พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย

๑๙. อตีตารัมมณติกะ - อนุโลมติกปัฏฐาน

 
บ้านธัมมะ
วันที่  23 ก.พ. 2565
หมายเลข  42223
อ่าน  428

[เล่มที่ 87] พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓

พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๗

ปัฏฐาน ภาคที่ ๓

อนุโลมติกปัฏฐาน

๑๙. อตีตารัมมณติกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย 612

๑. เหตุปัจจัย 612

๒. อารัมมณปัจจัย ฯลฯ ๑๒. อาเสวนปัจจัย 613

๑๓. กัมมปัจจัย ๑๔. วิปากปัจจัย 613

๑๕. อาหารปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย 613

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 614

ปัจจนียนัย 614

๑. นเหตุปัจจัย 614

๒. นอธิปติปัจจัย 615

๓. นุปุเรชาตปัจจัย 615

๔. นปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ ๖. นกัมมปัจจัย 616

๗. นวิปากปัจจัย 617

๘. นฌานปัจจัย 617

๙. นมัคคปัจจัย 617

๑๐. นวิปปยุตตปัจจัย 618

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 618

อนุโลมปัจจนียนัย 619

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 619

ปัจจนียานุโลม 619

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 619

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย 620

๑. เหตุปัจจัย 620

๒. อารัมมณปัจจัย 621

๓. อธิปติปัจจัย 626

๔. อนันตรปัจจัย 630

๕. สมนันตรปัจจัย 632

๖. สหาชาตปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย 633

๙. อุปนิสสยปัจจัย 633

๑๐. อาเสวนปัจจัย 637

๑๑. กัมมปัจจัย 638

๑๒. วิปากปัจจัย ฯลฯ ๒๑. อวิคตปัจจัย 641

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 641

ปัจจนียนัย 642

การยกปัจจัยในปัจจนียะ 642

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 644

อนุโลมปัจจนียนัย 644

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 644

ปัจจนียานุโลมนัย 645

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 645


อ่านหัวข้ออื่นๆ ... [เล่มที่ 87]


  ข้อความที่ 1  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 612

๑๙. อตีตารัมมณติกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๑๙๔๗] ๑. อตีตารัมมณธรรม อาศัยอตีตารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.

[๑๙๔๘] ๒. อนาคตารัมมณธรรม อาศัยอนาคตารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม ฯลฯ ขันธ์๒ ฯลฯ.

[๑๙๔๙] ๓. ปัจจุปปันนารัมมณธรรม อาศัยปัจจุปปันนารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

 
  ข้อความที่ 2  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 613

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

๒. อารัมมณปัจจัย ฯลฯ ๑๒. อาเสวนปัจจัย

[๑๙๕๐] ๑. อตีตารัมมณธรรม อาศัยอตีตารัมมณธรรม เกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย เพราะอธิปติปัจจัย ในอธิปติปัจจัย ปฏิสนธิไม่มี.

เพราะอนันตรปัจจัย เพราะสมนันตรปัจจัย เพราะสหชาต. ปัจจัย เพราะอัญญมัญญปัจจัย เพราะนิสสยปัจจัย เพราะอุปนิสสยปัจจัย เพราะปุเรชาตปัจจัย เพราะอาเสวนปัจจัย.

ในปุเรชาตปัจจัย ก็ดี ในอาเสวนปัจจัย ก็ดี ปฏิสนธิ ไม่มี.

๑๓. กัมมปัจจัย ๑๔. วิปากปัจจัย

๑. ฯลฯ เพราะกัมมปัจจัย เพราะวิปากปัจจัย

คือ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ฯลฯ มี ๓ วาระ พึงใส่ให้เต็ม พึงกระทำ ปวัตติ ปฏิสนธิ.

๑๕. อาหารปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย

๑. ฯลฯ เพราะอาหารปัจจัย เพราะอินทริยปัจจัย เพราะฌานปัจจัย เพราะมัคคปัจจัย เพราะสัมปยุตตปัจจัย เพราะวิปปยุตตปัจจัย เพราะอัตถิปัจจัย เพราะนัตถิปัจจัย เพราะวิคตปัจจัย เพราะอวิคตปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 3  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 614

ในนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๑๙๕๑] ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในปัจจัยทั้งปวง มีปัจจัยละ ๓ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

อนุโลมนัย จบ

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๑๙๕๒] ๑. อตีตารัมมณธรรม อาศัยอตีตารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย อุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ

[๑๙๕๓] ๒. อนาคตารัมมณธรรม อาศัยอนาคตารัมมณธรรมเกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

 
  ข้อความที่ 4  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 615

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

[๑๙๕๔] ๓. ปัจจุปปันนารัมมณธรรม อาศัยปัจจุปปันนารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม ซึ่งเป็น อเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย อุทธัจจะ ซึ่งเป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

๒. นอธิปติปัจจัย

[๑๙๕๕] ๑. อตีตารัมมณธรรม อาศัยอตีตารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย เหมือนกับสหชาติปัจจัย ในอนุโลม.

