พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย

๑๑. เสกขติกะ - อนุโลมติกปัฏฐาน

 
บ้านธัมมะ
วันที่  23 ก.พ. 2565
หมายเลข  42215
อ่าน  522

[เล่มที่ 87] พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓

พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๗

ปัฏฐาน ภาคที่ ๓

อนุโลมติกปัฏฐาน

๑๑. เสกขติกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย 286

๑. เหตุปัจจัย 286

๒. อารัมมณปัจจัยฯลฯ ๑๑. อาเสวนปัจจัย 288

๑๒. กัมมปัจจัย ๑๓. วิปากปัจจัย 288

๑๔. อาหารปัจจัยฯลฯ ๒๓. อวิคตปัจจัย 290

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 290

ปัจจนียนัย 291

๑. นเหตุปัจจัย 291

๒. นอารัมมณปัจจัย 291

๓. อธิปติปัจจัย 292

๔. นอนันตรปัจจัยฯลฯ ๙. นปัจฉาชาตปัจจัย 293

๑๐. นอาเสวนปัจจัย 293

๑๑. นกัมมปัจจัย 294

๑๒. นวิปากปัจจัย 295

๑๓. นอาหารปัจจัยฯลฯ ๑๖. นมัคคปัจจัย 296

๑๗. นสัมปยุตตปัจจัย 296

๑๘. นวิปปยุตตปัจจัย 296

๑๙. โนนัตถิปัจจัย ๒๐. โนวิคตปัจจัย 297

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 297

อนุโลมปัจจนียนัย 297

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 297

ปัจจนียานุโลม 298

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 298

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย 299

๑. เหตุปัจจัย 299

๒. อารัมมณปัจจัย 301

๓. อธิปติปัจจัยฯลฯ ๑๑. อาเสวนปัจจัย 302

๑๒. กัมมปัจจัยฯลฯ ๒๓. อวิคตปัจจัย 303

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 303

ปัจจนียนัย 304

๑. นเหตุปัจจัย 304

๒. นอารัมมณปัจจัย 305

๓. นอธิปติปัจจัย 305

๔. นอนันตรปัจจัยฯลฯ ๑๐. นอาเสวนปัจจัย 306

๑๑. นกัมมปัจจัย 307

๑๒. นวิปากปัจจัย 308

๑๓. นอาหารปัจจัยฯลฯ ๒๐. โนวิคตปัจจัย 308

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 309

อนุโลมปัจจนียนัย 309

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 309

ปัจจนียานุโลมนัย 310

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 310

ปัจจนียานุโลมนัย 310

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 310

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย 311

๑. เหตุปัจจัย 311

๒. อารัมมณปัจจัยฯลฯ ๒๓. อวิคตปัจจัย 311

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 312

ปัจจนียนัย 312

๑. นเหตุปัจจัย 312

๒. นอธิปติปัจจัย 312

๓. นปุเรชาตปัจจัยฯลฯ ๑๐. นวิปปยุตตปัจจัย 313

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 313

อนุโลมปัจจนียนัย 314

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 314

ปัจจนียานุโลมนัย 314

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 314

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย 315

๑. เหตุปัจจัย 315

๒. อารัมมณปัจจัย 316

๓. อธิปติปัจจัย 319

๔. อนันตรปัจจัย 323

๕. สมนันตรปัจจัย 325

๖. สหชาตปัจจัย ๗. อัญญมัญญปัจจัย 325

๘. นิสสยปัจจัย 326

๙. อุปนิสสยปัจจัย 326

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย 330

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย 331

๑๒. อาเสวนปัจจัย 332

๑๓. กัมมปัจจัย 333

๑๔. วิปากปัจจัย 335

๑๕. อาหารปัจจัยฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย 336

๒๐. วิปปยุตตปัจจัย 337

๒๑. อัตถิปัจจัย 339

การนับจํานวนวาระในอนุโลม สุทธมูลกนัย 343

ปัจจนียนัย 344

การยกปัจจัยในปัจจนียะ 344

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ สุทธมูลกนัย 346

อนุโลมปัจจนียนัย 347

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 347

ปัจจนียานุโลมนัย 348

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 348

อรรถกถาเสกขติกะ 349


อ่านหัวข้ออื่นๆ ... [เล่มที่ 87]


  ข้อความที่ 1  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 286

๑๐. เสกขติกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๑๑๗๓] ๑. เสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเสกขธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

๒. เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรม.

๓. เสกขธรรม และเนวเสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฎฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเสกขธรรม ฯลฯ ๒ ฯลฯ

[๑๑๗๔] ๔. อเสกขธรรม อาศัยอเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย

คือ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเสกขธรรม ฯลฯ

๕. เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยอเสกขธรรม ฯลฯ

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเสกขธรรม.

 
  ข้อความที่ 2  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 287

๖. อเสกขธรรม และเนวเสกขานาธรรม อาศัย อเสกขธรรม ฯลฯ

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเสกขธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

[๑๑๗๕] ๗. เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเนวเสกขานาเสกขธรรม ฯลฯ

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม. ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทยวัตถุ. มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒. จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูปอาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

[๑๑๗๖] ๘. เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม และเนวเสกขานาเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นเสกขธรรม และมหาภูตรูป ทั้งหลาย

[๑๑๗๗] ๙. เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยอเสกขธรรม และเนวเสกขานาเสกธรรม เกิดขึ้น เพระเหตุปัจจัย

 
  ข้อความที่ 3  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 288

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอเสกขธรรม และมหาภูตรูป ทั้งหลาย.

๒. อารัมมณปัจจัย ฯลฯ ๑๑. อาเสวนปัจจัย

[๑๑๗๘] ๑. เสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย, เพราะ อธิปติปัจจัย ปฏิสนธิ ไม่มี.

เพราะ อนันตรปัจจัย เพราะ สมนันตรปัจจัย เพราะ สหชาตปัจจัย พึงกระทำมหาภูตรูปทั้งหมด.

