พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย

๑๒. ปริตตติกะ - อนุโลมติกปัฏฐาน

 
บ้านธัมมะ
วันที่  23 ก.พ. 2565
หมายเลข  42216
อ่าน  579

[เล่มที่ 87] พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓

พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๗

ปัฏฐาน ภาคที่ ๓

อนุโลมติกปัฏฐาน

๑๒. ปริตตติกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย 350

๑. เหตุปัจจัย 350

๒. อารัมมณปัจจัย 353

๓. อธิปติปัจจัย 354

๔. อนันตรปัจจัยฯลฯ ๖. สหชาตปัจจัย 356

๗. อัญญมัญญปัจจัยฯลฯ ๑๑. อาเสวนปัจจัย 356

๑๒. กัมมปัจจัยฯลฯ ๒๓. อวิคตปัจจัย 357

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 357

ปัจจนียนัย 357

๑. นเหตุปัจจัย 358

๒. นอารัมมณปัจจัย 358

๓. นอธิปติปัจจัย 360

๔. นอนันตรปัจจัยฯลฯ ๗. นอุปนิสสยปัจจัย 362

๘. นปุเรชาตปัจจัย 363

๙. นปัจฉาชาตปัจจัย ๑๐. นอาเสวนปัจจัย 365

๑๑. นกัมมปัจจัย 368

๑๒. นวิปากปัจจัย 369

๑๓. นอาหารปัจจัย 371

๑๔. นอินทริยปัจจัย 371

๑๕. นฌานปัจจัย 371

๑๖. นมัคคปัจจัย 372

๑๗. นสัมปยุตตปัจจัย 372

๑๘. นวิปปยุตตปัจจัย 372

การนับจํานวนวาระในปัจจนียนัย สุทธมูลกนัย 372

อนุโลมปัจจนียนัย 373

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 373

ปัจจนียานุโลมนัย 374

การนับจํานวนวาระในปัจจียานุโลม 374

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย 375

๑. เหตุปัจจัย 375

๒. อารัมมณปัจจัย 378

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 378

ปัจจนียนัย 379

๑. นเหตุปัจจัย 379

๒. นอารัมมณปัจจัย 380

๓. นอธิปติปัจจัย 380

๔. นอนันตรปัจจัยฯลฯ ๘. นปุเรชาตปัจจัย 383

๙. นปัจฉาชาตปัจจัย ๑๐. นอาเสวนปัจจัย 383

๑๑. นกัมมปัจจัย ๑๒. นวิปากปัจจัย 384

๑๓. นอาหารปัจจัยฯลฯ ๒๐. โนวิคตปัจจัย 384

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 384

อนุโลมปัจจนียนัย 385

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 385

ปัจจนียานุโลมนัย 385

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 385

นิสสยวาระ

นิสสยวาระเหมือนกับปัจจยวาระ 385

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย 386

๑. เหตุปัจจัย 386

๒. อารัมมณปัจจัย ๓. อธิปติปัจจัย 386

๔. อนันตรปัจจัยฯลฯ ๑๐. ปุเรชาตปัจจัย 387

๑๑. อาเสวนปัจจัย 387

๑๒. กัมมปัจจัยฯลฯ ๒๓. อวิคตปัจจัย 387

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 387

ปัจจนียนัย 388

๑. นเหตุปัจจัย 388

๒. นอธิปติปัจจัย 388

๓. นปุเรชาตปัจจัยฯลฯ 389

๔. นปัจฉาชาตปัจจัย ๕. นอาเสวนปัจจัย 390

๖. นกัมมปัจจัย 390

๗. นวิปากปัจจัย 391

๘. นฌานปัจจัยฯลฯ ๑๐. นวิปปยุตตปัจจัย 392

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 392

อนุโลมปัจจนียนัย 393

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 393

ปัจจนียานุโลมนัย 393

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 393

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย 394

๑. เหตุปัจจัย 394

๒. อารัมมณปัจจัย 394

๓. อธิปติปัจจัย 397

๔. อนันตรปัจจัย 401

๕. สมนันตรปัจจัย 404

๖. สหชาตปัจจัย 404

๗. อัญญมัญญปัจจัย 407

๘. นิสสยปัจจัย 409

๙. อุปนิสสยปัจจัย 412

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย 419

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย 420

๑๒. อาเสวนปัจจัย 421

๑๓. กัมมปัจจัย 422

๑๔. วิปากปัจจัย 426

๑๕. อาหารปัจจัยฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย 426

๒๐. วิปปยุตตปัจจัย 427

๒๑. อัตถิปัจจัย 429

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 436

ปัจจนียนัย 436

การยกปัจจัยในปัจจนียะแห่งปัญหาวาระ 436

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 439

อนุโลมปัจจนียนัย 440

การนับวาระในอนุโลมปัจจนียะ 440

ปัจจนียานุโลมนัย 441

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 441


อ่านหัวข้ออื่นๆ ... [เล่มที่ 87]


  ข้อความที่ 1  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 350

๑๒. ปริตตติกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๑๓๒๑] ๑. ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ ฯลฯ

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๒. มหัคคตธรรม อาศัยปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม อาศัยหทยวัตถุ

๓. ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม อาศัยปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

 
  ข้อความที่ 2  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 351

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม อาศัยหทยวัตถุ

กฏัตตารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

[๑๓๒๒] ๔. มหัคคตธรรม อาศัยมหัคคตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๕. ปริตตธรรม อาศัยมหัคคตธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม.

๖. ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม อาศัยมหัคคตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานขณะ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

[๑๓๒๓] ๗. อัปปมาณธรรม อาศัยอัปปมาณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

 
  ข้อความที่ 3  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 352

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

๘. ปริตตธรรม อาศัยอัปปมาณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรม.

๙. ปริตตธรรม และอัปปมาณธรรม อาศัยอัปปมาณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

[๑๓๒๔] ๑๐. ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม และอัปปมาณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอัปปมาณธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

[๑๓๒๕] ๑๑. ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม และมหัคคตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๑๒. มหัคคตธรรม อาศัยปริตตธรรม และมหัคคตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

 
  ข้อความที่ 4  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 353

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม และ หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

๑๓. ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม อาศัยปริตตธรรม และมหัคคตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม และ หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๒. อารัมมณปัจจัย

[๑๓๒๖] ๑. ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ อารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทยวัตถุ.

๒. มหัคคตธรรม อาศัยปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

[๑๓๒๗] ๓. มหัคคตธรรม อาศัยมหัคคตธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

 
  ข้อความที่ 5  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 354

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

[๑๓๒๘] ๔. อัปปมาณธรรม อาศัยอัปปมาณธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

[๑๓๒๙] ๕. มหัคคตธรรม อาศัยปริตตธรรม และมหัคคตธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรมและ หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

๓. อธิปติปัจจัย

[๑๓๓๐] ๑. ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ อธิปติปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

 
  ข้อความที่ 6  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 355

[๑๓๓๑] ๒. มหัคคตธรรม อาศัยมหัคคตธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

๓. ปริตตธรรม อาศัยมหัคคตธรรม เกิดขึ้น เพราะ อธิปติปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม.

๔. ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม อาศัยมหัคคตธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

[๑๓๓๒] ๕. อัปปมาณธรรม อาศัยอัปปมาณธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

๖. ปริตตธรรม อาศัยอัปปมาณธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรม.