๓. นปุเรชาตปัจจัย

[๑๙๕๖] ๑. อตีตารัมมณธรรม อาศัยอตีตารัมมณธรรมเกิด เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.

 
  ข้อความที่ 5  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 616

[๑๙๕๗] ๒. อนาคตารัมมณธรรม อาศัยอนาคตารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

[๑๙๕๘] ๓. ปัจจุปปันนารัมมณธรรม อาศัยปัจจุปปันนารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

๔. นปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ ๖. นกัมมปัจจัย

[๑๙๕๙] ๑. อตีตารัมมณธรรม อาศัยอตีตารัมมณธรรม เกิดขึ้นเพราะนปัจฉาชาตปัจจัย เพราะนอาเสวนปัจจัย เหมือนกับเพราะนอธิปติปัจจัย, เพราะนกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นอตีตารัมมณธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอตีตารัมมณธรรม.

[๑๙๖๐] ๒. อนาคตารัมมณธรรม อาศัยอนาคตรัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็น อนาคตารัมมณธรรม.

 
  ข้อความที่ 6  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 617

[๑๙๖๑] ๓. ปัจจุปปันนารัมมณธรรม อาศัยปัจจุปปันนารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็น ปัจจุปปันนารัมมณธรรม.

๗. นวิปากปัจจัย

[๑๙๖๒] ๑. อตีตารัมมณธรรม อาศัยอตีตารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปากปัจจัย.

ในนวิปากปัจจัย ปฏิสนธิ ไม่มี.

๘. นฌานปัจจัย

[๑๙๖๓] ๑. ปัจจุปปันนารัมมณธรรม อาศัยปัจจุปปันนารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะนฌานปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยปัญจวิญญาณ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

๙. นมัคคปัจจัย

[๑๙๖๔] ๑. อตีตารัมมณธรรม อาศัยอตีตารัมมณธรรมเกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ เหมือนกับ นเหตุปัจจัย, มี ๓ วาระ โมหะ ไม่มี.

 
  ข้อความที่ 7  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 618

๑๐. นวิปปยุตตปัจจัย

[๑๙๖๕] ๑. อตีตารัมมณธรรม อาศัยอตีตารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

[๑๙๖๖] ๒. อนาคตารัมมณธรรม อาศัยอนาคตารัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๑๙๖๗] ในนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปัฉาชาตปัจจัยมี ๓ วาระ ในนอาเสวนปัจจัยมี ๓ วาระ ในนกัมมปัจจัยมี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

ปัจจนียนัย จบ

 
  ข้อความที่ 8  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 619

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๑๙๖๘] เพราะเหตุปัจจัย ในนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ... ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

อนุโลมปัจจนียนัย จบ

ปัจจนียานุโลม

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๑๙๖๙] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ... ในปัจจัยทั้งปวง มี ๓ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

ปัจจนียานุโลมนัย จบ

ปฏิจจวาระ จบ

สหชาตวาระก็ดี ปัจจยวาระก็ดี นิสสยวาระก็ดี สังสัฏฐวาระก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี เหมือนกับ ปฏิจจวาระ.

 
  ข้อความที่ 9  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 620

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๑๙๗๐] ๑. อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ เหตุทั้งหลายที่เป็นอตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

[๑๙๗๑] ๒. อนาคตารัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอนาคตารัมธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

[๑๙๗๒] ๓. ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 10  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 621

ในปฏิสนธิขณะ เหตุทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๒. อารัมมณปัจจัย

[๑๙๗๓] ๑. อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลพิจารณาวิญญาณัญจายตนะที่เป็นอตีตาธรรม, พิจารณาเนวสัญญานาสัญญายตนะ, พิจารณาอิทธิวิธญาณที่เป็นอดีต ซึ่งเป็นอตีตารัมมณธรรม พิจารณาเจโตปริยญาณ ฯลฯ พิจารณาปุพเพนวาสานุสสติญาณ ฯลฯ พิจารณายถากัมมูปคญาณ.

พระอริยะทั้งหลายพิจารณาณกิเลสที่ละแล้ว ที่เป็นอตีตารัมมณธรรม กิเลสที่ข่มแล้ว ฯลฯ ย่อมรู้กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน ฯลฯ.

พิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอดีต ซึ่งเป็นอตีตารัมมณธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา, ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภขันธ์นั้น ราคะ ที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอดีต ซึ่งเป็นอตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

[๑๙๗๔] ๒. อตีตารัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

 
  ข้อความที่ 11  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 622

คือ บุคคลพิจารณาวิญญาณัญจายตนะที่เป็นอนาคตธรรม, พิจารณา เนวสัญญานาสัญญายตนะ, พิจารณาอิทธิวิธญาณที่เป็นอนาคต ซึ่งเป็นอตีตารัมมณธรรม, พิจารณาเจโตปริยญาณ ฯลฯ พิจารณาปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ฯลฯ พิจารณายถากัมมูปคญาณ ฯลฯ

บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคต ซึ่งเป็นอตีตารัมมณธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภขันธ์นั้น ราคะที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม ย่อมเกิดขึ้น โทมนัส ย่อม เกิดขึ้น.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคต ซึ่งเป็นอตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ เจโตปริยญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

[๑๙๗๕] ๓. อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นปัจจุปปันนธรรม ซึ่งเป็นอตีตารัมมณธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนธรรม ซึ่งเป็นอตีตรัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

[๑๙๗๖] ๔. อนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

 
  ข้อความที่ 12  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 623

คือ บุคคลพิจารณาอิทธิวิธญาณที่เป็นอนาคต ซึ่งเป็นอนาคตรัมมณธรรม พิจารณาเจโตปริยญาณ ฯลฯ พิจารณาอนาคตังสญาณฯสฯ พิจารณา เห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคต ซึ่งเป็นอนาคตารัมมณธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภขันธ์นั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคต ซึ่งเป็นอนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัย แก่เจโตปริยญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

[๑๙๗๗] ๕. อนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลพิจารณาอิทธิวิธญาณที่เป็นอดีต ซึ่งเป็นอนาคตารัมมณธรรม เจโตปริยญาณ ฯลฯ อนาคตังญาณ ฯลฯ

พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว ที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม พิจารณากิเลสที่ข่มแล้ว, ย่อมรู้กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน ฯลฯ.

พิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอดีต ซึ่งเป็นอนาคตารัมมณธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภขันธ์นั้น ราคะที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ย่อมเกิดขึ้น โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

 
  ข้อความที่ 13  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 624

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอดีต ซึ่งเป็นอนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

[๑๙๗๘] ๖. อนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นปัจจุปปันนธรรม ซึ่งเป็นอนาคตารัมมณธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนธรรม ซึ่งเป็นอนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

[๑๙๗๙] ๗. ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

คือ บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นปัจจุปปันนธรรม ซึ่งเป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนธรรม ซึ่งเป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

[๑๙๘๐] ๘. ปัจจุปปันนารัมมฌธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

 
  ข้อความที่ 14  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 625

คือ บุคคลพิจารณาทิพยจักษุที่เป็นอตีตธรรม, พิจารณาทิพโสตธาตุ, พิจารณาอิทธิวิธญาณที่เป็นอดีต ซึ่งเป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม พิจารณา เจโตปริยญาณ ฯลฯ

พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว ที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม กิเลสที่ข่มแล้ว ฯลฯ ย่อมรู้กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน.

พิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอดีต ซึ่งเป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภขันธ์ นั้น ราคะที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอดีต ซึ่งเป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัย แก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

[๑๙๘๑] ๙. ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลพิจารณาทิพยจักษุที่เป็นอนาคตธรรม, พิจารณาทิพโสตธาตุ พิจารณาอิทธิวิธญาณที่เป็นอนาคต ซึ่งเป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม พิจารณาเจโตปริยญาณ ฯลฯ พิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคต ซึ่งเป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ เพราะปรารภขันธ์ นั้น ราคะที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

 
  ข้อความที่ 15  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 626

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคต ซึ่งเป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของ อารัมมณปัจจัย.

๓. อธิปติปัจจัย

[๑๙๘๒] ๑. อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลกระทำวิญญาณัญจายตนะที่เป็นอตีตธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.

กระทำเนวสัญญานาสัญญายตนะให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.

กระทำอิทธิวิธญาณที่เป็นอดีต ซึ่งเป็นอตีตารัมมณธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.

กระทำเจโตปริยญาณ ฯลฯ กระทำปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ฯลฯ กระทำยถากัมมูปคญาณให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.

กระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอดีต ซึ่งเป็นอตีตารัมมณธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

 
  ข้อความที่ 16  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 627

ที่เป็น สหชาตธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นอารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

[๑๙๘๓] ๒. อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะการทำวิญญาณัญจายตนะ ที่เป็นอนาคตให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ เนวสัญญานาสัญญายตนะ ฯลฯ กระทำอิทธิวิธญาณที่เป็นอนาคต ซึ่งเป็นอตีตารัมมณธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ กระทำเจโตปริยญาณ ฯลฯ กระทำปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ฯลฯ การทำยถากัมมูปคญาณ ฯลฯ กระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคต ซึ่งเป็นอตีตารัมมณธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำขันธ์นั้น ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

[๑๙๘๔] ๓. อนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

 
  ข้อความที่ 17  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 628

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำอิทธิวิธญาณที่เป็นอนาคต ซึ่งเป็นอนาคตารัมมณธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ กระทำเจโตปริยญาณ ฯลฯ กระทำอนาคตังสญาณให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา, กระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคต ซึ่งเป็นอนาคตารัมมณธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

[๑๙๘๕] ๔. อนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยขันธ์แก่อตีตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีเดียวอย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำอิทธิวิธญาณที่เป็นอดีต ซึ่งเป็นนอนาคตารัมมณธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ กระทำ เจโตปริยญาณ ฯลฯ กระทำอนาคตังสญาณให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ กระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอดีต ซึ่งเป็นอนาคตารัมมณธรรมให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำขันธ์นั้น ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

 
  ข้อความที่ 18  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 629

[๑๙๘๖] ๕. ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

[๑๙๘๗] ๖. ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารมณธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำทิพยจักษุที่เป็น อตีตธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา, กระทำทิพโสตธาตุ ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา, กระทำอิทธิวิธญาณที่เป็นอดีต ซึ่งเป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ กระทำเจโตปริยญาณให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ กระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอดีต ซึ่งเป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

[๑๙๘๘] ๗. ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

 
  ข้อความที่ 19  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 630

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำทิพยจักษุที่เป็นอนาคตธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา, กระทำทิพโสตธาตุให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ กระทำอิทธิวิธญญาณที่เป็นอนาคตซึ่งเป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น กระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคตซึ่งเป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะที่เป็น อนาคตารัมมณธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

๔. อนันตรปัจจัย

[๑๙๘๙] ๑. อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

[๑๙๙๐] ๒. อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ภวังค์ที่เป็นอตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะที่เป็นอนาคตารัมมณอนาคตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 20  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 631

[๑๙๙๑] ๓. อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ จุติจิตที่เป็นอตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปฏิสนธิจิตที่เป็น ปัจจุปปันนารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

ภวังค์ที่เป็นอตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

[๑๙๙๒] ๔. อนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของ อนันตรปัจจัย.

[๑๙๙๓] ๕. อนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ อิทธิวิธญาณที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่ เป็นอดีตารัมมณธรรม.

เจโตปริยญาณ เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นอตีตารัมมณธรรม.

อนาคตังสญาณ เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นอตีตารัมมณธรรม.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 21  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 632

[๑๙๙๔] ๖. ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจ ของอนันตรปัจจัย.

ปฏิสนธิจิตที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ภวังค์ที่เป็น ปัจจุปปันนารัมมณธรรม.

ภวังค์ที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยยแก่ภวังค์ที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

[๑๙๙๕] ๗. ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ปฏิสนธิจิตที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ภวังค์ที่ เป็นอตีตคารัมมณธรรม.

ภวังค์ที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ภวังค์ที่เป็นอตีตารัมมณธรรม.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๕. สมนันตรปัจจัย

[๑๙๙๖] อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย เหมือนกับ อนันตรปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 22  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 633

๖. สหชาตปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย

[๑๙๙๗] ๑. อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย, แม้ทั้ง ๓ ปัจจัย เหมือนกับ ปฏิจจวาระ.

๙. อุปนิสสยปัจจัย

[๑๙๙๘] ๑. อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

อนิจจานุปัสสสนาที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ทุกขานุปัสสนา อนัตตานุปัสสนา เป็นปัจจัยแก่อนิจจานุปัสสนาที่เป็นอตีตารัมมณธรรม แก่ทุกขานุปัสสนา แก่อนัตตานุปัสสนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[๑๙๙๙] ๒. อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

 
  ข้อความที่ 23  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 634

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

อนิจจานุปัสสนาที่เป็นอตีตารัมมธรรม ทุกขานุปัสสนา อนัตตานุปัสสนา เป็นปัจจัยแก่อนิจจานุปัสสนาที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม แก่ทุกขานุปัสสนา แก่อนัตตานุปัสสนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[๒๐๐๐] ๓. อตีตารัมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปัจนารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