เพราะ อัญญมัญญปัจจัย เพราะ นิสสยปัจจัย เพราะ อุปนิสสยปัจจัย เพราะ ปุเรชาตปัจจัย เพราะ อาเสวนปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเสกขธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

[๑๑๗๙] ๒. เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเนวเสกขานาเสกขธรรม ฯลฯ เพราะอาเสวนปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

๑๒. กัมมปัจจัย ๑๓. วิปากปัจจัย

เพราะ กัมมปัจจัย เพราะ วิปากปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเสกขธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ มี ๓ วาระ พึงใส่ให้เต็ม. (๓ วาระเหมือนข้อ ๑๑๗๓)

 
  ข้อความที่ 4  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 289

[๑๑๘๐] ๔. อเสกขธรรม อาศัยอเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะ วิปากปัจจัย

คือ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเสกขธรรม ฯลฯ มี ๓ วาระ (เหมือน ข้อ ๑๑๗๔)

[๑๑๘๑] ๗. เนวเสกขาเสกขธรรม อาศัยเนวเสกขานาเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปากปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัย หทยวัตถุ.

มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ.

[๑๑๘๒] ๘. เนวเสกขานาเสกธรรม อาศัยเสกขธรรม และ เนวเสกขานาเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปากปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นเสกขธรรม ซึ่งเป็นวิบาก และ มหาภูตรูปทั้งหลาย.

[๑๑๘๓] ๙. เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยอเสกขธรรม และ เนวเสกขานาเสกธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปากปัจจัย

 
  ข้อความที่ 5  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 290

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอเสกขธรรม และมหาภูตรูป ทั้งหลาย.

๑๔. อาหารปัจจัย ฯลฯ ๒๓. อวิคตปัจจัย

[๑๑๘๔] เสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะอาหารปัจจัย เพราะอินทริยปัจจัย เพราะฌานปัจจัย เพราะมัคคปัจจัย เพราะสัมปยุตตปัจจัย เพราะวิปปยุตตปัจจัย เพราะอัตถิปัจจัย เพราะนัตถิปัจจัย เพราะวิคตปัจจัย เพราะอวิคตปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๑๑๗๕] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๙ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๙ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๙ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

อนุโลมนัย จบ

 
  ข้อความที่ 6  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 291

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๑๑๘๖] ๑. เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเนวเสกขานาเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

๒. นอารัมมณปัจจัย

[๑๑๘๗] ๑. เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเสกธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรม.

[๑๑๘๘] ๒. เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยอเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเสกขธรรม.

 
  ข้อความที่ 7  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 292

[๑๑๘๙] ๓. เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเนวเสกขานาเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย.

มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ

[๑๑๙๐] ๔. เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเสกธรรม และ เนวเสกขานาเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นเสกขธรรม และมหาภูตรูป ทั้งหลาย.

[๑๑๙๑] ๕. เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยอเสกธรรม และ เนวเสกขานาเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอเสกขธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๓. นอธิปติปัจจัย

[๑๑๙๒] ๑. เสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม ฯลฯ เพราะนอธิปติปัจจัย

 
  ข้อความที่ 8  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 293

คือ อธิปติธรรมที่เป็นเสกขธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรม.

๒. อเสกขธรรม อาศัยอเสกขธรรม ฯลฯ เพราะนอธิปติปัจจัย

คือ อธิปติธรรมที่เป็นอเสกขธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเสกขธรรม.

๓. เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเนวเสกขานาเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย พึงใส่ให้เต็ม.

ปฏิสนธิก็ดี มหาภูตรูปทั้งหลายก็ดี พึงกระทำทั้งหมด.

๔. นอนันตรปัจจัย ฯลฯ ๙. นปัจฉาชาตปัจจัย

เพราะนอันนตรปัจจัย เพราะนสมนันตรปัจจัย เพราะนอัญญมัญญปัจจัย เพราะนอุปนิสสยปัจจัย (ทั้ง ๔ ปัจจัย มี ๕ วาระ)

เพราะนปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ เหมือนกับกุศลติกะ.

เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ (มี ๙ วาระ)

๑๐. นอาเสวนปัจจัย

[๑๑๙๓] ๑. เสกขธรรมอาศัยเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะนอาเสวนปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเสกขธรรม ซึ่งเป็นวิปาก ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

๒. เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะนอาเสวนปัจจัย

 
  ข้อความที่ 9  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 294

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรม.

๓. เสกขธรรม และเนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม ฯลฯ เพราะนอาเสวนปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเสกขธรรมซึ่ง เป็นวิบาก ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

๔. อเสกขธรรม อาศัยอเสกขธรรม เกิดขึ้น มี ๓ วาระ (วาระที่ ๔ - ๕ - ๖)

๗. เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเนวเสกขานาเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะนอาเสวนปัจจัย

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม ฯลฯ พึงใส่ให้เต็ม.

๘. ฯลฯ อาศัยเสกขธรรม และเนวเสกขานาเสกขธรรม เกิดขึ้น ปัจจัยสงเคราะห์พึงใส่ให้เต็มแม้ทั้ง ๒ วาระ รวมเป็น ๙ วาระ.

๑๑. นกัมมปัจจัย

[๑๑๙๔] ๑. ฯลฯ เพราะนกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นเสกขธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรม.

๒. เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเนวเสกขานาเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็น เนวเสกขานาเสกขธรรม.

พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

 
  ข้อความที่ 10  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 295

๑๒. นวิปากปัจจัย

[๑๑๙๕] ๑. เสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปากปัจจัย

คือ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเสกขธรรม.

๒. เนวาเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปากปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรม.

๓. เสกขธรรม และเนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปากปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเสกขธรรม ฯลฯ

[๑๑๙๖] ๔. เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเนวเสกขานาเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปากปัจจัย พึงใส่ให้เต็ม ปฏิสนธิไม่มี.