๗. ปริตตธรรม และอัปปมาณธรรม อาศัยอัปปมาณธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

 
  ข้อความที่ 7  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 356

[๑๓๓๓] ๘. ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม และอัปปมาณธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอัปปมาณธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

[๑๓๓๔] ๙. ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม และมหัคคตธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๔. อนันตรปัจจัย ฯลฯ ๖. สหชาตปัจจัย

[๑๓๓๕] ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะอนันตรปัจจัย, เพราะสมนันตรปัจจัย, เพราะสหชาตปัจจัย พึงกระทำ มหาภูตรูปแม้ทั้งหมด.

๗. อัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ๑๑. อาเสวนปัจจัย

เพราะ อัญญมัญญปัจจัย, เพราะ นิสสยปัจจัย, เพราะ อุปนิสสยปัจจัย, เพราะ ปุเรชาตปัจจัย พึงกระทำ ๓ วาระ.

เพราะ อาเสวนปัจจัย พึงกระทำ ๓ วาระ.

 
  ข้อความที่ 8  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 357

๑๒. กัมมปัจจัย ฯลฯ ๒๓. อวิคตปัจจัย

เพราะ กัมมปัจจัย, เพราะ วิปากปัจจัย พึงกระทำ ๑๓ วาระ.

เพราะ อาหารปัจจัย, เพราะ อินทริยปัจจัย, เพราะ ฌานปัจจัย

เพราะ มัคคปัจจัย, เพราะ สัมปยุตตปัจจัย, เพราะ วิปปยุตตปัจจัย,

เพราะ อัตถิปัจจัย, เพราะ นัตถิปัจจัย, เพราะ วิคตปัจจัย, เพราะ อวิคตปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๑๓๓๖] ในเหตุปัจจัยมี ๑๓ วาระ ในอารัมมณปัจจัยมี ๕ วาระ ในอธิปติปัจจัยมี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัยมี ๕ วาระ ในสมนันตรปัจจัยมี ๕ วาระ ในสหชาตปัจจัยมี ๑๓ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัยมี ๗ วาระ ในนิสสยปัจจัยมี ๑๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัยมี ๕ วาระ ในปุเรชาตปัจจัยมี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัยมี ๓ วาระ ในกัมมปัจจัยมี ๑๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในอาหารปัจจัยมี ๑๓ วาระ ในอินทริยปัจจัยมี ๑๓ วาระ ใน ฌานปัจจัยมี ๑๓ วาระ ในมัคคปัจจัยมี ๑๓ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัยมี ๕ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัยมี ๑๓ วาระ ในอัตถิปัจจัยมี ๑๓ วาระ ในนัตถิปัจจัยมี ๕ วาระ ในวิคตปัจจัยมี ๕ วาระ ในอวิคตปัจจัยมี ๑๓ วาระ.

อนุโลมนัย จบ

 
  ข้อความที่ 9  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 358

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๑๓๓๗] ๑. ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ นเหตุปัจจัย.

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุอาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทยวัตถุ ฯลฯ

อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ.

พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.

ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ.

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

๒. นอารัมมณปัจจัย

[๑๓๓๘] ๑. ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ นอารัมมณปัจจัย.

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรม, หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย.

 
  ข้อความที่ 10  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 359

มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.

ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ.

[๑๓๓๙] ๒. ปริตตธรรม อาศัยมหัคคตธรรม เกิดขึ้น เพราะ นอารัมมณปัจจัย.

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม.

[๑๓๔๐] ๓. ปริตตธรรม อาศัยอัปปมาณธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย.

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรม.

[๑๓๔๑] ๔. ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม และอัปปมาณธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย.

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอัปปมาณธรรม และมหาภูตรูป ทั้งหลาย.

[๑๓๔๒] ๕. ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม และมหัคคตธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 11  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 360

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอัปปมาณธรรม และมหาภูตรูป ทั้งหลาย.

ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๓. อธิปติปัจจัย

[๑๓๔๓] ๑. ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ นอธิปติปัจจัย.

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตธรรม ฯลฯ.

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทยวัตถุ.

มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ.

ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ

๒. มหัคคตธรรม อาศัยปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย.

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

๓. ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม อาศัยปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 12  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 361

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม อาศัยหทยวัตถุ, กฏัตตารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

[๑๓๔๔] ๔. มหัคคตธรรม อาศัยมหัคคตธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย

คือ อธิปติธรรมที่เป็นมหัคคตธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.

๕. ปริตตธรรม อาศัยมหัคคตธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย.

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคตธรรม ซึ่งเป็นวิบาก.

ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม.

๖. ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม อาศัยมหัคคตธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย.

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

[๑๓๔๕] ๗. อัปปมาณธรรม อาศัยอัปปมาณธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย.

คือ อธิปติธรรมที่เป็นอัปปมาณธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็น อัปปมาณธรรม.

 
  ข้อความที่ 13  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 362

[๑๓๔๖] ๘. ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม และมหัคคตธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตธรรม ซึ่งเป็นวิบาก และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตธรรม และ มหาภูตรูปทั้งหลาย.

๙. มหัคคตธรรม อาศัยปริตตธรรม และมหัคคตธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย.

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

๑๐. ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม อาศัยปริตตธรรม และมหัคคตธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย.

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๔. อนันตรปัจจัย ฯลฯ ๗. นอุปนิสสยปัจจัย

[๑๓๔๗] ๑. ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม ฯลฯ เพราะ นอนันตรปัจจัย, เพราะนสมนันตรปัจจัย, เพราะนอัญญมัญญปัจจัย, เพราะนอุปนิสสยปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 14  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 363

๘. นปุเรชาตปัจจัย

[๑๓๔๘] ๑. ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ นปุเรชาตปัจจัย.

คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น ปริตตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

พึงกระทำมหาภูตรูปทั้งหมดให้พิสดาร. ในปริตตมูลกะ มี ๓ วาระ.

[๑๓๔๙] ๔. มหัคคตธรรม อาศัยมหัคคตธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย.

คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.

๕. ปริตตธรรม อาศัยมหัคคตธรรม ฯลฯ เพราะ นปุเรชาตปัจจัย.

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม.

๖. ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม อาศัยมหัคคตธรรม ฯลฯ เพราะนปุเรชาตปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 15  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 364

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น มหัคคตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

[๑๓๔๐] ๗. อัปปมาณธรรม อาศัยอัปปมาณธรรม ฯลฯ เพราะนปุเรชาตปัจจัย.

คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณธรรม ฯลฯ.

๘. ปริตตธรรม อาศัยอัปปมาณธรรม ฯลฯ. เพราะนปุเรชาตปัจจัย.

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรม.

[๑๓๕๑] ๙. ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม และอัปปมาณธรรม ฯลฯ เพราะนปุเรชาตปัจจัย.

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

[๑๓๕๒] ๑๐. ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม และมหัคคตธรรม ฯลฯ เพราะนปุเรชาตปัจจัย.

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย. ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.

๑๑. มหัคคตธรรม อาศัยปริตตธรรม และมหัคคตธรรม ฯลฯ เพราะนปุเรชาตปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 16  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 365

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ.

