 
  ข้อความที่ 5  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 558

การนับจำนวนวาระในอนุโลมนัยแห่งปฏิจจวาระ

สุทธมูลกนัย

[๔๗๐] ในเหตุปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในอวิคตปัจจัย ทั้งหมด มีปัจจัยละ ๑๐ วาระ.

การนับอนุโลม พึงนับอย่างนี้.

อนุโลม จบ

ปัจจนียนัย

นเหตุปัจจัย

[๔๗๑] ๑. ปีติสหคตธรรม อาศัยปีติสหคตธรรม เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปีติสหคตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ

 
  ข้อความที่ 6  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 559

๒. สุขสหคตธรรม อาศัยปีติสหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นสุขสหคตธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปีติสหคตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.

๓. ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม อาศัยปีติ สหคตธรรม เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปีติสหคตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัย ๒.

[๔๗๒] ๔. สุขสหคตธรรม อาศัยสุขสหคตธรรม เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสุขสหคตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒.

๕. ปีติสหคตธรรม อาศัยสุขสหคตธรรม เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นปีติสหคตธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสุขสหคตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.

๖. ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม อาศัยสุขสหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ ที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสุขสหคตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒.

 
  ข้อความที่ 7  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 560

[๔๗๓] ๗. อุเบกขาสหคตธรรม อาศัยอุเบกขาสหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒.

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

[๔๗๔] ๘. ปีติสหคตธรรม อาศัยปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นปีติสหคตธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.

๙. สุขสหคตธรรม อาศัยปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ ที่เป็นสุขสหคตธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒.

๑๐. ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม อาศัยปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

 
  ข้อความที่ 8  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 561

คือ ขันธ์ ๒ ที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ, ขันธ์ ๑ อาศัย ขันธ์ ๒.

[๔๗๕] ๑. ปีติสหคตธรรม อาศัยปีติสหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย

นอธิปติปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ พึงใส่ให้เต็ม.

เพราะนปุเรชาตปัจจัย พึงกำหนดว่า ในอรูปและในปฏิสนธิขณะด้วย.

ฯลฯ เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย เพราะนอาเสวนปัจจัย

นกัมมปัจจัย

๑. ปีติสหคตธรรม อาศัยปีติสหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นปีติสหคตธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม.

๒. สุขสหคตธรรม อาศัยปีติสหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย.

คือ เจตนาที่เป็นสุขสหคตธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม.

วาระทั้ง ๑๐ พึงให้พิสดารโดยเหตุนี้.

ปีติสรหคตธรรม อาศัยปีติสหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปากปัจจัย ฯลฯ

 
  ข้อความที่ 9  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 562

พึงใส่ให้เต็ม, ปฏิสนธิไม่มี.

นฌานปัจจัย

[๔๗๖] ๑. สุขสหคตธรรม อาศัยสุขสหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะนฌานปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ที่เป็นสุขสหคตธรรม, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒.

[๔๗๗] ๒. อุเบกขาสหคตธรรม อาศัยอุเบกขาสหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะนฌานปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจตุวิญญาณ, ขันธ์ ๑ อาศัย ขันธ์ ๒.

เพราะนมัคคปัจจัย เหมือนกับ เพราะนเหตุปัจจัย โมหะไม่มี.

เพราะนวิปปยุตตปัจจัย. อรูปปัญหาเท่านั้น พึงใส่ให้เต็ม.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๔๗๘] ในนเหตุปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๒ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๑๐วาระ.

ปัจจนียะ พึงกระทำให้บริบูรณ์.

ปัจจนียะ จบ

 
  ข้อความที่ 10  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 563

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๔๗๙] เพราะเหตุปัจจัย ในนอธิปติปัจจัย มี ๑๐ วาระ ... ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๑๐ วาระ.

อนุโลมปัจจนียะ พึงนับโดยพิสดาร.

อนุโลมปัจจนียะ จบ

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๔๘๐] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๑๐ วาระ ... ใน อนันตรปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑๐ วาระ ใน อาหารปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑๐ วาระ.

ปัจจนียานุโลม จบ

ปฏิจจวาระ จบ

สหชาตวาระก็ดี ปัจจยวาระก็ดี นิสสยวาระก็ดี สังสัฏฐวาระก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี เหมือนกับ ปฏิจจวาระ.