[๑๑๙๗] ๕. เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม และ เนวเสกขานาเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปากปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นเสกขธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

 
  ข้อความที่ 11  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 296

๑๓. นอาหารปัจจัย ฯลฯ ๑๖. นมัคคปัจจัย

[๑๑๙๘] เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเนวเสกขานาเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะนอาหารปัจจัย เพราะนอินทริยปัจจัย เพราะนฌานปัจจัย เพราะนมัคคปัจจัย (ทุกปัจจัย มี ๑ วาระ)

๑๗. นสัมปยุตตปัจจัย

๑. เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะนสัมปยุตตปัจจัย (มี ๕ วาระ)

๑๘. นวิปปยุตตปัจจัย

[๑๑๙๙] ๑. เสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๑ ที่เป็นเสกขธรรม ฯลฯ.

๒. อเสกขธรรม อาศัยอเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะ นวิปปยุตตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอเสกขธรรม ฯลฯ.

๓. เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเนวเสกขานาเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม ฯลฯ.

พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ

ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ.

 
  ข้อความที่ 12  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 297

๑๙. โนนัตถิปัจจัย ๒๐. โนวิคตปัจจัย

เพราะโนนัตถิปัจจัย เพราะโนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๑๒๐๐] ในนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอนันตรปัจจัย ในนสมนันตรปัจจัย ในนอัญญมัญญปัจจัย ในนอุปนิสสยปัจจัย แต่ละปัจจัย มี ๕ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

ปัจจนียนัย จบ

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำวนววาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๑๒๐๑] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ... ในนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอนันตรปัจจัย ในนสมนันตรปัจจัย ในนอัญญมัญญปัจจัย ในนอุปนิสสยปัจจัย แต่ละปัจจัย มี ๕วาระ ในนปุเรชาติปัจจัย

 
  ข้อความที่ 13  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 298

มี ๗ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.

พึงนับอย่างนี้

อนุโลมปัจจนียนัย จบ

ปัจจนียานุโลม

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๑๒๐๒] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ... ใน อนันตรปัจจัย ในสมนันตรปัจจัย ในสหชาตปัจจัย ในอัญญมัญญปัจจัย ในนิสสยปัจจัย ในอุปนิสสยปัจจัย ในปุเรชาตปัจจัย ในอาเสวนปัจจัย ในกัมมปัจจัย ในวิปากปัจจัย ในอาหารปัจจัย ในอินทริยปัจจัย ในฌานปัจจัย ในมัคคปัจจัย ในสัมปยุตตปัจจัย ในวิปปยุตตปัจจัย ในอัตถิปัจจัย ในนัตถิปัจจัย ในวิคตปัจจัย ในอวิคตปัจจัย แต่ละปัจจัยมี ๑ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

ปัจจนียานุโลมนัย จบ

ปฏิจจาวาระ จบ

สหชาตวาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.

 
  ข้อความที่ 14  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 299

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๑๒๐๓] ๑. เสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.

๔. อเสกขธรรม อาศัยอเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระเหมือนกับปฏิจจวาระ.

[๑๒๐๔] ๗. เนวเสกขานาเสกธรรม อาศัยเนวเสกขานาเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย พึงใส่ให้เต็ม.

จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

๘. เสกขธรรม อาศัยเนวเสกขานาเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

๙. อเสกขธรรม อาศัยเนวเสกขานาเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเสกขธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

๑๐. เสกขธรรม และเนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัย เนวเสกขานาเสกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

 
  ข้อความที่ 15  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 300

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรม อาศัยหทยวัตถุ, จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๑๑. อเสกขธรรม และเนวเสกขานาเสกธรรม อาศัยเนวเสกขานาเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเสกขธรรม อาศัยหทยวัตถุ, จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

[๑๒๐๕] ๑๒. เสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม และเนวเสกขานาเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ทำเป็นเสกธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

๑๓. เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม และ เนวเสกขานาเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นเสกขธรรม และมหาภูตรูป ทั้งหลาย.

๑๔. เสกขธรรม และเนวเสกนาเสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม และเนวเสกขานาเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเสกขธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นเสกขธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

 
  ข้อความที่ 16  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 301

๑๕. ฯลฯ อาศัยอเสกขธรรม และเนวเสกขานาเสกขธรรม มี ๓ วาระ เหมือนกับเสกขธรรม (วาระที่ ๑๕ - ๑๖ - ๑๗).

๒. อารัมมณปัจจัย

[๑๒๐๖] ๑. เสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะ อารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ

๒. อเสกขธรรม อาศัยอเสกขธรรม มี ๑ วาระ.

๓. เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเนวเสกขานาเสกขธรรม มี ๑ วาระ.

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

๔. เสกขธรรม อาศัยเนวเสกขานาเสกขธรรม ฯลฯ เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

๕. อเสกขธรรม อาศัยเนวเสกขานาเสกขธรรม ฯลฯ เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเสกขธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

[๑๒๐๗] ๖. เสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม และเนวเสกขานาเสกขธรรม ฯลฯ เพราะอารัมมณปัจจัย

 
  ข้อความที่ 17  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 302

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเสกขธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

[๑๒๐๘] ๗. อเสกขธรรม อาศัยอเสกขธรรม และเนวเสกขานาเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเสกขธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

๓. อธิปติปัจจัย ฯลฯ ๑๑. อาเสวนปัจจัย

[๑๒๐๙] ๑. เสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะ อธิปติปัจจัย, เพราะ อนันตรปัจจัย, เพราะ สมนันตรปัจจัย, เพราะ สหชาตปัจจัย, เพราะ อัญญมัญญปัจจัย, เพราะ นิสสยปัจจัย, เพราะ อุปนิสสยปัจจัย, เพราะ ปุเรชาตปัจจัย, เพราะ อาเสวนปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเสกขธรรม ฯลฯ