๑๒. ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม อาศัยปริตตธรรม และมหัคคตธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๙. นปัจฉาชาตปัจจัย ๑๐. นอาเสวนปัจจัย

[๑๓๕๓] ๑. ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ ปัจฉาชาตปัจจัย เพราะนอาเสวนปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลายอาศัย หทยวัตถุ. มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

[๑๓๕๔] ๒. มหัคคตธรรม อาศัยปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ นอาเสวนปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

 
  ข้อความที่ 17  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 366

๓. ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม อาศัยปริตตธรรม ฯลฯ เพราะนอาเสวนปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม อาศัยหทยวัตถุ, กฏัตตารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

[๑๓๕๕] ๔. มหัคคตธรรม อาศัยมหัคคตธรรม เกิดขึ้น เพราะนอาเสวนปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม ฯลฯ

๕. ปริตตธรรม อาศัยมหัคคตธรรม ฯลฯ เพราะ นอาเสวนปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๖. ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม อาศัยมหัคคตธรรม ฯลฯ เพราะนอาเสวนปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม ฯลฯ

[๑๓๕๖] ๗. อัปปมาณธรรม อาศัยอัปปมาณธรรม ฯลฯ เพราะนอาเสวนปัจจัย

 
  ข้อความที่ 18  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 367

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.

๘. ปริตตธรรม อาศัยอัปปมาณธรรม ฯลฯ เพราะ นอาเสวนปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอัปปมาณธรรม.

๙. ปริตตธรรม และอัปปมาณธรรม อาศัยอัปปมาณธรรม เกิดขึ้น เพราะนอาเสวนปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ฯลฯ.

[๑๓๕๗] ๑๐. ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม และอัปปมาณธรรม เกิดขึ้น เพราะนอาเสวนปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรม และ มหาภูตรูปทั้งหลาย

[๑๓๕๘] ๑๑. ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม และมหัคคตธรรม เกิดขึ้น เพราะนอาเสวนปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตธรรม และมหาภูตรูป ทั้งหลาย.

ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

 
  ข้อความที่ 19  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 368

๑๒. มหัคคตธรรม อาศัยปริตตธรรม และมหัคคตธรรม เกิดขึ้น เพราะนอาเสวนปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

๑๓. ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม อาศัยปริตตธรรมและมหัคคตธรรม เกิดขึ้น เพราะนอาเสวนปัจจัย.

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๑๑. นกัมมปัจจัย

[๑๓๕๙] ๑. ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ นกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นปริตตธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรม

พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป

ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

[๑๓๖๐] ๒. มหัคคตธรรม อาศัยมหัคคตธรรม เกิดขึ้น เพราะ นกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นมหัคคตธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม.

 
  ข้อความที่ 20  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 369

[๑๓๖๑] ๓. อัปปมาณธรรม อาศัยอัปปมาณธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นอัปปมาณธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรม ซึ่งเป็นกุศล.

๑๒. นวิปากปัจจัย

[๑๓๖๒] ๑. ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ นวิปากปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอุปารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ

ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

[๑๓๖๓] ๒. มหัคคตธรรม อาศัยมหัคคตธรรม เกิดขึ้น เพราะ นวิปากปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ

๓. ปริตตธรรม อาศัยมหัคคตธรรม เกิดขึ้น เพราะ นวิปากปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม.

 
  ข้อความที่ 21  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 370

๔. ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม อาศัยมหัคคตธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปากปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ

[๑๓๖๔] ๕. อัปปมาณธรรม อาศัยอัปปมาณธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปากปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณธรรม ซึ่งเป็นกุศล ฯลฯ

๖. ปริตตธรรม อาศัยอัปปมาณธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปากปัจจัย

คือ จิตตสมูกฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรม ซึ่งเป็นกุศล ฯลฯ

๗. ปริตตธรรม และอัปปมาณธรรม อาศัยอัปปมาณธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปากปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณธรรม ซึ่งเป็นกุศล ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ

[๑๓๖๕] ๘. ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม และอัปปมาณธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปากปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอัปปมาณธรรม ซึ่งเป็นกุศล และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

 
  ข้อความที่ 22  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 371

[๑๓๖๖] ๙. ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม และมหัคคตธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปากปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม และ มหาภูตรูปทั้งหลาย.

๑๓. นอาหารปัจจัย

[๑๓๖๗] ๑. ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ นอาหารปัจจัย

คือ พาหิรรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ พึงให้พิสดาร.

๑๔. นอินทริยปัจจัย

๑. ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ นอินทริยปัจจัย

คือ พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย รูปชีวิตินทรีย์ อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๑๕. นฌานปัจจัย

๑. ฯลฯ เพราะนฌานปัจจัย

คือ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยปัญจวิญญาณ ฯลฯ พาหิหรูป ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ พึงกระทำมหาภูตรูปทั้งหมด.

 
  ข้อความที่ 23  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 372

๑๖. นมัคคปัจจัย

๑. ฯลฯ เพราะนมัคคปัจจัย

คือ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ พึงกระทำมหาภูตรูป ทั้งหมด.

๑๗. นสัมปยุตตปัจจัย

๑. ฯลฯ เพราะนสัมปยุตตปัจจัย ฯลฯ (มี ๕ วาระ)

๑๘. นวิปปยุตตปัจจัย

[๑๓๖๘] ๑. ฯลฯ เพราะนวิปปยุตตปัจจัย ฯลฯ

คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ

ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ

๒. มหัคคตธรรม อาศัยมหัคคตธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปยุตตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ ฯลฯ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม ฯลฯ.

[๑๓๖๙] ๓. อัปปมาณธรรม อาศัยอัปปมาณธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย

 
  ข้อความที่ 24  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 373

คือ ในอรูปภูมิ ฯลฯ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณธรรม ฯลฯ.

เพราะโนนัตถิปัจจัย เพราะโนวิคตปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียนัย

สุทธมูลกนัย

[๑๓๗๐] ในเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัยมี ๕ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๑๒ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย ในนฌานปัจจัย ในนมัคคปัจจัย แต่ละปัจจัย มี ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

ปัจจนียนัย จบ

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๑๓๗๑] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ... ในนอธิปติปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย ในนอัญญมัญญปัจจัย ในนอุปนิสสยปัจจัย แต่ละปัจจัย มี ๕ วาระ

 
  ข้อความที่ 25  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 374

ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๑๒ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในน อาเสวนปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนวิปากยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ใน โนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

อนุโลมปัจจนียนัย จบ

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๑๓๗๒] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ ใน อนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ในวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

ปัจจนียานุโลมนัย จบ

ปฏิจจวาระ จบ

สหชาตวาระ เหมือนกับปฏิจจาวาระ.

 
  ข้อความที่ 26  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 375

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๑๓๗๓] ๑. ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ อุปาทารูปอาศัย ฯลฯ

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

๒. มหัคคตธรรม อาศัยปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม อาศัยหทยวัตถุ, ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

๓. อัปปมาณธรรม อาศัยปริตตธรรม เกิดขึ้นเพราะ เหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

๔. ปริตตธรรม และอัปปมาณธรรม อาศัยปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

 
  ข้อความที่ 27  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 376

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรม อาศัยหทยวัตถุ, จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๕. ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม อาศัยปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม อาศัยหทยวัตถุ. จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ อาศัยหทยวัตถุ.

[๑๓๗๔] ๖. มหัคคตธรรม อาศัยมหัคคตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ เป็นมหัคคตธรรม ฯลฯ

๗. ปริตตธรรม อาศัยมหัคคตธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม. ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.

๘. ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม อาศัยมหัคคตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม ฯลฯ.

 
  ข้อความที่ 28  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 377

[๑๓๗๕] ๙. อัปปมาณธรรม อาศัยอัปปมาณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

ในอัปปมาณธรรม มี ๓ วาระ.

[๑๓๗๖] ๑๒. ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม และอัปปมาณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอัปปมาณธรรม และมหาภูตรูป ทั้งหลาย.