 
  ข้อความที่ 11  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 564

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๔๘๑] ๑. ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

ในปฏิสนธิขณะ เหตุทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

[๔๘๒] ๒. ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

[๔๘๓] ๓. ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

 
  ข้อความที่ 12  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 565

[๔๘๔] ๔. สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม ฯลฯ

๕. ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม ฯลฯ

๖. ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ฯลฯ

ในสุขมูละ มี ๓ นัย.

[๔๘๕] ๗. อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุเบกขาสหคตธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

[๔๘๖] ๘. ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ ปีติสหคตธรรม ฯลฯ

๙. ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม ฯลฯ

๑๐. ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

 
  ข้อความที่ 13  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 566

๒. อารัมมณปัจจัย

[๔๘๗] ๑. ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรมด้วยจิตที่เป็นปีติสหคตธรรมแล้ว พิจารณากุศลกรรมนั้นด้วยจิตที่เป็นปีติสหคตธรรม.

บุคคลออกจากฌานที่เป็นปีติสหคตธรรม ออกจากมรรค ออกจากผลแล้ว พิจารณากุศลกรรนนั้นด้วยจิตที่เป็นปีติสหคตธรรม.

พระอริยะทั้งหลาย พิจารณากิเลสที่ละแล้วที่เป็นปีติสหคตธรรม พิจารณากิเลสที่ข่มแล้ว, รู้ซึ่งกิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อนด้วยจิต ที่เป็นปีติสหคตธรรม.

บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ด้วยจิตที่เป็นปีติสหคตธรรม ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภขันธ์นั้น ราคะที่เป็นปีติสหคตธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรมย่อมเกิดขึ้น.

[๔๘๘] ๒. ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือบุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรมด้วยจิตที่เป็น ปีติสหคตธรรมแล้ว พิจารณาด้วยจิตที่เป็นสุขสหคตธรรม.

 
  ข้อความที่ 14  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 567

บุคคลออกจากฌานที่เป็นปีติสหคตธรรม, ออกจากมรรค, ออกจาก ผลแล้ว พิจารณากุศลกรรมนั้นด้วยจิตที่เป็นสุขสหคตธรรม.

พระอริยะทั้งหลาย พิจารณากิเลสที่ละแล้ว ที่เป็นปีติสหคตธรรม พิจารณากิเลสที่ข่มแล้ว รู้ซึ่งกิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้ว ในกาลก่อนด้วยจิต ที่เป็นสุขสหคตธรรม.

บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม โดยความเป็น ของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ด้วยจิตที่เป็นสุขสหคตธรรม ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภขันธ์นั้น ราคะที่เป็นสุขสหคตธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสุขสหคตธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

[๔๘๙] ๓. ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุเบกขาสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรมด้วยจิตที่เป็น ปีติสหคตธรรม แล้วพิจารณากุศลธรรมนั้นด้วยจิตที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม

บุคคลออกจากฌานที่เป็นปีติสหคตธรรม, ออกจากมรรค, ออกจากผล, แล้วพิจารณากุศลกรรมนั้น ด้วยจิตที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม.

พระอริยะทั้งหลาย พิจารณากิเลสที่ละแล้ว ที่เป็นปีติสหคตธรรม พิจารณากิเลสที่ข่มแล้ว รู้ซึ่งกิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อนด้วยจิต ที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม.

 
  ข้อความที่ 15  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 568

บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ด้วยจิตที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภขันธ์นั้น ราคะที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น วิจิกิจฉาย่อมเกิดขึ้น อุทธัจจะ ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นปีติสหคตธรรม ด้วย เจโตปริยญาณ.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

[๔๙๐] ๔. ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรม ด้วยจิตที่เป็นปีติสหคตธรรมแล้ว พิจารณากุศลกรรม ด้วยจิตที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม.

บุคคลออกจากฌานที่เป็นปีติสหคตธรรม. ออกจากมรรค. ออกจากผลแล้ว พิจารณากุศลกรรมนั้นด้วยจิตที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม.

 
  ข้อความที่ 16  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 569

พระอริยะทั้งหลาย พิจารณากิเลสที่ละแล้วที่เป็นปีติสหคตธรรม, พิจารณากิเลสที่ข่มแล้ว รู้ซึ่งกิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน ด้วยจิตที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม.

บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ด้วยจิตที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม, ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภขันธ์นั้น ราคะที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

[๔๙๑] ๕. สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

๖. สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม ฯลฯ

๗. ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่อุเบกขาสหคตธรรม ฯลฯ

๘. ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสุขสหคตธรรม ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

 
  ข้อความที่ 17  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 570

[๔๙๒] ๙. อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุเบกขาสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรมด้วยจิตที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรมแล้ว พิจารณากุศลกรรมนั้น ด้วยจิตที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม บุคคลออกจากฌานที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ฯลฯ ออกจากมรรค ฯลฯ ออกจากผลแล้ว พิจารณากุศลธรรมนั้นด้วยจิตที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม.

พระอริยะทั้งหลาย พิจารนากิเลสที่ละแล้วที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม, พิจารณากิเลสที่ข่มแล้ว, รู้ซึ่งกิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อนด้วยจิต ที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม.

บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม โดยความ เป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ด้วยจิตที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม, ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภขันธ์นั้น ราคะที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรมย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น วิจิกิจฉา ย่อมเกิดขึ้น อุทธัจจะ ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.

อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ ด้วยอำนาจของ อารัมมณปัจจัย.

อากิญจัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เวสัญญานาสัญญายตนะ ด้วยอำนาจ ของอารัมมณปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 18  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 571

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

[๔๙๓] ๑๐. อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม ฯลฯ

๑๑. ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม ฯลฯ

๑๒. ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรมด้วยจิตที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรมแล้ว พิจารณากุศลกรรมนั้นด้วยจิตที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม.

บุคคลออกจากฌานที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม, ออกจากมรรค, ออกจากผลแล้ว, พิจารณากุศลกรรมนั้นด้วยจิตที่เป็นปีติสหคตธรรม และเป็นสุขสหคตธรรม.

พระอริยะทั้งหลาย พิจารณากิเลสที่ละแล้ว ที่เป็นอุเขกขาสหคตธรรม พิจารณากิเลสที่ข่มแล้ว รู้ซึ่งกิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นและในกาลก่อน ด้วยจิตที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม.

 
  ข้อความที่ 19  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 572

บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม โดยความ เป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ด้วยจิตที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภขันธ์นั้น ราคะที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิย่อมเกิดขึ้น.

เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

[๔๙๔] ๑๓. ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม ฯลฯ

๑๔. ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม ฯลฯ

๑๕. ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่อุเบกขาสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรม ด้วยจิตที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม.

บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ด้วยจิตที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภขันธ์นั้น ราคะที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะ ย่อมเกิดขึ้น.

 
  ข้อความที่ 20  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 573

บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นปีติสหคตธรรมและสุขสหคตธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากกัมมูปคตญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม และเป็นสุขสหคตธรรม ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ย่อมเกิดขึ้น

[๔๙๕] ๑๖. ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย ฯลฯ

๓. อธิปติปัจจัย

[๔๙๖] ๑. ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรมด้วยจิตที่เป็นปีติสหคตธรรมแล้ว กระทำกุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นด้วยจิตที่เป็นปีติสหคตธรรมแล้ว พิจารณา.

บุคคลออกจากฌานที่เป็นปีติสหคตธรรม ออกจากมรรค ออกจากผลแล้ว กระทำฌานเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นด้วยจิตที่เป็นปีติสหคตธรรมแล้ว พิจารณา.

 
  ข้อความที่ 21  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 574

บุคคลกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ด้วยจิตที่เป็นปีติสหคตธรรมแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่เป็นปีติสหคตธรรมย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

[๔๙๗] ๒. ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทานด้วยจิตที่เป็นปีติสหคตธรรม ฯลฯ

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

[๔๙๘] ๓. ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุเบกขาสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทานด้วยจิตที่ เป็นปีติสหคตธรรม ฯลฯ แล้ว กระทำกุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นด้วยจิตที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ฯลฯ

 
  ข้อความที่ 22  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 575

[๔๙๙] ๔. ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทานด้วยจิตที่เป็นปีติสหคตธรรม ฯลฯ

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

[๕๐๐] ๕. สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่บุคคลให้ทานด้วยจิตที่เป็นสุขสหคตธรรม ฯลฯ

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

[๕๐๑] ๖. สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม ด้วย อำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ ฯลฯ

 
  ข้อความที่ 23  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 576

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

[๕๐๒] ๗. สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุเบกขาสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ฯลฯ

[๕๐๓] ๘. สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ ฯลฯ

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

[๕๐๔] ๙. อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุเบกขาสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ ฯลฯ

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 24  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 577

[๕๐๕] ๑๐. อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ฯลฯ

๑๑. อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ฯลฯ

[๕๐๖] ๑๒. อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ฯลฯ

[๕๐๗] ๑๓. ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัย แก่ปีติสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

[๕๐๘] ๑๔. ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ ฯลฯ

 
  ข้อความที่ 25  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 578

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

[๕๐๙] ๑๕. ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุเบกขาสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ฯลฯ

[๕๑๐] ๑๖. ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ฯลฯ

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๔. อนันตรปัจจัย

[๕๑๑] ๑. ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

 
  ข้อความที่ 26  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 579

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรมที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรมที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

อนุโลมที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พึงแสดงว่าเป็นปัจจัยสำหรับบททั้งปวง ด้วยเหตุนี้.

อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน, โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค, โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค, มรรค เป็นปัจจัยแก่ผล, ผลเป็นปัจจัยแก่ผล, อนุโลมเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่เป็นปีติสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

[๕๑๒] ๒. ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรมที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสุขสหคตธรรมที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

อนุโลมที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่โคตรภูที่เป็นสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

อนุโลมที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่โวทานที่เป็นสุขสหคตธรรม ฯลฯ

อนุโลมที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่เป็นสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 27  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 580

[๕๑๓] ๓. ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุเบกขาสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ จุติจิตที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

ภวังค์ที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

วิบากมโนวิญญาณธาตุที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่กิริยามโนวิญญาณธาตุ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

ภวังค์ที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ภวังค์ที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

กุศลอกุศลที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม, กิริยาเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ, ผลเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

[๕๑๔] ๔. ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรมและ สุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรมที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรมที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

อนุโลมที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่โคตรภูที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย ฯลฯ

 
  ข้อความที่ 28  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 581

อนุโลมที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

[๕๑๕] ๕. สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสุขสหคตธรรมที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสุขสหคตธรรมที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจอนันตรปัจจัย.

อนุโลมที่เป็นสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่โคตรภูที่เป็นสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย ฯลฯ

อนุโลมที่เป็นสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่เป็นสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

[๕๑๖] ๖. สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม ด้วย อำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสุขสหคตธรรมที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรมที่เกิดหลังๆ ฯลฯ

อนุโลมที่เป็นสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่เป็นปีติสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

[๕๑๗] ๗. สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุเบกขาสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

 
  ข้อความที่ 29  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 582

คือ จุติจิตที่เป็นสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

ภวังค์ที่เป็นสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

กายวิญญาณที่เป็นสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากมโนวิญญาณธาตุ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

วิบากมโนวิญญาณธาตุที่เป็นสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่กิริยามโนวิญญาณธาตุ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

ภวังค์ที่เป็นสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ภวังค์ที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

กุศลอกุศลที่เป็นสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม, กิริยา เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ, ผลเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

[๕๑๘] ๘. สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสุขสหคตธรรมที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรมที่เกิดหลังๆ ฯลฯ

อนุโลมที่เป็นสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 30  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 583

[๕๑๙] ๙. อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุเบกขาสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรมที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรมที่เกิดหลังๆ ฯลฯ.

อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ปัญจวิญญาณ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย. อนุโลมที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม.

เนวสัญานาสัญญายตนะของบุคคลผู้ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

[๕๒๐] ๑๐. อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรมด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ จุติจิตที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่เป็นปีติสหคตธรรม.

อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม.

วิบากมโนธาตุ เป็นปัจจัยแก่วิบากมโนวิญญาณธาตุที่เป็นปีติสหคตธรรม.

ภวังค์ที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ภวังค์ที่เป็นปีติสหคตธรรม.

กุศลอกุศลที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นปีติสหคตธรรม.

 
  ข้อความที่ 31  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 584

กิริยา เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ.

ผล เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ.

เนวสัญญานาสัญญายตนะของบุคคลผู้ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่เป็นปีติสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

[๕๒๑] ๑๑. อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม ฯลฯ

๑๒. ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

พึงกำหนดถือเอาข้อความตามบาลีข้างต้นนั้นแหละ เป็นอรรถาธิบาย ในที่นี้ด้วย.

[๕๒๒] ๑๓. ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัย แก่ปีติสหคตธรรม ฯลฯ

๑๔. ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม ฯลฯ

๑๕. ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่อุเบกขาสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ จุติจิตที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม.

ภวังค์ที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะ.

 
  ข้อความที่ 32  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 585

วิบากมโนวิญญาณธาตุที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่กิริยามโนวิญญาณธาตุ.

ภวังค์ที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ภวังค์ ที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม กุศลและอกุศลที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรมเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม.