[๑๒๑๐] ๒. เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเนวเสกขานาเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะอาเสวนปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม ฯลฯ

ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

๓. เสกขธรรม อาศัยเนวเสกขานาเสกขธรรม ขึ้นเกิด ฯลฯ

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรม ฯลฯ

 
  ข้อความที่ 18  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 303

[๑๒๑๑] ๔. เสกขธรรม อาศัยเสกขธรรมและเนวเสกขานาเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะอาเสวนปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเสกขธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

๑๒. กัมมปัจจัย ฯลฯ ๒๓. อวิคตปัจจัย

[๑๒๑๒] ๑. เสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะกัมมปัจจัย, เพราะวิปากปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเสกขธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ฯลฯ เพราะ อาหารปัจจัย, เพราะ อินทริยปัจจัย, เพราะ ฌานปัจจัย, เพราะ มัคคปัจจัย, เพราะ สัมปยุตตปัจจัย, เพราะ วิปปยุตตปัจจัย, เพราะ อัตถิปัจจัย, เพราะ นิตถิปัจจัย, เพราะ วิคตปัจจัย, เพราะ อวิคตปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๑๒๑๓] ในเหตุปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๗ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๔ วาระ ในกัมมปัจจัย มี

 
  ข้อความที่ 19  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 304

๑๗ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๑๗ วาระ ใน อินทริยปัจจัย ในฌานปัจจัย ในมัคคปัจจัย แต่ละปัจจัยมี ๑๗ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑๗ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

อนุโลมนัย จบ

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๑๒๑๔] ๑. เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเนวเสกขานาเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ

ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ

จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตะ ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ.

 
  ข้อความที่ 20  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 305

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ อาศัยหทยวัตถุ

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และหทยวัตถุ.

๒. นอารัมมณปัจจัย

๑. เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม ฯลฯ เพราะนอารัมมณปัจจัย ฯลฯ

๓. นอธิปติปัจจัย

[๑๒๑๕] ๑. เสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม ฯลฯ เพราะนอธิปติปัจจัย

คือ อธิปติธรรมที่เป็นเสกขธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรม.

๒. อเสกขธรรม อาศัยอเสกขธรรม ฯลฯ เพราะ นอธิปติปัจจัย

คือ อธิปติธรรมที่เป็นอเสกขธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเสกขธรรม.

๓. เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเนวเสกขานาเสกขธรรม ฯลฯ เพราะนอธิปติปัจจัย พึงใส่ให้เต็ม

 
  ข้อความที่ 21  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 306

คือ ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ

จักขายตนะ ฯลฯ

๔. เสกขธรรม อาศัยเนวเสกขานาเสกขธรรม ฯลฯ เพราะนอธิปติปัจจัย

อธิปติธรรมที่เป็นเสกขธรรม อาศัยหทยวัตถุ

๕. อเสกขธรรม อาศัยเนวเสกขานาเสกขธรรม ฯลฯ เพราะนอธิปติปัจจัย

คือ อธิปติธรรมที่เป็นอเสกขธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

[๑๒๑๖] ๖. เสกขธรรมอาศัยเสกขธรรม และเนวเสกขานาเสกขธรรม ฯลฯ เพราะนอธิปติปัจจัย

คือ อธิปติธรรมที่เป็นเสกขธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรมและหทยวัตถุ.

๗. อเสกขธรรม อาศัยอเสกขธรรม และเนวเสกขานาเสกขธรรม ฯลฯ เพราะนอธิปติปัจจัย

คือ อธิปติธรรมที่เป็นอเสกขธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเสกขธรรมและหทยวัตถุ.

๔. นอนันตรปัจจัย ฯลฯ ๑๐. นอาเสวนปัจจัย

[๑๒๑๗] เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม ฯลฯ เพราะนอนันตรปัจจัย เพราะนสมนันตรปัจจัย เพราะนอัญญมัญญ-

 
  ข้อความที่ 22  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 307

ปัจจัย เพราะนอุปนิสสยปัจจัย เพราะนปุเรชาตปัจจัย เพราะ นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๗ วาระ.

เพราะนอาเสวนปัจจัย ฯลฯ

๑๑. นกัมมปัจจัย

[๑๒๑๘] ๑. เสกขธรรมอาศัยเสกขธรรม ฯลฯ เพราะนกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นเสกขธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรม.

๒. เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเนวเสกขานาเสกขธรรม ฯลฯ เพราะนกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็น เนวเสกขานาเสกขธรรม.

พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ

เจตนาที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

๓. เสกขธรรม อาศัยเนวเสกขานาเสกขธรรม ฯลฯ เพราะนกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นเสกขธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

๔. เสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม และเนวเสกขานาเสกขธรรม ฯลฯ เพราะนกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นเสกขธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรม และหทยวัตถุ.

 
  ข้อความที่ 23  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 308

๑๒. นวิปากปัจจัย

[๑๒๑๙] ๑. เสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม ฯลฯ เพราะนวิปากปัจจัย ในเสกขมูลกะ มี ๓ วาระ (วาระที่ ๑ - ๓)

๔. เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเนวเสกขานาเสกขธรรม ฯลฯ เพราะนวิปากปัจจัย ในเนวเสกขานาเสกขมูลกะ มี ๓ วาระ (วาระที่ ๔ - ๖)

๗. เสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม และเนวเสกขานาเสกขธรรมเกิดขึ้น เพราะนวิปากปัจจัย ในปัจจัยสงเคราะห์ แห่ง เสกขธรรมทั้งหลาย มี ๓ วาระ (รวมนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ)

๑๓. นอาหารปัจจัย ฯลฯ ๒๐. โนวิคตปัจจัย

[๑๒๒๐] เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเนวเสกขานาเสกขธรรม ฯลฯ เพราะนอาหารปัจจัย, เพราะนอินทริยปัจจัย, เพราะนฌานปัจจัย, เพราะนมัคคปัจจัย, เพราะนสัมปยุตตปัจจัย, เพราะนวิปปยุตตปัจจัย, เพราะโนนัตถิปัจจัย, เพราะโนวิคตปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๑๒๒๑] ในนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ

 
  ข้อความที่ 24  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 309

ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ ในโนวิตตปัจจัย มี ๕ วาระ

พึงนับอย่างนี้.