๑๓. อัปปมาณธรรม อาศัยปริตตธรรม และอัปปมาณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณธรรม และหทยวัตถุ.

๑๔. ปริตตธรรม และอัปปมาณธรรม อาศัยปริตตธรรม และอัปปมาณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปมาณธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอัปปมาณธรรม และมหาภูตรูป ทั้งหลาย.

[๑๓๗๗] ๑๕. ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม และมหัคคตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

พึงกระทำแม้ทั้ง ๓ วาระ.

 
  ข้อความที่ 29  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 378

๒. อารัมมณปัจจัย

[๑๓๗๘] ๑. ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ อารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทยวัตถุ.

จักขุวิญญาณ อาศัยจักขาตนะ ฯลฯ อาศัยกายายตนะ.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

วาระ ๖ ที่เหลือเหมือนกับเหตุปัจจัย พึงกระทำเป็น ๗ วาระ.

เพราะอธิปติปัจจัย ปฏิสนธิไม่มี วาระ ๑๓ พึงใส่ไม่เต็ม.

เพราะอนันตรปัจจัย ฯลฯ เพราะอวิคตปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๑๓๗๙] ในเหตุปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ ใน นิสสยปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๗ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอินทริยปัจจัย ในฌานปัจจัย ในมัคคปัจจัย แต่ละปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๗ วาระ ใน

 
  ข้อความที่ 30  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 379

วิปปยุตตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑๗ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

อนุโลมนัย จบ

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๑๓๘๐] ๑. ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ นเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทยวัตถุ.

ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ

จักขุวิญญาณ อาศัยจักขาตนะ ฯลฯ กายายตนะ.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ อาศัยหทยวัตถุ.

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และหทยวัตถุ.

 
  ข้อความที่ 31  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 380

๒. นอารัมมณปัจจัย

[๑๓๘๑] ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย.

เหมือนกับปฏิจจวาระ มี ๕ วาระ.

๓. นอธิปติปัจจัย

[๑๓๘๒] ๑. ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ นอธิปติปัจจัย.

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ.

จักขาตนะ ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

๒. มหัคคตธรรม อาศัยปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย.

คือ อธิปติธรรมที่เป็นมหัคคตธรรม อาศัยหทยวัตถุ, ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นมหัคคตธรรม ซึ่งเป็นวิบาก อาศัยหทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

๓. อัปปมาณธรรม อาศัยปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 32  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 381

คือ อธิปติธรรมที่เป็นอัปปมาณธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

๔. ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม อาศัยปริตตธรรม ฯลฯ เพราะนอธิปติปัจจัย.

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม ซึ่งเป็นวิบาก อาศัยหทยวัตถุ. จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.

[๑๓๘๓] ๕. มหัคคตธรรม อาศัยมหัคคตธรรม ฯลฯ เพราะ นอธิปติปัจจัย.

คือ อธิปติธรรมที่เป็นมหัคคตธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม, ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.

๖. ปริตตธรรม อาศัยมหัคคตธรรม เกิดขึ้น เพราะ นอธิปติปัจจัย.

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม ซึ่งเป็นวิบาก.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.

๗. ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม อาศัยมหัคคตธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 33  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 382

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.

[๑๓๘๔] ๘. อัปปมาณธรรม อาศัยอัปปมาณธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย.

คือ อธิปติธรรมที่เป็นอัปปมาณธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรม.

[๑๓๘๕] ๙. อัปปมาณธรรม อาศัยปริตตธรรม และอัปปมาณธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย.

คือ อธิปติธรรมที่เป็นอัปปมาณธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็น อัปปมาณธรรม และหทยวัตถุ.

[๑๓๘๖] ๑๐. ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม และมหัคคตธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.

๑๑. มหัคคตธรรม อาศัยปริตตธรรม และมหัคคตธรรม ฯลฯ เพราะนอธิปติปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 34  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 383

คือ อธิปติธรรมที่เป็นมหัคคตธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็น มหัคคตธรรม และหทยวัตถุ.

ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม ซึ่งเป็นวิบาก และ หทยวัตถุ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.

๑๒. ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม อาศัยปริตตธรรม และมหัคคตธรรม ฯลฯ เพราะนอธิปติปัจจัย.

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม ซึ่งเป็นวิบาก และ หทยวัตถุ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตธรรม ซึ่งเป็นวิบาก และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม ซึ่งเป็นวิบาก และมหาภูตรูป.

๔. นอนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นปุเรชาตปัจจัย

[๑๓๘๗] ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะนอนันตรปัจจัย เพราะนสมนันตรปัจจัย เพราะนอัญญมัญญปัจจัย เพราะนอุปนิสสยปัจจัย เพราะนปุเรชาตปัจจัย เหมือนกับปฏิจจวาระ มี ๑๒ วาระ.

๙. นปัจฉาชาตปัจจัย ๑๐. นอาเสวนปัจจัย

เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย เพราะนอาเสวนปัจจัย พึงใส่ให้เต็ม พึงแสดงว่า วิบาก, จิตตสมุฏฐานรูป ไม่พึงแสดงว่า วิบาก.

 
  ข้อความที่ 35  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 384

๑๑. นกัมมปัจจัย ๑๒. นวิปากปัจจัย

เพราะนกัมมปัจจัย เพราะนวิปากปัจจัย แม้ปฏิสนธิวิบากไม่มี.

๑๓. นอาหารปัจจัย ฯลฯ ๒๐. โนวิคตปัจจัย

เพราะนอาหารปัจจัย เพราะอินทริยปัจจัย เพราะนฌานปัจจัย เพราะนมัคคปัจจัย เพราะนสัมปยุตตปัจจัย เพราะนวิปปยุตตปัจจัย เพราะโนนัตถิปัจจัย เพราะโนวิคตปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๑๓๘๘] ในนเหตุปัจจัยมี ๑ วาระ ในนอารัมมณปัจจัยมี ๕ วาระ ในนอธิปติปัจจัยมี ๑๒ วาระ ในนอนันตรปัจจัยมี ๕ วาระ ในนสมนันตรปัจจัยมี ๕ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัยมี ๕ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัยมี ๕ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัยมี ๑๒ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัยมี ๑๗ วาระ ใน นอาเสวนปัจจัยมี ๑๗ วาระ ในนกัมมปัจจัยมี ๗ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนอาหารปัจจัยมี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัยมี ๑ วาระ ใน นมัคคปัจจัยมี ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัยมี ๕ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัยมี ๕ วาระ ในโนวิคตปัจจัยมี ๕ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

ปัจจนียนัย จบ

 
  ข้อความที่ 36  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 385

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๑๓๘๙] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัยมี ๕ วาระ ... ใน นอธิปติปัจจัยมี ๑๒ วาระ ในนอนันตรปัจจัยมี ๕ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัยมี ๕ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัยมี ๕ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัยมี ๑๒ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัยมี ๑๗ วาระ ในนอาเสวนปัจจัยมี ๑๗ วาระ ในนกัมมปัจจัยมี ๗ วาระ ในนวิปากปัจจัยมี ๑๗ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัยมี ๕ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัยมี ๓ วาระ ในโนนัตถิ- ปัจจัยมี ๕ วาระ ในโนวิคตปัจจัยมี ๕ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

อนุโลมปัจจนียนัย จบ

ปัจจนียานุโลม

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๑๓๙๐] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย ๑ วาระ ... ในอนันตรปัจจัยมี ๑ วาระ ในสมนันตรปัจจัยมี ๑ วาระ ในสหชาตปัจจัยมี ๑ วาระ ฯลฯ ในวิคตปัจจัยมี ๑ วาระ ในอวิคตปัจจัยมี ๑ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

ปัจจนียานุโลมนัย จบ

ปัจจยาวาระ จบ

นิสสยวาระ เหมือนกับปัจจยวาระ.