กิริยา เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ.

ผล เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

[๕๒๓] ๑๖. ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัย แก่ปีติสหคตธรรม และแก่สุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรมที่เกิด ก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม ที่เกิดหลังๆ ฯลฯ.

อนุโลมที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ ผลสมาบัติที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๕. สมนันตรปัจจัย

[๕๒๔] ๑. ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย

เหมือนกับ อนันตรปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 33  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 586

๖. สหชาตปัจจัย

[๕๒๕] ๑. ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจ ของสหชาตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.

เหมือนกับ ปฏิจจวาระ ในสหชาตปัจจัย ปัญหาวาระมี ๑๐ วาระ.

๗. อัญญมัญญปัจจัย

๘. นิสสยปัจจัย

[๕๒๖] ๑. ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย. เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย.

พึงกระทำให้เป็น ๑๐ วาระ.

๙. อุปนิสสยปัจจัย

[๕๒๗] ๑. ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมูณธิปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

 
  ข้อความที่ 34  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 587

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นปีติสหคตธรรมแล้ว ให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรม ยังฌานที่เป็นปีติสหคตธรรมให้เกิดขึ้น ยังวิปัสสนา ฯลฯ ยังมรรค ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ก่อมานะ ถือทิฏฐิ ด้วยจิตที่เป็น ปีติสหคตธรรม.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นปีติสหคตธรรม ฯลฯ สุตะ ฯลฯ จาคะ ฯลฯ ปัญญา แล้วให้ทาน สมาทานศีล ฯลฯ ก่อมานะ ถือทิฏฐิ ด้วยจิตที่เป็นปีติสหคตธรรม.

บุคคลเข้าไปอาศัยราคะที่เป็นปีติสหคตธรรม ฯลฯ โมหะ มานะ ทิฏฐิ ความปรารถนาแล้ว ให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรม, ยังฌานที่ เป็นปีติสหคตธรรมให้เกิดขึ้น ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ด้วยจิตที่เป็นปีติสหคตธรรม.

บุคคลย่อมถือเอาสิ่งของที่ผู้อื่นมิได้ให้, กล่าวเท็จ, กล่าวส่อเสียด, พูดเพ้อเจ้อ, ตัดช่องย่องเบา, ลอบขึ้นไปลักทรัพย์ ปล้นบ้านหลังหนึ่ง, ดัก ปล้นตามทาง ผิดภรรยาผู้อื่น ฆ่าคนในหมู่บ้าน ฆ่าคนในนิคม ด้วยจิตที่เป็น ปีติสหคตธรรม.

ศรัทธาที่เป็นปีติสหคตธรรม ฯลฯ ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา ราคะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ที่เป็นปีติสหคตธรรม แก่ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา ราคะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ แก่ความปรารถนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[๕๒๘] ๒. ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

 
  ข้อความที่ 35  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 588

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นปีติสหคตธรรม ให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ก่อมานะ ถือทิฏฐิ ด้วยจิตที่เป็นสุขสหคตธรรม.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นปีติสหคตธรรม สุตะ จาคะ ปัญญา ราคะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ ความปรารถนาแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติ ให้เกิดขึ้น ด้วยจิตที่เป็นสุขสหคตธรรม.

บุคคลย่อมถือเอาสิ่งของที่เจ้าของเขามิได้ให้ ฯลฯ ฆ่าคนในนิคม ด้วยจิตที่เป็นสุขสหคตธรรม.

ศรัทธาที่เป็นปีติสหคตธรรม ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ ศรัทธาที่เป็นสุขสหคตธรรม แก่ความปรารถนา แก่กายวิญญาณที่เป็นสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[๕๒๙] ๓. ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุเบกขาสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นปีติสหคตธรรมแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ยังอภิญญาให้เกิดขึ้น ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ฯลฯ ก่อมานะ ถือทิฏฐิ ด้วยจิตที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม.

 
  ข้อความที่ 36  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 589

บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นปีติสหคตธรรม ฯลฯ ความปรารถนาแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ฆ่าคนในนิคม ด้วยจิตที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม.

ศรัทธาที่เป็นปีติสหคตธรรม ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม แก่ความปรารถนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[๕๓๐] ๔. ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ได้แก่

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นปีติสหคตธรรม แล้วให้ทาน ฯลฯ ถือทิฏฐิ ด้วยจิตที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นปีติสหคตธรรม ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ แล้วให้ทาน ฯลฯ ฆ่าคนในนิคม ด้วยจิตที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม.

