๑๖. มัคคารัมมณติกะ - อนุโลมติกปัฏฐาน
[เล่มที่ 87] พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓
พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๗
ปัฏฐาน ภาคที่ ๓
อนุโลมติกปัฏฐาน
๑๖. มัคคารัมมณติกะ
ปฏิจจวาระ
๒. อารัมมณปัจจัยฯลฯ ๒๒. อวิคตปัจจัย 537
๓. นปุเรชาตปัจจัย ๔. นปัจฉาชาตปัจจัย 542
การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 547
การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 547
การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 548
ปัญหาวาระ
๖. สหชาตปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย 563
๑๒. อาหารปัจจัย ฯลฯ ๒๐. อวิคตปัจจัย 571
ปัจจนียนัย
การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 576
การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 577
อ่านหัวข้ออื่นๆ ... [เล่มที่ 87]
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 534
๑๖. มัคคารัมมณติกะ
ปฏิจจวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๑๗๖๘] ๑. มัคคารัมมณธรรม อาศัยมัคคารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคารัมมณธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
๒. มัคคาธิปติธรรม อาศัยมัคคารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นมัคคาธิปติธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคารัมมณธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
๓. มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม อาศัย มัคคารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นมัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม อาศัย ขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคารัมมณธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
[๑๗๖๙] ๔. มัคคเหตุกธรรม อาศัยมัคคเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 535
๕. มัคคาธิปติธรรม อาศัยมัคคเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นมัคคาธิปติปธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
๖. มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม อาศัย มัคคเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นมัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
[๑๗๗๐] ๗. มัคคาธิปติธรรม อาศัยมัคคาธิปติธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคาธิปติธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
๘. มัคคารัมมณธรรม อาศัยมัคคาธิปติธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นมัคคารัมมณธรรม อาศัยมัคคาธิปติธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
๙. มัคคเหตุธรรม อาศัยมัคคาธิปติธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นมัคคเหตุกธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคาธิปติธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 536
๑๐. มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม อาศัย มัคคาธิปติธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นมัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม อาศัย ขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคาธิปติธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
๑๑. มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม อาศัย มัคคาธิปติธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นมัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคาธิปติธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
[๑๗๗๑] ๑๒. มัคคารัมมณธรรม อาศัยมัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นมัคคารัมมณธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
๑๓. มัคคาธิปติธรรม อาศัยมัคคารัมมณธรรม และ มัคคาธิปติธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นมัคคาธิปติธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
๑๔. มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม อาศัยมัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นมัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม อาศัย ขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 537
[๑๗๗๒] ๑๕. มัคคเหตุกธรรม อาศัยมัคคเหตุกธรรม และ มัคคาธิปติธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นมัคคเหตุกธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
๑๖. มัคคาธิปติธรรม อาศัยมัคคเหตุกธรรม และ มัคคาอธิปติธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นมัคคาธิปติธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
๑๗. มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม อาศัย มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นมัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
๒. อารัมมณปัจจัย ฯลฯ ๒๒. อวิคตปัจจัย
[๑๗๗๓] ๑. มัคคารัมมณธรรม อาศัยมัคคารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะะอารัมมณปัจจัย, เพราะอธิปติปัจจัย, เพราะอนันตรปัจจัย, เพราะสมนันตรปัจจัย, เพราะสหชาตปัจจัย, เพราะอัญญมัญญปัจจัย, เพราะนิสสยปัจจัย, เพราะอุปนิสสยปัจจัย, เพราะปุเรชาตปัจจัย, เพราะอาเสวนปัจจัย, เพราะกัมมปัจจัย, เพราะอาหารปัจจัย เพราะอินทริยปัจจัย, เพราะฌานปัจจัย, เพราะมัคคปัจจัย, เพราะสัมปยุตตปัจจัย, เพราะวิปปยุตตปัจจัย, เพราะอัตถิปัจจัย, เพราะนัตถิปัจจัย เพราะวิคตปัจจัย, เพราะอวิคตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 538
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๑๗๗๔] ในเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ ในอารัมมณปัจจัย ในอธิปติปัจจัย ในอนันตรปัจจัย ในสมนันตรปัจจัย ในสหชาตปัจจัย ให้อัญญมัญญปัจจัย ในนิสสยปัจจัย ในอุปนิสสยปัจจัย ในปุเรชาตปัจจัย ในอาเสวนปัจจัย ในกัมมปัจจัย ในอาหารปัจจัย ในอินทริยปัจจัย ในฌานปัจจัย ในมัคคปัจจัย ในสัมปยุตตปัจจัย ในวิปปยุตตปัจจัย ในอัตถิปัจจัย ในนัตถิปัจจัยั ในวิคตปัจจัย ในอวิคตปัจจัย แต่ละปัจจัย มี ๑๗ วาระ.