 
  ข้อความที่ 37  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 386

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๑๓๙๑] ๑. ปริตตธรรม เจือกับปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับ ขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ. ในปฏิสนธิ ฯลฯ

[๑๓๙๒] ๒. มหัคคตธรรม เจือกับมหัคคตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

[๑๓๙๓] ๓. อัปปมาณธรรม เจือกับอัปปมาณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ

๒. อารัมมณปัจจัย ๓. อธิปติปัจจัย

[๑๓๙๔] ๑. ปริตตธรรม เจือกับปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย. เพราะอธิปติปัจจัย ปฏิสนธิ ไม่มี.

 
  ข้อความที่ 38  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 387

๔. อนันตรปัจจัย ฯลฯ ๑๐. ปุเรชาตปัจจัย

เพราะอนันตรปัจจัย เพราะสมนันตรปัจจัย เพราะสหชาตปัจจัย เพราะอัญญมัญญปัจจัย เพราะนิสสยปัจจัย เพราะอุปนิสสยปัจจัย. เพราะปุเรชาตปัจจัย ปฏิสนธิ ไม่มี.

๑๑. อาเสวนปัจจัย

เพราะอาเสวนปัจจัย วิบากก็ดี ปฏิสนธิก็ดี ไม่มี.

๑๒. กัมมปัจจัย ฯลฯ ๒๓. อวิคตปัจจัย

เพราะกัมมปัจจัย เพราะวิปากปัจจัย เพราะอาหารปัจจัย เพราะอินทริยปัจจัย เพราะฌานปัจจัย เพราะมัคคปัจจัย เพราะ สัมปยุตตปัจจัย เพราะวิปปยุตตปัจจัย เพราะอัตถิปัจจัย เพราะนัตถิปัจจัย เพราะวิคตปัจจัย เพราะอวิคตปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๑๓๙๕] ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

อนุโลมนัย จบ

 
  ข้อความที่ 39  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 388

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๑๓๙๖] ๑. ปริตตธรรม เจือกับปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย อุทธัจจะ เจือกับขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

๒. นอธิปติปัจจัย

[๑๓๙๗] ๑. ปริตตธรรม เจือกับปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ นอธิปติปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ เพราะ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

[๑๓๙๘] ๒. มหัคคตธรรม เจือกับมหัคคตธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย

คือ อธิปติธรรมที่เป็นมหัคคตธรรม เจือกับขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม, ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

 
  ข้อความที่ 40  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 389

[๑๓๙๙] ๓. อัปปมาณธรรม เจือกับอัปปมาณธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย

คือ อธิปติธรรมที่เป็นอัปปมาณธรรม เจือกับขันธ์ทั้งหลายที่เป็น อัปปมาณธรรม.

๓. นปุเรชาตปัจัย

[๑๔๐๐] ๑. ปริตตธรรม เจือกับปริตตธรรมเกิดขึ้น เพราะ นปุเรชาตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ ฯลฯ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตธรรม. ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

[๑๔๐๑] ๒. มหัคคตธรรม เจือกับมหัคคตธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม ฯลฯ. ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

[๑๔๐๒] ๓. อัปปมาณธรรม เจือกับอัปปมาณธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณธรรม ฯลฯ

 
  ข้อความที่ 41  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 390

๔. นปัจฉาชาตปัจจัย ๕. นอาเสวนปัจจัย

[๑๔๐๓] ๑. ปริตตธรรม เจือกับปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ นปัจฉาชาตปัจจัย, เพราะนอาเสวนปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตธรรม ฯลฯ.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

[๑๔๐๔] ๒. มหัคคตธรรม เจือกับมหัคคตธรรม เกิดขึ้น เพราะนอาเสวนปัจจัย

คือ ฯลฯ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ฯลฯ.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

[๑๔๐๕] ๕. อัปปมาณธรรม เจือกับอัปปมาณธรรม เกิดขึ้นเพราะนอาเสวนปัจจัย

คือ ฯลฯ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ฯลฯ.

๖. นกัมมปัจจัย

[๑๔๐๖] ๑. ปริตตธรรม เจือกับปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นปริตตธรรม เจือกับขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรม.

 
  ข้อความที่ 42  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 391

[๑๔๐๗] ๒. มหัคคตธรรม เจือกับมหัคคตธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นมหัคคตธรรม เจือกับขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม.

[๑๔๐๘] ๓. อัปปมาณธรรม เจือกับอัปปมาณธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นอัปปมาณธรรม เจือกับขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรม ที่เป็นกุศล.

๗. นวิปากปัจจัย

[๑๔๐๙] ๑. ปริตตธรรม เจือกับปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ นวิปากปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตธรรม ฯลฯ.

[๑๔๑๐] ๒. มหัคคตธรรม เจือกับมหัคคตธรรม เกิดขึ้นเพราะวิปากปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม ฯลฯ.

[๑๔๑๑] ๓. อัปปมาณธรรม เจือกับอัปปมาณธรรม เกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณธรรม ฯลฯ.

 
  ข้อความที่ 43  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 392

๘. นฌานปัจจัย ฯลฯ ๑๐. นวิปปยุตตปัจจัย

[๑๔๑๒] ๑. ปริตตธรรม เจือกับปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ นฌานปัจจัย เพราะนมัคคปัจจัย (มี ๑ วาระ) เพราะนวิปปยุตตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตธรรม ฯลฯ.

[๑๔๑๓] ๒. มหัคคตธรรม เจือกับมหัคคตธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ ฯลฯ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม ฯลฯ.

[๑๔๑๔] ๓. อัปปมาณธรรม เจือกับอัปปมาณธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ ฯลฯ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปาณธรรม ฯลฯ.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๑๘๑๕] ในนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอธิติปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

ปัจจนียนัย จบ

 
  ข้อความที่ 44  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 393

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๑๔๑๖] เพราะเหตุปัจจัย ในนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ... ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปัจฉาปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ. พึงนับอย่างนี้.

อนุโลมปัจจนียนัย จบ

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๑๔๑๗] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ... ในอนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ

พึงนับอย่างนี้.

ปัจจนียานุโลมนัย จบ

สัมปยุตตวาระ เหมือนกับ สังสัฏฐวาระ.

 
  ข้อความที่ 45  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 394

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๑๔๑๘] ๑. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

[๑๔๑๙] ๒. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย. มี ๓ วาระ (วาระ ๒ - ๓ - ๔) พึงกระทำทั้งปวัตติและปฏิสนธิ.

[๑๔๒๐] ๕. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๕ - ๖ - ๗)

๒. อารัมมณปัจจัย

[๑๔๒๑] ๑. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

 
  ข้อความที่ 46  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 395

คือ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล การทำอุโบสถกรรมแล้ว พิจารณากุศลกรรมนั้น.

พิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน. พระอริยะทั้งหลายพิจารณาโคตรภู, พิจารณาโวทาน, พิจารณากิเลสที่ละแล้ว, พิจารณากิเลสที่ข่มแล้ว, รู้ซึ่งกิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน.

พิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่ จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอารัมมณปัจจัย.