ศรัทธาที่เป็นปีติสหคตธรรม ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม แก่ความปรารถนาด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[๕๓๑] ๕. สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

 
  ข้อความที่ 37  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 590

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นสุขสหคตธรรมแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ถือ ทิฏฐิ ด้วยจิตที่เป็นสุขสหคตธรรม.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นสุขสหคตธรรม ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ กายวิญญาณที่เป็นสุขสหคตธรรมแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ฆ่าคนในนิคม ด้วยจิตที่เป็นสุขสหคตธรรม.

ศรัทธาที่เป็นสุขสหคตธรรม ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ กายวิญญาณ ที่เป็นสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นสุขสหคตธรรม แก่ความปรารถนา แก่กายวิญญาณที่เป็นสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[๕๓๒] ๖. สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นสุขสหคตธรรมแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ถือทิฏฐิ ด้วยจิตที่เป็นปีติสหคตธรรม.

 
  ข้อความที่ 38  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 591

บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นสุขสหคตธรรม ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ อาศัยกายวิญญาณที่เป็นสุขสหคตธรรม แล้วให้ทาน ฯลฯ ฆ่าคนในนิคม ด้วย จิตที่เป็นปีติสหคตธรรม.

ศรัทธาที่เป็นสุขสหคตธรรม ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ กายวิญญาณ ที่เป็นสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นปีติสหคตธรรม แก่ความปรารถนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[๕๓๓] ๗. สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุเบกขาสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นสุขสหคตธรรมแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ยังอภิญญาให้เกิดขึ้น ฯลฯ ถือทิฏฐิ ด้วยจิตที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นสุขสหคตธรรม ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ กายวิญญาณที่เป็นสุขสหคตธรรม ให้ทาน ฯลฯ ฆ่าคนในนิคม ด้วยจิตที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม.

ศรัทธาที่เป็นสุขสหคตธรรม ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ กายวิญญาณ ที่เป็นสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม แก่ความ ปรารถนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 39  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 592

[๕๓๔] ๘. สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นสุขสหคตธรรมแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ถือ ทิฏฐิ ด้วยจิตที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นสุขสหคตธรรม ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ กายวิญญาณที่เป็นสุขสหคตธรรมแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ฆ่าคนในนิคม ด้วยจิต

ที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม.

ศรัทธาที่เป็นสุขสหคตธรรม ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ กายวิญญาณที่เป็นสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม แก่ความปรารถนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[๕๓๕] ๙. อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุเบกขาสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรมแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ยังอภิญญาให้เกิดขึ้น ฯลฯ ถือทิฏฐิ ด้วยจิตที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม.

 
  ข้อความที่ 40  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 593

บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ฯลฯ ความปรารถนาแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ฆ่าคนในนิคมด้วยจิตที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม.

ศรัทธาที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม แก่ความปรารถนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[๕๓๖] ๑๐. อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรมแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ถือทิฏฐิ ด้วยจิตที่เป็นปีติสหคตธรรม.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ฯลฯ ความปรารถนาแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ฆ่าคนในนิคม ด้วยจิตที่เป็นปีติสหคตธรรม.

ศรัทธาที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นปีติสหคตธรรม แก่ความปรารถนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[๕๓๗] ๑๑. อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

 
  ข้อความที่ 41  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 594

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรมแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ถือทิฏฐิ ด้วยจิตที่เป็นสุขสหคตธรรม.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ฯลฯ ความปรารถนาแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ฆ่าคนในนิคม ด้วยจิตที่เป็นสุขสหคตธรรม.

ศรัทธาที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นสุขสหคตธรรม แก่ความปรารถนา แก่กายวิญญาณที่เป็นสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[๕๓๘] ๑๒. อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรมแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ถือทิฏฐิ ด้วยจิตที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม

บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ฯลฯ ความปรารถนาแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ฆ่าคนในนิคม ด้วยจิตที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม.

 
  ข้อความที่ 42  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 595

ศรัทธาที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นปีติสหคตธรรมและสุขสหคตธรรม แก่ความปรารถนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[๕๓๙] ๑๓. ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรมแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ถือทิฏฐิ ด้วยจิตที่เป็นปีติสหคตธรรม.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ฯลฯ ความปรารถนาแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ฆ่าคนในนิคม ด้วยจิตที่เป็นปีติสหคตธรรม

ศรัทธาที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ฯลฯ ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นปีติสหคตธรรม ฯลฯ แก่ความปรารถนา ด้วยอำนาจ ของอุปนิสสยปัจจัย.