อนุโลมนัย จบ
ปัจจนียนัย
๑. นเหตุปัจจัย
[๑๗๗๕] ๑. มัคคารัมมณธรรม อาศัยมัคคารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคารัมมณธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
๒. นอธิปติปัจจัย
[๑๗๗๖] ๑. มัคคารัมมณธรรม อาศัยมัคคารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัย ขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคารัมมณธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 539
๒. มัคคาธิปติธรรม อาศัยมัคคารัมมณธรรมเกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นมัคคาธิปติธรรม อาศัย ขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคารัมมณธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
๓. มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม อาศัย มัคคารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นมัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม อาศัย ขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคารัมมณธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
[๑๗๗๗] ๔. มัคคเหตุกธรรม อาศัยมัคคเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ อธิปติธรรมที่เป็นมัคคเหตุกธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคเหตุกธรรม.
๕. มัคคาธิปติธรรม อาศัยมัคคาเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ อธิปติธรรมที่เป็นมัคคาธิปติธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคเหตุกธรรม.
๖. มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม อาศัย มัคคาเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ อธิปติธรรมที่เป็นมัคคาเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม อาศัย ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคาเหตุกธรรม.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 540
[๑๗๗๘] ๗. มัคคาธิปติธรรม อาศัยมัคคาธิปติธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ อธิปติธรรมที่เป็นมัคคาธิปติธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็น มัคคาธิปติธรรม.
ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคาธิปติธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
๘. มัคคารัมมณธรรม อาศัยมัคคาธิปติธรรมเกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นมัคคารัมมณธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคาธิปติธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
๙. มัคคเหตุกธรรม อาศัยมัคคาธิปติธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ อธิปติธรรมที่เป็นมัคคเหตุกธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็น มัคคาธิปติธรรม.
๑๐. มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม อาศัย มัคคาธิปติธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นมัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม อาศัย ขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคาธิปติธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
๑๑. มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม อาศัย มัคคาธิปติธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ อธิปติธรรมที่เป็นมัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม อาศัย ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคาธิปติธรรม.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 541
[๑๗๗๙] ๑๒. มัคคารัมมณธรรม อาศัยมัคคารัมมณธรรม และ มัคคาธิปตธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นมัคคารัมมณธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
๑๓. มัคคาธิปติธรรม อาศัยมัคคารัมมณธรรม และ มัคคาธิปติธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นมัคคาธิปติธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
๑๔. มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม อาศัย มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นมัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม อาศัย ขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
[๑๗๘๐] ๑๕. มัคคเหตุกธรรม อาศัยมัตตเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ อธิปติธรรมที่เป็นมัคคเหตุกธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม.
๑๖. มัคคาธิปติธรรม อาศัยมัคคเหตุกธรรม และ มัคคาธิปติธรรม ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 542
คือ อธิปติธรรมที่เป็นมัคคาธิปติธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม.
๑๗. มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม อาศัย มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ อธิปติธรรมที่เป็นมัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม อาศัย ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม.
๓. นปุเรชาตปัจจัย ๔. นปัจฉาชาตปัจจัย
[๑๗๘๑] ๑. มัคคารัมมณธรรม อาศัยมัคคารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย ทั้งสองปัจจัยนี้ี
พึงทำให้บริบรูณ์ (มี ๑๗ วาระ)
๕. นอาเสวนปัจจัย
[๑๗๘๒] ๑. มัคคารัมมณธรรม อาศัยมัคคารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะนอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคารัมมณธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
๒. มัคคาธิปติธรรม อาศัยมัคคารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะนอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นมัคคาธิปติธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคารัมมณธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 543
๓. มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม อาศัย มัคคารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะนอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นมัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม อาศัย ขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคารัมมณธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
[๑๗๘๓] ๔. มัคคาธิปติธรรม อาศัยมัคคาธิปติธรรม เกิดขึ้น เพราะนอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคาธิปติธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
๕. มัคคารัมมณธรรม อาศัยมัคคาธิปติธรรม เกิดขึ้น เพราะนอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นมัคคารัมมณธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคาธิปติธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
๖. มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม อาศัยมัคคาธิปติธรรม เกิดขึ้น เพราะนอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นมัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคาธิปติธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
[๑๗๘๔] ๗. มัคคารัมมณธรรม อาศัยมัคคารัมมณธรรม และ มัคคาฐิปติธรรม เกิดขึ้น เพราะนอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นมัคคารัมณธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 544
๘. มัคคาธิปติธรรม อาศัยมัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม เกิดขึ้น เพราะนอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นมัคคาธิปติธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
๙. มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม อาศัย มัคคารัมมธรรม และมัคคาธิปติธรรม เกิดขึ้น เพราะนอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นมัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม อาศัย ขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
๖. นกัมมปัจจัย
[๑๗๘๕] ๑. มัคคารัมมณธรรม อาศัยมัคคารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นมัคคารัมมณธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคารัมมณธรรม.