[๑๔๒๒] ๒. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

คือ บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ, ฟังสียงด้วยทิพโสตธาตุ. บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นปริตตธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 47  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 396

[๑๔๒๓] ๓. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ, อากิญจัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

บุคคลรู้จิตตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นมหัคคตธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโต ปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

[๑๔๒๔] ๔. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลพิจารณาปฐมฌาน ฯลฯ พิจารณาเนวสัญญานาสัญญายตนะ. พิจารณาทิพยจักษุ ทิพโสตธาตุ ฯลฯ พิจารณาอิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ ฯลฯ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ฯลฯ ยถากัมมูปคญาณ ฯลฯ พิจารณาอนาคตตังสญาณ.

บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภขันธ์นั้น ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

[๑๔๒๕] ๕. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

 
  ข้อความที่ 48  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 397

คือ นิพพาน เป็นปัจจัยแก่มรรค แก่ผล ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

[๑๔๒๖] ๖. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วย อำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค พิจารณามรรค, พิจารณาผล, พิจารณานิพพาน.

นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่โวทาน แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจ ของอารัมมณปัจจัย.

[๑๔๒๗] ๗. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

คือ พระอริยะทั้งหลายรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นอัปปมาณธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่อนาคตังสญาณ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

๓. อธิปติปัจจัย

[๑๔๒๘] ๑. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

 
  ข้อความที่ 49  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 398

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรมแล้ว กระทำกุศลกรรมนั้น ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้วพิจารณา.

บุคคลกระทำกุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้วพิจารณา. พระเสกบุคคลทั้งหลายกระทำโคตรภูให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ กระทำโวทานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้น กระทำจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

[๑๔๒๙] ๒. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 50  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 399

[๑๔๓๐] ๗. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลกระทำปฐมฌานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ เนวสัญญานาสัญญายตนะ ฯลฯ ทิพยจักษุ ฯลฯ กระทำอนาคตังสญาณให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

[๑๔๓๑] ๔. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นมหัคคตธรรมเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 51  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 400

[๑๔๓๒] ๕. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่มรรค แก่ผล ด้วยอำนาจของอธิปปัจจัย.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิติธรรมที่เป็นอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

[๑๔๓๓] ๖. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรคการทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา, กระทำผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ กระทำนิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 52  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 401

[๑๔๓๗] ๗. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม และอัปปมาณธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๔. อนันตรปัจจัย

[๑๔๓๕] ๑. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรมที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน, อาวัชชนะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

[๑๔๓๖] ๒. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ จุติจิตที่เป็นปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่เป็นมหัคคตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นมหัคคตธรรม.

 
  ข้อความที่ 53  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 402

บริกรรมแห่งปฐมฌาน ฯลฯ บริกรรมแห่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ ฯลฯ.

บริกรรมแห่งทิพยจักษุ ฯลฯ บริกรรมแห่งอนาคตังสญาณ เป็นปัจจัยแก่อนาคตังสญาณ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

[๑๔๓๗] ๓. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค,

โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค.

อนุโลมเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

[๑๔๓๘] ๔. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

[๑๔๓๙] ๕. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ จุติจิตที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่เป็นปริตตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 54  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 403

ภวังค์ที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นปริตตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

[๑๔๔๐] ๖. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ เนวสัญญานาสัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติของบุคคลผู้ออกจากนิโรธ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

[๑๔๔๑] ๗. อัปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรมที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรมที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

มรรค เป็นปัจจัยแก่ผล, ผลเป็นปัจจัยแก่ผล ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

[๑๔๔๒] ๘. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ผล เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นปริตตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 55  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 404

[๑๔๔๓] ๙. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ผลเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นมหัคคตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๕. สมนันตรปัจจัย

เหมือนกับ อนันตรปัจจัย.

๖. สหชาตปัจจัย

[๑๔๔๔] ๑. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ, หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.

มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ.

[๑๔๔๕] ๒. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม ฯลฯ

คือ ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.

[๑๔๔๖] ๓. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม ฯลฯ

 
  ข้อความที่ 56  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 405

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.

[๑๔๔๗] ๔. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแต่ปริตตธรรม ฯลฯ

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.

[๑๔๔๘] ๕. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม และ มหัคคตธรรม ฯลฯ

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

[๑๔๔๙] ๖. อัปปมาณธรรมเป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม ฯลฯ

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจ ของสหชาตปัจจัย ฯลฯ.

 
  ข้อความที่ 57  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 406

[๑๔๕๐] ๗. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ฯลฯ

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.

[๑๔๕๑] ๘. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม และอัปปมาณธรรม ฯลฯ

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย ฯลฯ.

[๑๔๕๒] ๙. ปริตตธรรม และอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ ปริตตธรรม ฯลฯ

คือ ขันธ์ที่เป็นอัปปมาณธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.

[๑๔๕๓] ๑๐. ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ฯลฯ

คือ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 58  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 407

[๑๔๕๔] ๑๑. ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ มหัคคตธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย ฯลฯ.

๗. อัญญมัญญปัจจัย

[๑๔๕๕] ๑. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วย อำนาจของอัญญมัญญปัจจัย

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของ อัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ หทยวัตถุเป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ.

ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ.

[๑๔๕๖] ๒. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น มหัคคตธรรม ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย.

[๑๔๕๗] ๒. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น มหัคคตธรรม ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย.

[๑๔๕๗] ๓. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม ฯลฯ

 
  ข้อความที่ 59  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 408

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจ ของอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

[๑๔๕๘] ๔. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ฯลฯ

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย.

[๑๔๕๙] ๕. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม และ มหัคคตธรรม ฯลฯ

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๓ และหทยวัตถุ ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ

[๑๔๖๐] ๖. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม ฯลฯ

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

[๑๔๖๑] ๗. ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม ด้วยอำนาจอัญญมัญญปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ทีเป็นมหัคคตธรรม และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ

 
  ข้อความที่ 60  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 409

๘. นิสสยปัจจัย

[๑๔๖๒] ๑. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ, หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย.

มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ.

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรม ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย.

[๑๔๖๓] ๒. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม ฯลฯ

คือ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นมหัคคตธรรม ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย.

[๑๔๖๔] ๓. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม ฯลฯ

คือ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรม ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 61  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 410

[๑๔๖๕] ๔. มหัคคตธรรม ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม ฯลฯ

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

[๑๔๖๖] ๕. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ฯลฯ

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย.

[๑๔๖๗] ๖. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม ฯลฯ

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

[๑๔๖๘] ๗. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม ฯลฯ

 
  ข้อความที่ 62  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 411

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจ ของนิสสยปัจจัย.

[๑๔๖๙] ๘. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ฯลฯ

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย.

[๑๔๗๐] ๙. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม และ อัปปมาณธรรม ฯลฯ

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย ฯลฯ

[๑๔๗๑] ๑๐. ปริตตธรรม และอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ฯลฯ

คือ ขันธ์ที่เป็นอัปปมาณธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฎบานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย ฯลฯ

[๑๔๗๒] ๑๑. ปริตตธรรม และอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม ฯลฯ

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณธรรม และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

 
  ข้อความที่ 63  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 412

[๑๔๗๓] ๑๒. ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ ปริตตธรรม ฯลฯ

คือ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย.