[๕๔๐] ๑๔. ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

 
  ข้อความที่ 43  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 596

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรมแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ถือทิฏฐิ ด้วยจิตที่เป็นสุขสหคตธรรม.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ฯลฯ ความปรารถนาแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ฆ่าคนในนิคม ด้วยจิตที่เป็นสุขสหคตธรรม

ศรัทธาที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นสุขสหคตธรรม แก่ความปรารถนา แก่กายวิญญาณ ที่เป็นสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[๕๔๑] ๑๕. ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุเบกขาสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม แล้วให้ทาน ฯลฯ ยังอภิญญาให้เกิดขึ้น ฯลฯ ถือทิฏฐิ ด้วยจิตที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรมแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ฆ่าคนในนิคม ด้วยจิตที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม.

 
  ข้อความที่ 44  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 597

ศรัทธาที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม แก่ความปรารถนา ด้วยอำนาจ ของอุปนิสสยปัจจัย.

[๕๔๒] ๑๖. ปีตสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัย แก่ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม แล้ว ให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรม ยังฌานที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรมให้เกิดขึ้น ยังวิปัสสนา ฯลฯ ยังมรรค ฯลฯ ยังสมาบัติ ให้เกิดขึ้น ฯลฯ ก่อมานะ ถือทิฏฐิ ด้วยจิตที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ฯลฯ สุตะ จาคะ ปัญญา ราคะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ ความปรารถนาแล้ว ให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรม ยังฌานที่เป็นปีติสหคตธรรม และ สุขสหคตธรรม ฯลฯ ยังวิปัสสนา ฯลฯ ยังมรรค ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ด้วยจิตที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม.

บุคคลย่อมถือเอาสิ่งของที่ผู้อื่นมิได้ให้ กล่าวเท็จ กล่าวส่อเสียด พูดเพ้อเจ้อ ตัดช่องย่องเบา ลอบขึ้นไปลักทรัพย์ ปล้นบ้านหลังหนึ่ง ดักปล้นตาม

 
  ข้อความที่ 45  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 598

ทาง ผิดภรรยาผู้อื่น ฆ่าคนในหมู่บ้าน ฆ่าคนในนิคม ด้วยจิตที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม.

ศรัทธาที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นปีติสหคตธรรมและสุขสหคตธรรม ฯลฯ แก่ความปรารถนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๑๐. อาเสวนปัจจัย

[๕๔๓] ๑. ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.

อนุโลมที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่โคตรภูที่เป็นปีติสหคตธรรม.

อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน.

โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค.

โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรค ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.

[๕๔๔] ๒. ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสุขสหคตธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 46  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 599

อนุโลมที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่โคตรภูที่เป็นสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.

อนุโลมที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่โวทานที่เป็นสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.

โคตรภูที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่มรรคที่เป็นสุขสหคตธรรม

โวทานที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่มรรคที่เป็นสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.

[๕๔๕] ๓. ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย ฯลฯ.

โวทานที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่มรรคที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.

[๕๔๖] ๔. สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม ฯลฯ

๕. ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม ฯลฯ.

๖. ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย ฯลฯ

พึงดูปีตินัย แล้วกระทำไปตามนั้น

 
  ข้อความที่ 47  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 600

[๕๔๗] ๑. อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุเบกขาสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัย แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย ฯลฯ

โวทานที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่มรรคที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.

[๕๔๘] ๘. ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัย แก่ปีติสหคตธรรม ฯลฯ

๙. ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ สุขสหคตธรรม ฯลฯ

๑๐. ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรมที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรมที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย ฯลฯ

โวทานที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรมเป็นปัจจัยแก่มรรค ที่เป็นปีติสหคตธรรมและสุขสหคตธรรม

๑๑. กัมมปัจจัย

[๕๔๙] ๑. ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

 
  ข้อความที่ 48  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 601

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

[๕๕๐] ๒. ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสุขสหคตธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 49  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 602

[๕๕๑] ๓. ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุเบกขาสหคตธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุเบกขา สหคตธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

[๕๕๒] ๔. ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรมและสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรมและสุขสหคตธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

[๕๕๓] ๕. สุขสหคตธรรมเป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม ฯลฯ

พึงดูแล้ว กระทำการนับทั้ง ๔ วาระต่อไป.