ปัจจนียนัย จบ

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๑๒๒๒] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ... ในนอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอนันตรปัจจัย ในนสมนันตรปัจจัย ในนอัญญมัญญปัจจัย ในนอุปนิสสยปัจจัย แต่ละปัจจัยมี ๕ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ ใน โนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

อนุโลมปัจจนียนัย จบ

 
  ข้อความที่ 25  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 310

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๑๒๒๓] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ... ใน อนันตรปัจจัย ในสมนันตรปัจจัย ในสหชาตปัจจัย ในอัญญมัญญปัจจัย แต่ละ ปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

ปัจจนียานุโลม จบ

ปัจจยวาระ จบ

นิสสยวาระ เหมือนกับปัจจยวาระ.

 
  ข้อความที่ 26  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 311

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๑๒๒๔] ๑. เสกขธรรม เจือกับเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นเสกขธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

๒. อเสกขธรรม เจือกับอเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอเสกขธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

๓. เนวเสกขานาเสกขธรรม เจือกับเนวเสกขานา เสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. อารัมมณปัจจัย ฯลฯ ๒๓. อวิคตปัจจัย

[๑๒๒๕] เสกขธรรม เจือกับเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย เกิดขึ้น เพราะปุเรชาตปัจจัย (ทุกปัจจัยมี ๓ วาระ)

เพราะอาเสวนปัจจัย พึงกระทำเป็น ๒ วาระ ฯลฯ

เพราะอวิคตปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 27  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 312

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๑๒๒๖] ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในอนันตรปัจจัย ในสมนันตรแจจัย ในสหชาตปัจจัย ในอัญญมัญญปัจจัย ในนิสสยปัจจัย ในอุปนิสสยปัจจัย ในปุเรชาตปัจจัย แต่ละปัจจัยมี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

อนุโลมนัย จบ

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๑๒๒๗] เนวเสกขานาเสกขธรรม เจือกับเนวเสกขานาเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม ซึ่งเป็น อเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ เจือกับขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

๒. นอธิปติปัจจัย

[๑๒๒๘] ๑. เสกขธรรม เจือกับเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะ นอธิปติปัจจัย

 
  ข้อความที่ 28  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 313

คือ อธิปติธรรมที่เป็นเสกขธรรม เจือกับขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรม.

๒. อเสกขธรรม เจือกับอเสกธรรม ฯลฯ

คือ อธิปติธรรมที่เป็นอเสกขธรรม เจือกันขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเสกขธรรม.

๓. เนวเสกขานาเสกขธรรม เจือกับเนวเสกขานาเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย พึงใส่ให้เต็ม ๓ วาระ.

๓. นปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ ๑๐. นวิปปยุตตปัจจัย

[๑๒๒๙] เสกขธรรม เจือกับเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย, เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย, เพราะนอาเสวนปัจจัย,

เพราะนกัมมปัจจัย พึงกระทำ ๒ วาระ.

เพราะนวิปากปัจจัย พึงกระทำ ๒ วาระ.

เพราะนฌานปัจจัย, เพราะนมัคคปัจจัย (๒ ปัจจัยนี้ มี ๑ วาระ) เพราะนวิปปยุตตปัจจัย (มี ๓ วาระ)

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๑๒๓๐] ในนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในนกัมมปัจจัย ๒ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ.

พึงนับอย่างนี้

ปัจจนียนัย จบ

 
  ข้อความที่ 29  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 314

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๑๒๓๑] เพราะเหตุปัจจัย ในนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ... ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

อนุโลมปัจจนียนัย จบ

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๑๒๓๒] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ... ใน อนันตรปัจจัย ในสมนันตรปัจจัย ในสหชาตปัจจัย ในอัญญมัญญปัจจัย ในนิสสยปัจจัย ในอุปนิสสยปัจจัย ในปุเรชาตปัจจัย ในอาเสวนปัจจัย ในกัมมปัจจัย ในวิปากปัจจัย ในอาหารปัจจัย ในอินทริยปัจจัย ในฌานปัจจัย ในมัคคปัจจัย ในสัมปยุตตปัจจัย ในวิปปยุตตปัจจัย ในอัตถิปัจจัย ในนัตถิปัจจัย ในวิคตปัจจัย ในอวิคตปัจจัย แต่ละปัจจัย มี ๑ วาระ.

พึงนับอย่างนี้

ปัจจนียานุโลมานัย จบ

สังสัฏฐวาระ จบ

สัมปยุตตวาระ เหมือนกับสังสัฎฐวาระ.

 
  ข้อความที่ 30  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 315

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๑๒๓๓] ๑. เสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เสกขธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

[๑๒๓๔] ๒. เสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวเสกขานาเสกขธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลายด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

[๑๒๓๕] ๓. เสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เสกขธรรม และเนวเสกขานาเสกขธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

[๑๒๓๖] ๔. อเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่อเสกขธรรม เกิดขึ้น มี ๓ วาระ (วาระที่ ๔ - ๕ - ๖)

 
  ข้อความที่ 31  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 316

๗. เนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวเสกขานาเสกขธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. อารัมมณปัจจัย

[๑๒๓๗] ๑. เสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวเสกขานาเสกขธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค พิจารณามรรค พิจารณาผลที่เป็นเสกขธรรม.

รู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นเสกขธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

[๑๒๓๘] ๒. อเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวเสกขานาเสกขธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ พระอรหันต์พิจารณาผลที่เป็นอเสกขธรรม.

 
  ข้อความที่ 32  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 317

รู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นอเสกขธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

[๑๒๓๙] ๓. เนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวเสกขานาเสกขธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรมแล้วพิจารณา กุศลกรรมนั้น.

พิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในก่อน

ออกจากฌาน พิจารณาฌาน.

พระอริยะทั้งหลายพิจารณานิพพาน.

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โดยโคตรภู แก่โวทาน แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจ ของอารัมมณปัจจัย.

พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มแล้ว รู้ซึ่งกิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน.

พิจารณาเห็นจักษุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุนั้น ราคะย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

 
  ข้อความที่ 33  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 318

พิจารณาเห็นโสตะ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา, ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ฯลฯ โทมนัสย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ, ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

รู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นเนวเสกขานาเสกธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.

อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณณัญจายตนะ, อากิญจัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

[๑๒๔๐] ๔. เนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เสกขธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ นิพพาน เป็นปัจจัยแก่มรรค แก่ผล ที่เป็นเสกขธรรม ด้วย อำนาจของอารัมมณปัจจัย

[๑๒๔๑] ๕. เนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เสกขธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

 
  ข้อความที่ 34  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 319

คือ นิพพาน เป็นปัจจัยแก่ผลที่เป็นอเสกขธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

๓. อธิปติปัจจัย

[๑๒๔๒] ๑. เสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เสกขธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

อย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

[๑๒๔๓] ๒. เสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวเสกขานาเสกขธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรคกระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา, กระทำผลที่เป็นเสกขธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้ว พิจารณา.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรม ที่เป็นเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 35  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 320

[๑๒๔๔] ๓. เสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เสกขธรรม และเนวเสกขานาเสกขธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

[๑๒๔๕] ๔. อเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่อเสกขธรรม ด้วย อำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นอเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาของอธิปติปัจจัย.

[๑๒๔๖] ๕. อเสกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวเสกขานาเสกขธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

พระอรหันต์กระทำผลที่เป็นอเสกขธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นอเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 36  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 321

[๑๒๔๗] ๖. อเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่อเสกขธรรม และเนวเสกขานาเสกขธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นอเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

[๑๒๔๘] ๗. เนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวเสกขานาเสกธรรม ฯลฯ

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรมแล้ว กระทำกุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.

กระทำกุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.

ออกจากฌาน กระทำฌานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.

พระอริยะทั้งหลายกระทำนิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่โวทาน ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 37  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 322

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำจักษุนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐ ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งเพราะกระทำโสตะ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำโสตะเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

[๑๒๔๙] ๘. เนวเสกขานาเสกธรรม เป็นปัจจัยแก่เสกธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่มรรค แก่ผล ที่เป็นเสกขธรรม ด้วยอำนาจ ของอธิปติปัจจัย.

[๑๒๕๐] ๙. เนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่อเสกขธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

 
  ข้อความที่ 38  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 323

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่ผลที่เป็นอเสกขธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๔. อนันตรปัจจัย

[๑๒๕๑] ๑. เสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เสก-ธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

มรรค เป็นปัจจัยแก่ผลที่เป็นเสกขธรรม. ผลที่เป็นเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่ผลที่เป็นเสกขธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

[๑๒๕๒] ๒. เสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่อเสกขธรรม ด้วย อำนาจของอนันตรปัจจัย.

คือ มรรค เป็นปัจจัยแก่ผลที่เป็นอเสกขธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

[๑๒๕๓] ๓. เสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวเสกขานาเสกขธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ผลที่เป็นเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วยอำนาจของ อนันตรปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 39  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 324

[๑๒๕๔] ๔. อเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่อเสกขธรรม ด้วย อำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเสกขธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นอเสกขธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

ผลที่เป็นอเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่ผลที่เป็นอเสกขธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

[๑๒๕๕] ๕. เสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวเสกขานาเสกขธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

คือ ผลที่เป็นอเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วยอำนาจของ อนันตรปัจจัย.

[๑๒๕๖] ๖. เนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวเสกขานาเสกขธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม ที่เกิดหลังๆ.

อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู.

อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน.

อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 40  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 325

[๑๒๕๗] ๗. เนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เสกขธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค, โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค อนุโลม เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่เป็นเสกขธรรม.

เนวสัญญานาสัญญายตนกุศลของบุคคลผู้ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่เป็นเสกขธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

[๑๒๕๘] ๘. เนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่อเสกขธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

คือ อนุโลม เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่เป็นอเสกขธรรม.

เนวสัญญานาสัญญายตนกิริยาของบุคคลผู้ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่เป็นอเสกขธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๕. สมนันตรปัจจัย

[๑๒๕๙] เสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เสกขธรรม ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย เหมือนกับอนันตรปัจจัย มี ๘ วาระ.

๖. สหชาตปัจจัย ๗. อัญญมัญญปัจจัย

[๑๒๖๐] เสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เสกขธรรม ด้วยอำนาจ ของสหชาติปัจจัย เหมือนกับสหชาตปัจจัยในปฏิจจวาระ มี ๘ วาระ.

อัญญมัญญปัจจัย เหมือนกับอัญญมัญญปัจจัย ในปฏิจจวาระ มี ๓ วาระ.

 
  ข้อความที่ 41  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 326

๘. นิสสยปัจจัย

เหมือนกับนิสสยปัจจัย ในกุสลติกะ มี ๑๓ วาระ.

๙. อุปนิสสยปัจจัย

[๑๒๖๑] ๑. เสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เสกขธรรม ด้วยอำนาจ ของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

ปฐมมรรค เป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

ทุติยมรรค เป็นปัจจัยแก่ตติยมรรค ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

ตติยมรรค เป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรค ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

มรรค เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่เป็นเสกขธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[๑๒๖๒] ๒. เสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่อเสกขธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๒ อย่างคือ ที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

มรรค เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่เป็นอเสกขธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 42  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 327

[๑๒๖๓] ๓. เสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวเสกาขานาเสกขธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือ ที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

พระอริยะทั้งหลายเข้าไปอาศัยมรรคแล้ว ยังสมาบัติที่ยังไม่เกิดให้เกิดขึ้น เข้าสมาบัติที่เกิดขึ้นแล้ว.