[๑๔๗๔] ๑๓. ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ มหัคคตธรรม ฯลฯ

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

๙. อุปนิสสยปัจจัย

[๑๔๗๕] ๑. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

 
  ข้อความที่ 64  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 413

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นปริตตธรรมแล้ว ให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรม ยังวิปัสสนาให้เกิดขึ้น ก่อมานะ ถือทิฏฐ.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นปริตตธรรม ฯลฯ ปัญญา ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา สุขทางกาย ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ให้ทาน สมาทาน ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ ยังวิปัสสนาให้เกิดขึ้น ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

ศรัทธาที่เป็นปริตตธรรม ฯลฯ ปัญญา ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา สุข ทางกาย ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นปริตตธรรม ฯลฯ แก่ปัญญา แก่ราคะ ฯลฯ แก่ความปรารถนา แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

กุศลกรรม อกุศลกรรม เป็นปัจจัยแก่วิบาก ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

ปาณาติบาต เป็นปัจจัยแก่ปาณาติบาต ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ

พึงกระทำจักรนัย.

มาตุฆาตกรรม เป็นปัจจัยแก่มาตุฆาตกรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

พึงกระทำจักรนัย เหมือนกับ กุสลติกะ.

[๑๔๗๖] ๒. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม ฯลฯ

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

 
  ข้อความที่ 65  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 414

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธา ที่เป็นปริตตธรรมแล้ว ยังฌานที่เป็น มหัคคตธรรม ให้เกิดขึ้น ยังอภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นปริตตธรรม ฯลฯ ปัญญา ราคะ ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ยังฌานที่เป็นมหัคคตธรรม ให้เกิดขึ้น ยังอภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.

ศรัทธาที่เป็นปริตตธรรม ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็น มหัคคตธรรม ฯลฯ แก่ปัญญา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

บริกรรมแห่งปฐมฌาน ฯลฯ บริกรรมแห่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

บริกรรมแห่งทิพยจักษุ ฯลฯ บริกรรมแห่งอนาคตังสญาณ เป็นปัจจัยแก่อนาคตตังสญาณ.

[๑๔๗๗] ๓. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธา ที่เป็นปริตตธรรมแล้ว ยังฌานที่เป็นอัปปมาณธรรมให้เกิดขึ้น ยังมรรค ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นปริตตธรรม ฯลฯ ปัญญา ราคะ ความปรารถนา สุขทางกาย ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ยังฌานที่เป็นอัปปมาณธรรมให้เกิดขึ้น ยังมรรค ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.

 
  ข้อความที่ 66  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 415

ศรัทธาที่เป็นปริตตธรรม ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็น อัปปมาณธรรม ฯลฯ แก่ปัญญา แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

บริกรรมแห่งปฐมมรรค เป็นปัจจัยแก่ปฐมมรรค ฯลฯ บริกรรมแห่งจตุตถมรรคเป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรค ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[๑๔๗๘] ๔. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตะรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นมหัคคตธรรมแล้ว ยังฌานที่เป็น มหัคคตธรรมให้เกิดขึ้น ยังอภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นมหัคคตธรรม ฯลฯ ปัญญาแล้ว ยังฌานที่เป็นมหัคคตธรรม ฯลฯ ยังอภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.

ศรัทธาที่เป็นมหัคคตธรรม ฯลฯ ปัญญา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นมหัคคตธรรม ฯลฯ แก่ปัญญา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

ปฐมฌาน เป็นปัจจัยแก่ทุติยฌาน ฯลฯ อากิญจัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[๑๔๗๙] ๕. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ฯลฯ

 
  ข้อความที่ 67  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 416

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นมหัคคตธรรมแล้ว ให้ทาน สมาทาน ศีล กระทำอุโบสถกรรม ยังวิปัสสนาให้เกิดขึ้น ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นมหัคคตธรรม ฯลฯ ปัญญา แล้วให้ทาน ฯลฯ ยังวิปัสสนาให้เกิดขึ้น ฯลฯ.

ศรัทธาที่เป็นมหัคคตธรรม ฯลฯ ปัญญา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นปริตตธรรม แก่ปัญญา แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย.

[๑๔๘๐] ๖. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม ฯลฯ

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นมหัคคตธรรมแล้ว ยังฌานที่เป็นอัปปมาณธรรมให้เกิดขึ้น ยังมรรค ฯลฯ ยังผลสมาบัติให้เกิดขึ้น.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นมหัคคตธรรม ฯลฯ ปัญญาแล้ว ยังฌานที่เป็นอัปปมาณธรรม ฯลฯ ยังมรรค ฯลฯ ยังผลสมาบัติให้เกิดขึ้น.

ศรัทธาที่เป็นมหัคคตธรรม ฯลฯ ปัญญา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็น อัปปมาณธรรม แก่ปัญญา ฯลฯ แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 68  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 417

[๑๔๘๑] ๗. อัปปมาณธรรมเป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม ฯลฯ

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกติปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นอัปปมาณธรรมแล้ว ยังฌานที่เป็น อัปปมาณธรรมให้เกิดขึ้น ยังมรรค ฯลฯ ยังผลสมาบัติให้เกิดขึ้น.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นอัปปมาณธรรม ฯลฯ ปัญญาแล้ว ยังฌานที่เป็นอัปปมาณธรรม ฯลฯ ยังมรรค ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.

ศรัทธาที่เป็นอัปปมาณธรรม ฯลฯ ปัญญา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นอัปปมาณธรรม ฯลฯ แก่ปัญญา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

ปฐมมรรค เป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค ฯลฯ ตติยมรรค เป็นปัจจัยแก่ จุตตถมรรค.

มรรค เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ.

[๑๔๘๒] ๘. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นอัปปมาณธรรมแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ ยังวิปัสสนาให้เกิดขึ้น.

 
  ข้อความที่ 69  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 418

บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นอัปปมาณธรรม ฯลฯ ปัญญาแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ วิปัสสนา ฯลฯ.

ศรัทธาที่เป็นอัปปมาณธรรม ฯลฯ ปัญญา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นปริตตธรรม ฯลฯ แก่ปัญญา แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

ผลสมาบัติ เป็นปัจจัยแก่สุขทางกาย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

พระอริยะทั้งหลายเข้าไปอาศัยมรรคแล้ว พิจารณาเห็นสังขารโดย ความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ

มรรค เป็นปัจจัยแก่อัตถปฏิสัมภิทา แก่ธัมมปฏิสัมภิทา แก่นิรุตติปฏิสัมภิทา แก่ปฏิภาณปฏิสัมภิทา แก่ความฉลาดในฐานะและอฐานะของพระอริยะทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[๑๔๘๓] ๙. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรมด้วย อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นอัปปมาณธรรม ยังฌานที่เป็นมหัคคตธรรม ฯลฯ อภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นอัปปมาณธรรม ฯลฯ ปัญญา ยังฌานที่เป็น มหัคคตธรรม ฯลฯ ยังอภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.

ศรัทธาที่เป็นอัปปมาณธรรม ฯลฯ ปัญญา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็น มหัคคตธรรม ฯลฯ แก่ปัญญา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 70  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 419

พระอริยะทั้งหลายเข้าไปอาศัยมรรคแล้ว ยังสมาบัติที่ยังไม่เกิดให้เกิดขึ้น เข้าสมาบัติที่เกิดขึ้นแล้ว.

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย

[๑๔๘๔] ๑. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุนั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลพิจารณาเห็น โสตะ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ปริตตธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

[๑๔๘๕] ๒. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม ด้วยอำนาของปุเรชาตปัจจัย

 
  ข้อความที่ 71  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 420

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ, ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม ด้วยอำนาจ ของปุเรชาตปัจจัย.

[๑๔๘๖] ๓. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

คือ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย

[๑๔๘๗] ๑. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

[๑๔๘๘] ๒. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย

 
  ข้อความที่ 72  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 421

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กาย นี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

[๑๘๘๙] ๓. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

๑๒. อาเสวนปัจจัย

[๑๔๙๐] ๑. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรมที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรม ที่เกิดหลังๆ.

อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู.

อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.

[๑๔๙๑] ๒. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย

คือ บริกรรมแห่งปฐมฌาน เป็นปัจจัยแก่ปฐมฌาน ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย ฯลฯ บริกรรมแห่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะนั้นเอง ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 73  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 422

บริกรรมแห่งทิพยจักษุ ฯลฯ บริกรรมแห่งอนาคตังสญาณ เป็นปัจจัยแก่อนาคตังสญาณ ด้วยอำนาจของเสวนปัจจัย.

[๑๔๙๒] ๒. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย

คือ โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค.

โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.

[๑๔๙๓] ๓. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรมที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรมที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.

๑๓. กัมมปัจจัย

[๑๔๙๔] ๑. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง ที่เป็น คือ สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 74  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 423

ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่เป็นปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นปริตตธรรมซึ่งเป็นวิบาก และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

[๑๔๙๕] ๒. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

[๑๔๙๖] ๓. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

 
  ข้อความที่ 75  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 424

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

[๑๔๙๗] ๔. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นมหัคคตธรรม ซึ่ง เป็นวิบาก และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 76  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 425

[๑๔๙๘] ๕. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

[๑๔๙๙] ๖. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วย อำนาจของกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

[๑๕๐๐] ๗. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม และอัปปมาณธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 77  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 426

๑๔. วิปากปัจจัย

[๑๕๐๑] ๑. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย.

[๑๕๐๒] ๒. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๒ - ๓ - ๔) พึงกระทำ ทั้งปวัตติ และปฏิสนธิ.

[๑๕๐๓] ๕. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๕ - ๖ - ๗) พึงกระทำ ปวัตติ อย่างเดียว.

๑๕. อาหารปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย

[๑๕๐๔] ๑. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย (แต่ละปัจจัย มี ๗ วาระ)

 
  ข้อความที่ 78  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 427

๒๐. วิปปยุตตปัจจัย

๑. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ฯลฯ

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรมที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย, ขันธ์ทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ หทยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะที่เกิดก่อน เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของ วิปปยุตตปัจจัย ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรม ด้วยอำนาจ ของวิปปยุตตปัจจัย

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

[๑๕๐๕] ๒. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

 
  ข้อความที่ 79  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 428

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

[๑๕๐๖] ๓. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุที่เกิดก่อน เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

[๑๕๐๗] ๔. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรมที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 80  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 429

[๑๕๐๘] ๕. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรมที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๒๑. อัตถิปัจจัย

[๑๕๐๙] ๑. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และ อินทริยะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตธรรมที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย หทยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ.

 
  ข้อความที่ 81  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 430

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ บุคคลพิจารณาเห็นหทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นปริตตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

กวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

[๑๕๑๐] ๒. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

 
  ข้อความที่ 82  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 431

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

[๑๕๑๑] ๓. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุที่เกิดก่อน เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

[๑๕๑๒] ๔. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

[๑๕๑๓] ๕. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

 
  ข้อความที่ 83  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 432

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรมที่เกิดพร้อมกับเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

[๑๕๑๔] ๖. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม และ มหัคคตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.

[๑๕๑๕] ๗. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ.

 
  ข้อความที่ 84  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 433

[๑๕๑๖] ๘. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรมที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

[๑๕๑๗] ๙. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม และ อัปปมาณธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

[๑๕๑๘] ๑๐. ปริตตธรรม และอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และรวมกับ อินทริยะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

 
  ข้อความที่ 85  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 434

ขันธ์ที่เป็นอัปปมาณธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรมที่เกิดภายหลัง และกวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อินทริยะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรมที่เกิดภายหลัง และรูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

[๑๕๑๙] ๑. ปริตตธรรม และอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณธรรมที่เกิดพร้อมกัน และหทยวัตถุ เป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

[๑๕๒๐] ๑๒. ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ ปริตตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และรวมกับ อินทริยะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ที่เป็นมหัคคตธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 86  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 435

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม และกวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่ กายนี้.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อินทริยะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม และรูปชีวิตนทรีย์ เป็นปัจจัยแก่ กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

[๑๕๒๑] ๑๓. ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ มหัคคตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรมที่เกิดพร้อมกัน และหทยวัตถุ เป็นปัจจัย แก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม และหทยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ ฯลฯ.

๒๒. นัตถิปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนัตถิปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิคตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 87  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 436

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

สุทธมูลกนัย

[๑๕๒๒] ในเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๗ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๔ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิปากปัจจัย ในอาหารปัจจัย ในอินทริยปัจจัย ในฌานปัจจัย ในมัคคปัจจัย แต่ละปัจจัย มี ๗ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑๓ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

อนุโลมนัย จบ

ปัจจนียนัย

การยกปัจจัยในปัจจนียะแห่งปัญหาวาระ

[๑๕๒๓] ๑. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 88  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 437

[๑๕๒๔] ๒. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ ปุเรชาตปัจจัย.

[๑๕๒๕] ๓. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย,

[๑๕๒๖] ๔. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[๑๕๒๗] ๕. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วย อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

[๑๕๒๘] ๖. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 89  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 438

[๑๕๒๙] ๗. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

[๑๕๓๐] ๘. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[๑๕๓๑] ๙. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

[๑๕๓๒] ๑๐. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[๑๕๓๓] ๑๑. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม และอัปปมาณธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.

[๑๕๓๔] ๑๒. ปริตตธรรม และอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัย แก่ปริตตธรรม ฯลฯ

 
  ข้อความที่ 90  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 439

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และรวมกับ อินทริยะ.

[๑๕๓๕] ๑๓. ปริตตธรรม และอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัย แก่อัปปมาณธรรม ฯลฯ

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ.

[๑๕๓๖] ๑๔. ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ ปริตตธรรม ฯลฯ

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และรวมกับ อินทริยะ.

[๑๕๓๗] ๑๕. ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ มหัคคตธรรม ฯลฯ

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๑๕๓๘] ในนเหตุปัจจัย มี ๑๕ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๑๕ วาระ ในนอธิปติปัจจัย ในนอนันตรปัจจัย ในนสมนันตรปัจจัย แต่ละปัจจัย

 
  ข้อความที่ 91  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 440

มี ๑๕ วาระ ในนสหชาตปัจจัย มี ๑๒ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๑๒ วาระ ในนนิสสยปัจจัย มี ๑๒ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๑๔ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๑๔ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๕ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๑๕ วาระ ฯลฯ ในนมัคคปัจจัย มี ๑๕ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๑๒ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในโนอัตถิปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๑๕ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๑๕ วาระ ในโนอวิคตปัจจัย มี ๑๐ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

ปัจจนียนัย จบ

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๑๕๓๙] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ... ใน นอธิปติปัจจัย ในนอนันตรปัจจัย ในนสมนันตรปัจจัย แต่ละปัจจัยมี ๗ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ฯลฯ ในนมัคคปัจจัย มี ๗ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

อนุโลมปัจจนียนัย จบ

 
  ข้อความที่ 92  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 441

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๑๕๔๐] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ... ใน อธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๗ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๔ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ ฯลฯ ในมัคคปัจจัย มี ๗ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๑๓ วาระ ใน นัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑๓ วาระ.

ปัจจนียานุโลมนัย จบ

ปริตตติกะที่ ๑๒ จบ (๑)


(๑) ติกะนี้ ไม่มีอรรถกถาอธิบาย.