 
  ข้อความที่ 50  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 603

[๕๕๔] ๙. อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุเบกขาสหคตธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

๑๐. ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มีอย่างเดียว คือ นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ฯลฯ.

๑๑. ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจ ของกัมมปัจจัย

มีอย่างเดียว คือ นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม

๑๒. ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม และสุข สหคตธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มีอย่างเดียว คือ นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ฯลฯ

๑๓. ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัย แก่ปีติสหคตธรรม ฯลฯ

พึงกระทำเป็น ๔ วาระ (รวมเป็น ๑๖ วาระ)

ผู้มีปัญญาพึงแจก ปีติสหคตธรรม.

 
  ข้อความที่ 51  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 604

๑๒. วิปากปัจจัย

[๕๕๕] ๑. ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรมด้วย อำนาจของวิปากปัจจัย

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นปีติสหคตธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

พึงทำ วิปากปัจจัยทั้ง ๑๐ วาระ ให้พิสดาร เหมือนกับ เหตุปัจจัยในปฏิจจวาระ.

๑๓. อาหารปัจจัย ฯลฯ ๑๗. อัตถิปัจจัย

[๕๕๖] ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม ด้วย อำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ อัตถิปัจจัย.

พึงทำทุกปัจจัยปัจจัยละ ๑๐ วาระ ให้พิสดาร.

 
  ข้อความที่ 52  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 605

๑๘. นัตถิปัจจัย ๑๙. วิคตปัจจัย

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนัตถิปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิคตปัจจัย.

นัตถิปัจจัยก็ดี วิคตปัจจัยก็ดี เหมือนกับ อนันตรปัจจัย.

๒๐. อวิคตปัจจัย

เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในอนุโลมแห่งปัญหาวาระ

สุทธมูลกนัย

[๕๕๗] ในเหตุปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑๐ วาระ ใน อาหารปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑๐ วาระ

ผู้มีปัญญาพึงนับตาม กุสลติกะอนุโลม.

อนุโลม จบ

 
  ข้อความที่ 53  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 606

ปัจจนียนัย

การยกปัจจัยในปัจจนียะแห่งปัญหาวาระ

[๕๕๘] ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย. เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

[๕๕๙] ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

[๕๖๐] ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุเบกขาสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[๕๖๑] ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ ของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

[๕๖๒] สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย

 
  ข้อความที่ 54  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 607

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

[๕๖๓] สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

[๕๖๔] สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุเบกขาสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

[๕๖๕] สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

[๕๖๖] อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุเบกขาสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

[๕๖๗] อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 55  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 608

[๕๖๘] อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

[๕๖๙] อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

[๕๗๐] ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ ปีติสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

[๕๗๑] ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ สุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

[๕๗๒] ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุเบกขาสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

[๕๗๓] ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 56  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 609

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะแห่งปัญหาวาระ

สุทธมูลกนัย

[๕๗๔] ในนเหตุปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในนสหชาตปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในนนิสสยปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในนสัมมปยุตตปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในโนอัตถิปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๑๖ วาระ ใน โนอวิคตปัจจัย มี ๑๖ วาระ.

ผู้มีปัญญาพึงนับปัจจนียะ.

ปัจจนียะ จบ

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๕๗๕] เพราะนเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๑๐ วาระ ... ใน นอธิปติปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนสมนันตร-

 
  ข้อความที่ 57  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 610

ปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๑๐วาระ.

ผู้มีปัญญาพึงนับอนุโลมปัจจนียะ.

อนุโลมปัจจนียะ จบ

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๕๗๖] เพราะนหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๑๖ วาระ ... ใน อธิปติปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑๐ วาระ ใน อาหารปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๑๐ วาระ ใน

 
  ข้อความที่ 58  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 22 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้า 611

อัตถิปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑๐ วาระ.

ผู้มีปัญญาพึงนับปัจจนียานุโลม.

ปัจจนียานุโลม จบ

ปีติติกะ ที่ ๗ จบ

อรรถกถาปีติติกะ

ใน ปีติติกะ คำว่า ภวังค์ที่สหรคตด้วยสุข เป็นปัจจัยแก่ภวังค์ที่สหรคตด้วยอุเบกขา ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย พระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสด้วยอำนาจของตทารัมมณะ ภวังค์ และมูลภวังค์ คำที่เหลือ ทั้งหมดในอธิการนี้ พึงทราบด้วยอำนาจบาลีนั่นเอง.

อรรถกถาปีติติกะ จบ