อนิจจานุปัสสนาที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ทุกขานุปัสสนา อนัตตานุปัสสนา เป็นปัจจัยแก่อนิจจานุปัสสนาที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม แก่ทุกขานุปัสสนา แก่อนัตตานุปัสสนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[๒๐๐๑] ๔. อนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

อนิจจานุปัสสนาที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม ทุกขานุปัสสนา อนัตตานุปัสสนา เป็นปัจจัยแก่อนิจจานุปัสสนาที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม แก่ทุกขานุปัสสนา แก่อนัตตานปัสสนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 24  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 635

[๒๐๐๒] ๕. อนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

อนิจจานุปัสสนาที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม ทุกขานุปัสสนา อนัตตานุปัสสนา เป็นปัจจัยแก่อนิจจานุปัสสนาที่เป็นอตีตารัมมณธรรม แก่ทุกขานุปัสสนา แก่อนัตตานุปัสสนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[๒๐๐๓] ๖. อนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

อนิจจานุปัสสนาที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม ทุกขานุปัสสนา อนัตตานุปัสสนา เป็นปัจจัยแก่อนิจจานุปัสสนาที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม แก่ทุกขานุปัสสนา แก่อนัตตานุปัสสนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[๒๐๐๔] ๗. ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนารัมมณธรรม ฯลฯ

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

 
  ข้อความที่ 25  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 636

อนิจจานุปัสสนาที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม ทุกขานุปัสสนา อนัตตานุปัสสนา เป็นปัจจัยแก่อนิจจานุปัสสนาที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม แก่ทุกขานุปัสสนา แก่อนัตตานุปัสสนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[๒๐๐๕] ๘. ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

อนิจจานุปัสสนาที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม ทุกขานุปัสสนา อนัตตานุปัสสนา เป็นปัจจัยแก่อนิจจานุปัสสนาที่เป็นอตีตารัมมณธรรม แก่ทุกขานุปัสสนา อนัตตานุปัสสนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

[๒๐๐๖] ๙. ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือมีเป็น อารัมมณูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

อนิจจานุปัสสนาที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม ทุกขานุปัสสนา อนัตตานุปัสสนา เป็นปัจจัยแก่อนิจจานุปัสสนาที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม แก่ทุกขานุปัสสนา แก่อนัตตานุปัสสนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 26  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 637

๑๐. อาเสวนปัจจัย

[๒๐๐๗] ๑. อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.

[๒๐๐๘] ๒. อนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของ อาเสวนปัจจัย.

[๒๐๐๙] ๓. ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 27  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 638

๑๑. กัมมปัจจัย

[๒๐๑๐] ๑. อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นอตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นอตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

[๒๐๑๑] ๒. อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นอตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น อนาคตารัมมณธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

[๒๐๑๒] ๓. อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

 
  ข้อความที่ 28  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 639

มีอย่างเดียว คือที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นอตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

[๒๐๑๓] ๔. อนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น อนาคตารัมมณธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

[๒๐๑๔] ๕. อนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น อตีตารัมมณธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 29  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 640

[๒๐๑๕] ๖. อนาคตรัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

[๒๐๑๖] ๗. ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นปัจจุปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

[๒๐๑๗] ๘. ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ เป็นอตีตารัมมณธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 30  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 641

[๒๐๑๘] ๙. ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น อนาคตารัมมณธรรมซึ่งเป็นวิบาก ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๑๒. วิปากปัจจัย ฯลฯ ๒๑. อวิคตปัจจัย

[๒๐๑๙] อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ ฌานปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนัตถิปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิคตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๒๐๒๐] ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาเสวนปัจจัย

 
  ข้อความที่ 31  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 642

มี ๓ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ใน มัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

อนุโลมนัย จบ

ปัจจนียนัย

การยกปัจจัยในปัจจนียะ

[๒๐๒๑] ๑. อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ สหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

[๒๐๒๒] ๒. อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

[๒๐๒๓] ๓. อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 32  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 643

[๒๐๒๔] ๔. อนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ ของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

[๒๐๒๕] ๕. อนาคตารัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

[๒๐๒๖] ๖. อนาคตารัมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ ของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

[๒๐๒๗] ๗. ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย อำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

[๒๐๒๘] ๘. ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 33  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 644

[๒๐๒๙] ๙. ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมมณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ ของอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๒๐๓๐] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ ในโนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

ปัจจนียนัย จบ

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๒๐๓๑] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ... ใน นอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

อนุโลมปัจจนียนัย จบ

 
  ข้อความที่ 34  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 23 ก.พ. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้า 645

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๒๐๓๒] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ใน นิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

ปัจจนียานุโลมนัย จบ

ปัญหาวาระ จบ

อตีตารัมมณติกะ ที่ ๑๙ จบ