๒. มัคคาธิปติธรรม อาศัยมัคคารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นมัคคาธิปติธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคารัมมณธรรม.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 545
๓. มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม อาศัยมัคคารัมมณธรรม ฯลฯ เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นมัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม อาศัยขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นมัคคารัมมณธรรม.
[๑๗๘๖] ๔. มัคคเหตุกธรรม อาศัยมัคคเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นมัคคาเหตุกธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคเหตุกธรรม.
๕. มัคคาธิปติธรรม อาศัยมัคคเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นมัคคาธิปติธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคเหตุกธรรม.
๖. มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม อาศัย มัคคเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นมัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม อาศัยขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นมัคคเหตุกธรรม.
[๑๗๘๗] ๗. มัคคาธิปติธรรม อาศัยมัคคาธิปติธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 546
คือ เจตนาที่เป็นมัคคาธิปติธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคาธิปติธรรม. มี ๕ วาระ. (วาระที่ ๗ - ๑๑)
[๑๗๘๘] ๑๒. มัคคารัมมณธรรม อาศัยมัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย. ในฆฏนาแรก มี ๓ วาระ. (วาระที่ ๑๒ - ๑๔)
[๑๗๘๙] ๑๕. มัคคเหตุกธรรม อาศัยมัคคเหตุธรรม และ มัคคาธิปติธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย. ในฆฏนาที่ ๒ มี ๓ วาระ. (วาระที่ ๑๕ - ๑๖ - ๑๗)
๗. นวิปากปัจจัย
[๑๗๙๐] ๑. มัคคารัมมณธรรม อาศัยมัคคารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปากปัจจัย พึงใส่ให้เต็ม. (๑๗ วาระ)
๘. นมัคคปัจจัย
[๑๗๙๑] ๑. มัคคารัมมณธรรม อาศัยมัคคารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะนมัคคปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคารัมมณธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 547
๙. นวิปปยุตตปัจจัย
[๑๗๙๒] ๑. มัคคารัมมณธรรม อาศัยมัคคารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปยุตตปัจจัย พึงใส่ให้เต็ม (๑๗ วาระ) พึงกำหนดว่า อรูป,
การนับจำนวนปัจจัยในปัจจนียะ
[๑๗๙๓] ในนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๑๗ วาระ.
พึงนับอย่างนี้
ปัจจนียนัย จบ
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๑๗๙๔] เพราะเหตุปัจจัย ในนอธิปติปัจจัย มี ๑๗ วาระ... ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๑๗ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมปัจจนียนัย จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 548
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๑๗๙๕] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ... ใน อนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ในปัจจัยทั้ง ปวง มี ๑ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียานุโลมนัย จบ
ปฏิจจวาระ จบ
สหชาตวาระก็ดี ปัจจยวาระก็ดี นิสสยวาระก็ดี สังสัฏฐวาระก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี เหมือนกับปฏิจจวาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 549
ปัญหาวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๑๗๙๖] ๑. มัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นมัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
[๑๗๙๗] ๒. มัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นมัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
[๑๗๔๘] ๓. มัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย. ผู้มีปัญญาพึง กระทำเป็น ๑๗ วาระด้วยเหตุนี้.
๒. อารัมมณปัจจัย
[๑๗๙๙] ๑. มัคคเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่แก่มัคคารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 550
คือ พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค พิจารณามรรค.
ย่อมรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นมัคคเหตุกธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ, แก่อนาคตังสญาณ, แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
[๑๘๐๐] ๒. มัคคเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.
[๑๘๐๑] ๓. มัคคาเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.
[๑๘๐๒] ๔. มัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 551
[๑๘๐๓] ๕. มัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค พิจารณามรรค.
ย่อมรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นมัคคาธิปติธรรม ด้วย เจโตปริยญาณ.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ, แก่อนาคตังสญาณ, แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
[๑๘๐๔] ๖. มัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.