พิจารณาเห็นสังขาร โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ

มรรค เป็นปัจจัยแก่อัตถิปฏิสัมภิทา แก่ธัมมปฏิสัมภิทา แก่นิรุตติปฏิสัมภิทา แก่ปฏิภาณปฏิสัมภิทา แก่ความฉลาดในฐานะและอฐานะ ของพระอริยะทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

ผลสมาบัติ ที่เป็นเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่สุขทางกาย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[๑๒๖๔] ๔. อเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่อเสกขธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น อเสกขธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลาย ที่เป็นอเสกขธรรมที่เกิดหลังๆ ฯลฯ ผลที่เป็นอเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่ผลที่เป็นอเสกขธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 43  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 328

[๑๒๖๕] ๕. อเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวเสกขานาเสกขธรรม ฯลฯ

มี ๓ อย่างคือ ที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

ผลสมาบัติ ที่เป็นอเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่สุขทางกาย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[๑๒๖๖] ๖. เนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวเสกขานาเสกขธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือ ที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรมแล้ว ให้ทาน สมาทานศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ ฌาน ฯลฯ วิปัสสนา ฯลฯ อภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม ฯลฯ ปัญญา ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา สุขทางกาย อุตุ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ให้ทาน สมาทานศีลฯสฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

ศรัทธาที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม ฯลฯ ปัญญา ราคะ ฯลฯ ความ ปรารถนา สุขทางกาย ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นเนวเสก-

 
  ข้อความที่ 44  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 329

ขานาเสกขธรรม ฯลฯ แก่ปัญญา แก่ราคะ ฯลฯ แก่ความปรารถนา แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

บริกรรมแห่งปฐมฌาน เป็นปัจจัยแก่ปฐมฌาน ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

บริกรรมแห่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ.

ปฐมฌาน เป็นปัจจัยแก่ทุติยฌาน ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ

อากิญจัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญานาสัญญายตนะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[๑๒๖๗] ๗. เนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เสกขธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

มี ๓ อย่างคือ ที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บริกรรมแห่งปฐมมรรค เป็นปัจจัยแก่ปฐมมรรค ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ บริกรรมแห่งจตุตถมรรค เป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรค ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[๑๒๖๘] ๘. เนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่อเสกขธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

 
  ข้อความที่ 45  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 330

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูนิสสยะ ได้แก่

สุขทางกาย ฯลฯ ทุกข์ทางกาย ฯลฯ อุตุ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่เป็นอเสกขธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย

[๑๒๖๙] ๑. เนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวเสกขานาเสกขธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุนั้น ราคะ ย่อมเกิดขึ้น โทมนัส ฯลฯ

บุคคลพิจารณาเห็นโสตะ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ, ฟังเสียงด้วยโสตธาตุ.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

 
  ข้อความที่ 46  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 331

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ, หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

[๑๒๗๐] ๒. เนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เสกขธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

[๑๒๗๑] ๓. เนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่อเสกขธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเสกขธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย

[๑๒๗๒] ๑. เสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวเสกขานาเสกขธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 47  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 332

[๑๒๗๓] ๒. อเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวเสกขานาเสกขธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเสกขธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กาย นี้ที่เกิดก่อน ฯลฯ

[๑๒๗๔] ๓. เนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวเสกขานาเสกขธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวเสกขธรรมที่เกิดภายหลัง เป็น ปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน.

๑๒. อาเสวนปัจจัย

[๑๒๗๕] ๑. เนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวเสกขานาเสกขธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรมที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรมที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.

อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.

[๑๒๗๖] ๒. เนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เสกขธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย

 
  ข้อความที่ 48  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 333

คือ โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค, โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.

๑๓. กัมมปัจจัย

[๑๒๗๗] ๑. เสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เสกขธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่างคือ ที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

[๑๒๗๘] ๒. เสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่อเสกขธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเสกขธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 49  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 334

[๑๒๗๙] ๓. เสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวเสกขานาเสกขธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

[๑๒๘๐] ๔. เสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เสกขธรรม และเนวเสกขานาเสกขธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เสกขธรรม และ เนวเสกขานาเสกขธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

[๑๒๘๑] ๕. อเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่อเสกขธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นอเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

[๑๒๘๒] ๖. อเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวเสกขานาเสกขธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นอเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 50  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 335

[๑๒๘๓] ๗. อเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่อเสกขธรรม และเนวเสกขานาเสกขธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นอเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

[๑๒๘๔] ๘. เนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวเสกขานาเสกขธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือ ที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น เนวเสกขานาเสกขธรรม ซึ่งเป็นวิบาก และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจ ของกัมมปัจจัย.

๑๔. วิปากปัจจัย

[๑๒๘๕] ๑. เสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เสกขธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย

 
  ข้อความที่ 51  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 336

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นเสกขธรรมซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ใน เสกขมูลกะ มี ๓ วาระ.

[๑๒๘๖] ๔. อเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่อเสกขธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ

ใน อเสกขมูลกะ มี ๓ วาระ.

[๑๒๘๗] ๗. เนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวเสกขานาเสกขธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัย แก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย.

๑๕. อาหารปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย

[๑๒๘๘] เสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เสกขธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 52  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 337

๒๐. วิปปยุตตปัจจัย

[๑๒๘๙] ๑. เสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวเสกขานาเสกขธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรมที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

[๑๒๙๐] ๒. อเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวเสกขานาเสกขธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

เหมือนกับเสกขธรรม.

[๑๒๙๑] ๓. เนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวเสกขานาเสกขธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

 
  ข้อความที่ 53  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 338

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวเสกขานาเสกธรรมที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ขันธ์ทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ.

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

[๑๒๙๒] ๔. เนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เสกขธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 54  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 339

[๑๒๙๓] ๕. เนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่อเสกขธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเสกขธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๒๑. อัตถิปัจจัย

[๑๒๙๔] ๑. เสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เสกขธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ

[๑๒๙๕] ๒. เสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวเสกขานาเสกขธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรมที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิด ก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 55  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 340

[๑๒๙๖] ๓. เสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เสกขธรรม และเนวเสกขานาเสกขธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

[๑๒๙๗] ๔. อเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่อเสกขธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ เหมือนกับเสกขธรรม.

[๑๒๙๘] ๗. เนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวเสกขานาเสกขธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และ อินทริยะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจ ของอัตถิปัจจัย หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ มหาภูตรรูป ๑ ฯลฯ

พาหิรรูป ฯลฯ

ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

 
  ข้อความที่ 56  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 341

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็น อนัตตา, ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุนั้น ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น

บุคคลพิจารณาเห็น โสตะ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังด้วยทิพโสตธาตุ.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ.

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัย แก่กายวิญญาณ.

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัย แก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

กวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ฯลฯ

รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

[๑๒๙๙] ๘. เนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เสกขธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

 
  ข้อความที่ 57  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 342

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

[๑๓๐๐] ๙. เนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่อเสกขธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเสกขธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

[๑๓๐๑] ๑๐. เสกขธรรม และเนวเสกขานาเสกขธรรม เป็น ปัจจัยแก่เสกขธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่เป็นเสกขธรรม และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

[๑๓๐๒] ๑๑. เสกขธรรม และเนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวเสกขานาเสกขธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และรวมกับ อินทริยะ

 
  ข้อความที่ 58  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 343

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ที่เป็นเสกขธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรมที่เกิดภายหลัง และกวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกัน อินทริยะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรมที่เกิดภายหลัง และรูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

[๑๓๐๓] ๑๒. อเสกขธรรม และเนวเสกขานาเสกธรรม เป็นปัจจัยแก่อเสกขธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย พึงกระทำ ๒ วาระ เหมือนเสกขธรรม (คือเหมือนข้อ ๑๓๐๑ - ๑๓๐๒ จึงรวมเป็น ๑๓ วาระ)

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

สุทธมูลกนัย

[๑๓๐๔] ในเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๘ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๘ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๘ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย

 
  ข้อความที่ 59  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 344

มี ๓ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย,มี ๒ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๘ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๗ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๗ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๗ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๗ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๗ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๘ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๘ วาระ ใน อวิคตปัจจัย มี ๑๓ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

อนุโลมนัย จบ

ปัจจนียนัย

การยกปัจจัยในปัจจนียะ

[๑๓๐๕] ๑. เสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เสกขธรรม ด้วยอำนาจ ของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๒. เสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่อเสกขธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[๑๓๐๖] ๓. เสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวเสกขานาเสกขธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

[๑๓๐๗] ๔. เสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เสกขธรรม และเนวเสกขานาเสกขธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 60  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 345

[๑๓๐๘] ๕. อเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่อเสกขธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[๑๓๐๙] ๖. อเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวเสกขานาเสกข ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ สหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

[๑๓๑๐] ๗. อเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่อเสกขธรรม และ เนวเสกขานาเสกขธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.

[๑๓๑๑] ๘. เนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวเสกขานาเสกขธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

[๑๓๑๒] ๙. เนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เสกขธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

[๑๓๑๓] ๑๐. เนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่อเสกขธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 61  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 346

[๑๓๑๔] ๑๑. เสกขธรรม และเนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เสกขธรรม ฯลฯ มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ

[๑๓๑๕] ๑๒. เสกขธรรม และเนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวเสกขานาเสกขธรรม ฯลฯ มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระและรวมกับ อินทริยะ

[๑๓๑๖] ๑๓. อเสกขธรรม และเนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่อเสกขธรรม ฯลฯ

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ

[๑๓๑๗] ๑๔. อเสกขธรรม และเนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวเสกขานาเสกขธรรม ฯลฯ

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และรวมกับ อินทริยะ.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

สุทธมูลกนัย

[๑๓๑๘] ในนเหตุปัจจัย มี ๑๔ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๑๔ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๑๔ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๑๔ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๑๔ วาระ ในนสหชาตปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนนิสสยปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๑๒ วาระ ในนปัจฉาชาต-

 
  ข้อความที่ 62  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 347

ปัจจัย มี ๑๔ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๑๔ วาระ ในนกัมปัจจัย มี ๑๔ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๑๒ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑๔ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑๔ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑๔ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑๔ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๘ วาระ ในโนอัตถิปัจจัย มี ๘ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๑๔ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๑๔ วาระ ในโนอวิคตปัจจัย มี ๘ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

ปัจจนียนัย จบ

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๑๓๑๙] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ... ในนอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๗ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๗ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๗ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๗ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ

พึงนับอย่างนี้.

อนุโลมปัจจนียนัย จบ

 
  ข้อความที่ 63  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 348

ปัจจนียานุโลม

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๑๓๒๐] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ... ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๘ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๘ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๘ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๘ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๗ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๗ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๗ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๗ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๗ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๘ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๘ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑๓ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

ปัจจนียานุโลมนัย จบ

ปัญหาวาระ จบ

เสกขติกะ ที่ ๑๑ จบ

 
  ข้อความที่ 64  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 349

อรรถกถาเสกขติกะ

ใน เสกขติกะ อเสกขธรรมย่อมไม่เป็นปัจจัยแก่เสกขธรรม โดยปัจจัยไรๆ แต่เสกขธรรมเป็นอนันตรรูปนิสสยะ และปกตูนิสสยปัจจัย แก่อเสกขธรรม. คำที่เหลือในอธิการนี้ อธิบายตามบาลี.

ใน ปริตตติกะ ก็เหมือนกัน

อรรถกถาเสกขติกะ จบ