[๑๘๐๕] ๗. มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัย แก่มัคคารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค พิจารณามรรค.
รู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นมัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 552
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ, แก่ปุพเพนิวาสานุสสสติญาณ, แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
[๑๘๐๖] ๘. มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัย แก่มัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.
[๑๘๐๗] ๙. มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัย แก่มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา.
๓. อธิปติปัจจัย
[๑๘๐๘] ๑. มัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นมัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ด้วย อำนาจของอธิปติปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 553
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นมัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๘๐๙] ๒. มัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นมัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
[๑๘๑๐] ๓. มัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นมัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๘๑๑] ๔. มัคคเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 554
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นมัคคเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๘๑๒] ๕. มัคคเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.
[๑๘๑๓] ๖. มัคคเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นมัคคเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 555
[๑๘๑๔] ๗. มัคคเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.
[๑๘๑๕] ๘. มัคคเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นมัคคเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นมัคคเหตุกธรรมและมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๘๑๖] ๙. มัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคาธิปติธรรม ด้วยอํานาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค ฯลฯ พิจารณา.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นมัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 556
[๑๘๑๗] ๑๐. มัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค ฯลฯ พิจารณา.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นมัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นมัคคารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๘๑๘] ๑๑. มัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นมัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นมัคคเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๘๑๙] ๑๒. มัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 557
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นมัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นมัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติ ปัจจัย.
[๑๘๒๐] ๑๓. มัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นมัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นมัคคเหตุกธรรมและมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๘๒๑] ๑๔. มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นมัคคารัมมธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นมัคคารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๘๒๒] ๑๕. มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 558
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นมัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๘๒๓] ๑๖. มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นมัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๘๒๔] ๑๗. มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่นแล้ว พิจารณา.
[๑๘๒๕] ๑๘. มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 559
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นมัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๘๒๖] ๑๙. มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค ฯลฯ
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นมัคคเหตุกธรรมและมัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๘๒๗] ๒๐. มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค ฯลฯ พิจารณา
[๑๘๒๘] ๒๑. มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 560
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นมัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
๔. อนันตรปัจจัย
[๑๘๒๙] ๑. มัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคารัมมณธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคารัมมณธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๑๘๓๐] ๒. มัคคารัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคารัมมณธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคาธิปติธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
อาวัชชนะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 561
[๑๘๓๑] ๓. มัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรมด้วย อำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคารัมมณธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัย แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรมที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคารัมมณธรรมและ มัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๑๘๓๒] ๔. มัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคาธิปติธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคาธิปติธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๑๘๓๓] ๕. มัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคาธิปติธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัย แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคารัมมณธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๑๘๓๔] ๖. มัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 562
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคาธิปติธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรมที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๑๘๓๕] ๗. มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคารัมมณธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วย อำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๑๘๓๖] ๘. มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคาธิปติธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๑๘๓๗] ๙. มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 563
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
๕. สมนันตรปัจจัย
[๑๘๓๘] ๑. มัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย เหมือนกับอนันตรปัจจัย.
๖. สหชาตปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ ของอัญญมัญญปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย ในปัจจัย ทั้ง ๓ พึงกระทำเป็น ๑๗ วาระ.
๙. อุปนิสสยปัจจัย
[๑๘๓๙] ๑. มัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ปัจจเวกขณะที่เป็นปัจจัยแก่ปัจจเวกขณะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 564
[๑๘๔๐] ๒. มัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ปัจจเวกขณะ เป็นปัจจัยแก่ปัจจเวกขณะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๘๔๑] ๓. มัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ปัจจเวกขณะ เป็นปัจจัยแก่ปัจจเวกขณะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๘๔๒] ๔. มัคคเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ปฐมมรรค เป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ ตติยมรรค เป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรค ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 565
[๑๘๔๓] ๕. มัคคเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ ได้แก่
พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.
[๑๘๔๔] ๖. มัคคเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ปฐมมรรค เป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค ฯลฯ ตติยมรรค เป็นปัจจัยแก่ จตุตถมรรค ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๘๔๕] ๗. มัคคเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ ได้แก่
พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.
[๑๘๔๖] ๘. มัคคเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 566
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ปฐมมรรค เป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค ฯลฯ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๘๔๗] ๙. มัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ปฐมมรรค เป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค ฯลฯ ตติยมรรค เป็นปัจจัยแก่ จตุตถมรรค ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
ปัจจเวกขณะ เป็นปัจจัยแก่ปัจจเวกขณะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๘๔๘] ๑๐. มัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ปัจจเวกขณะ เป็นปัจจัยแก่ปัจจเวกขณะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 567
[๑๘๔๙] ๑๑. มัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ปฐมมรรค ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรค ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๘๕๐] ๑๒. มัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ปัจจเวกขณะ เป็นปัจจัยแก่ปัจจเวกขณะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๘๕๑] ๑๓. มัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ปฐมมรรค ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรค ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 568
[๑๘๕๒] ๑๔. มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ปัจจเวกขณะ เป็นปัจจัยแก่ปัจจเวกขณะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๘๕๓] ๑๕. มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ปัจจเวกขณะ เป็นปัจจัยแก่ปัจจเวกขณะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๘๕๔] ๑๖. มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ปัจจเวกขณะ เป็นปัจจัยแก่ปัจจเวกขณะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 569
[๑๘๕๕] ๑๗. มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ ได้แก่
พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่นแล้ว พิจารณา.
[๑๘๕๖] ๑๘. มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ปฐมมรรค เป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค ฯลฯ ตติยมรรค เป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรค ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๘๕๗] ๑๙. มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ปฐมมรรค เป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค ฯลฯ ตติยมรรค เป็นปัจจัยแก่ จตุตถมรรค ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 570
[๑๘๕๘] ๒๐. มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ ได้แก่
พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.
[๑๘๕๙] ๒๑. มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็น ปัจจัยแก่มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ปฐมมรรค เป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค ฯลฯ ตติยมรรคเป็นปัจจัยแก่ จตุตถมรรค ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
๑๐. อาเสวนปัจจัย
[๑๘๖๐] ๑. มัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคารัมมณธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคารัมมณธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 571
[๑๘๖๑] ๒. มัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของเสวนปัจจัย เหมือนกับอนันตรปัจจัย พึงกระทำเป็น ๙ วาระ, ไม่พึงกระทำอาวัชชนะ.
๑๑. กัมมปัจจัย
[๑๘๖๒] ๑. มัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย มีแต่สหชาตกรรม นานาขณิกกรรมไม่มี.
๑๒. อาหารปัจจัย ฯลฯ ๒๐. อวิคตปัจจัย
๑. มัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย, ปัจจัย ๗ เหล่านี้ แจกเป็น ๑๗ วาระ เหมือนกับเหตุปัจจัย.
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนัตถิปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ ของวิคตปัจจัย เหมือนกับอนันตรปัจจัย.
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย มี ๑๗ วาระ.
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๑๘๖๓] ในเหตุปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๑๗ วาระ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 572
ในนิสสยปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอาหารปัจจัย ในอินทริยปัจจัย ในฌานปัจจัย ในมัคคปัจจัย ในสัมปยุตตปัจจัย แต่ละปัจจัยมี ๑๗ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑๗ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมนัย จบ
ปัจจนียนัย
การยกปัจจัยในปัจจนียะ
[๑๘๖๔] ๑. มัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย.
[๑๘๖๕] ๒. มัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
[๑๘๖๖] ๓. มัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 573
[๑๘๖๗] ๔. มัคคเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๘๖๘] ๕. มัคคเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๘๖๙] ๖. มัคคเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๘๗๐] ๗. มัคคเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๘๗๑] ๘. มัคคเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๘๗๒] ๙. มัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๘๗๓] ๑๐. มัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ สหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 574
[๑๘๗๔] ๑๑. มัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๘๗๕] ๑๒. มัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๘๗๖] ๑๓. มัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๘๗๗] ๑๔. มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๘๗๘] ๑๕. มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๘๗๙] ๑๖. มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๘๘๐] ๑๗. มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 575
[๑๘๘๑] ๑๘. มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคเหตุธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๘๘๒] ๑๙. มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๘๘๓] ๒๐. มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมธรรม และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๘๘๔] ๒๑. มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๑๘๘๕] ในนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๑๗ วาระ.
เมื่อถึงในนอารัมมณปัจจัยแล้ว บททั้ง ๒ คือ ปกตารัมมณะก็ดี อุปนิสสยารัมมณะก็ดี ย่อมขาดไป.
ในนอธิปติปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในนสหชาตปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในนนิสสยปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 576
มี ๒๑ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในโนอัตถิปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในโนอวิคตปัจจัย มี ๒๑ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียนัย จบ
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๑๘๘๖] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๑๗ วาระ... ใน นอนันตรปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๑๗ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมปัจจนียนัย จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 577
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๑๘๘๗] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ... ใน อธิปติปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๗ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑๗ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียานุโลมนัย จบ
ปัญหาวาระ จบ
มัคคารัมมณติกะที่ ๑๖ จบ