พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย

๒. สเหตุกทุกะ

 
บ้านธัมมะ
วันที่  27 ก.พ. 2565
หมายเลข  42251
อ่าน  558

[เล่มที่ 88] พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔

พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๗

ปัฏฐาน ภาคที่ ๔

อนุโลมทุกปัฏฐาน

๒. สเหตุกทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย 50

๑. เหตุปัจจัย 39/50

๒. อารัมมณปัจจัย 40/52

๓. อธิปติปัจจัย 41/54

๔. อนันตรปัจจัย ๕. สมนันตรปัจจัย 42/55

๖. สหชาตปัจจัย 43/55

๗. อัญญมัญญปัจจัย 44/57

๘. นิสสยปัจจัย ฯลฯ ๒๓. อวิคตปัจจัย 45/59

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 46/60

ปัจจนียนัย 60

๑. นเหตุปัจจัย 47/60

๒. นอารัมมณปัจจัย 48/61

๓. นอธิปติปัจจัย ฯลฯ ๗. นอุปนิสสยปัจจัย 49/62

๘. นปุเรชาตปัจจัย 50/62

๙. นปัจฉาชาตปัจจัย ๑๐. นอาเสวนปัจจัย 51/65

๑๑. นกัมมปัจจัย 52/65

๑๒. นวิปากปัจจัย 53/66

๑๓. นอาหารปัจจัย ฯลฯ ๑๗. นสัมปยุตตปัจจัย 54/66

๑๘. นวิปปยุตตปัจจัย 55/66

๑๙. โนนัตถิปัจจัย ๒๐. โนวิคตปัจจัย 68

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 56/68

อนุโลมปัจจนียนัย 68

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 57/68

ปัจจนียานุโลมนัย 69

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 58/69

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย 70

๑. เหตุปัจจัย 59/70

๒. อารัมมณปัจจัย 60/72

๓. อธิปติปัจจัย 61/74

๔. อนันตรปัจจัย ๕. สมนันตรปัจจัย 62/74

๖. สหชาตปัจจัย 63/74

๗. อัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ๒๓. อวิคตปัจจัย 64/77

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 65/78

ปัจจนียนัย 78

๑. นเหตุปัจจัย 66/78

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 67/79

อนุโลมปัจจนียนัย 79

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 68/79

ปัจจนียานุโลมนัย 80

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 69/80

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย 81

๑. เหตุปัจจัย 70/81

๒. อารัมมณปัจจัย 71/81

๓. อธิปติปัจจัย 72/83

๔. อนันตรปัจจัย ฯลฯ ๖. สหชาตปัจจัย 73/83

๑๓. วิปากปัจจัย 74/83

๑๔. อาหารปัจจัย ฯลฯ ๒๓. อวิคตปัจจัย 84

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 75/84

ปัจจนียนัย 85

๑. นเหตุปัจจัย 76/85

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 77/86

อนุโลมปัจจนียนัย 86

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 78/86

ปัจจนียานุโลมนัย 87

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 79/87

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย 88

๑. เหตุปัจจัย 80/88

๒. อารัมมณปัจจัย 81/89

๓. อธิปติปัจจัย 82/93

๔. อนันตรปัจจัย 83/95

๕. สมนันตรปัจจัย /99

๖. สหชาตปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย 84/99

๙. อุปนิสสยปัจจัย 85/100

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย 86/103

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย 87/105

๑๒. อาเสวนปัจจัย 88/106

๑๓. กัมมปัจจัย 89/106

๑๔. วิปากปัจจัย 90/107

๑๕. อาหารปัจจัย 81/109

๑๖. อินทริยปัจจัย 92/109

๑๗. ฌานปัจจัย 93/110

๑๘. มัคคปัจจัย 94/110

๑๙. สัมปยุตตปัจจัย 95/111

๒๐. วิปปยุตตปัจจัย 96/111

๒๑. อัตถิปัจจัย 97/113

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 98/120

ปัจจนียนัย 120

การยกปัจจัยในปัจจนียะ 99/120

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 100/122

อนุโลมปัจจนียนัย 122

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 101/122

ปัจจนียานุโลมนัย 123

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 102/123


อ่านหัวข้ออื่นๆ ... [เล่มที่ 88]


  ข้อความที่ 1  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 50

๒. สเหตุกทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๓๙] ๑. สเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัย ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. อเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๓. สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

 
  ข้อความที่ 2  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 51

๔. อเหตุกธรรม อาศัยเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยโมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคต ด้วยอุทธัจจะ.

มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป ทั้งหลาย.

๕. สเหตุกธรรม อาศัยอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่ สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นสเหตุกธรรม อาศัยหทัยวัตถุ.

๖. สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม อาศัยอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยโมหะ ที่ สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

กฏัตตารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๗. สเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

 
  ข้อความที่ 3  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 52

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย อุทธัจจะ และโมหะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม และ หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

๘. อเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม และ มหาภูตรูปทั้งหลาย.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่ สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ.

๙. สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วย วิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม และ หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.

กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม และมหาภูตรูป ทั้งหลาย.

๒. อารัมมณปัจจัย

[๔๐] ๑. สเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ อารัมมณปัจจัย

 
  ข้อความที่ 4  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 53

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. อเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ อารัมมณปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัย ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

๓. สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือขันธ์ ๓ และโมหะ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคต ด้วยอุทธัจจะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.

๔. อเหตุกธรรม อาศัยอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ อารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัย ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเหตุกธรรม อาศัยหทัยวัตถุ.

๕. สเหตุกธรรม อาศัยอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ อารัมมณปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่ สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม อาศัยหทัยวัตถุ.

 
  ข้อความที่ 5  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 54

๖. สเหตุธรรม อาศัยสเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย อุทธัจจะ และโมหะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.

๓. อธิปติปัจจัย

[๔๑] ๑. สเหตุกธรรมอาศัยสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ อธิปติปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัย ขันธ์ ๒.

๒. อเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ อธิปติปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม.

๓. สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.

 
  ข้อความที่ 6  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 55

๔. อเหตุกธรรม อาศัยอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ อธิปติปัจจัย

คือ ฯลฯ มหาภูตรูป ฯลฯ

จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๕. อเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม และ มหาภูตรูปทั้งหลาย.

๔. อนันตรปัจจัย ฯลฯ ๕. สมนันตรปัจจัย

[๔๒] ๑. สเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ อนันตรปัจจัย

ฯลฯ เพราะสมนันตรปัจจัย

๖. สหชาตปัจจัย

[๔๓] ๑. สเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรมเกิดขึ้น เพราะ สหชาตปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัย ขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม. ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. อเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ สหชาตปัจจัย

 
  ข้อความที่ 7  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 56

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม.

โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๓. สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

ขันธ์ ๓, โมหะ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วย วิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.

๔. อเหตุกธรรม อาศัยอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ สหชาตปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยโมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย อุทธัจจะ.

ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัย หทยวัตถุ.

ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.

อสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๓ อาศัย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ.

 
  ข้อความที่ 8  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 57

๕. สเหตุกธรรม อาศัยอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ สหชาตปัจจัย

ปัจจัยเหล่านี้ พึงกระทำเป็น ๕ วาระ เหมือนกับเหตุปัจจัย ไม่มีแตก ต่างกัน.

๗. อัญญมัญญปัจจัย

[๔๔] ๑. สเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ อัญญมัญญปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม ฯลฯ.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. อเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ อัญญมัญญปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัย ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม.

๓. สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และโมหะ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่ สหรคตด้วยอุทธัจจะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.

 
  ข้อความที่ 9  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 58

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และหทยวัตถุ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.

๔. อเหตุกธรรม อาศัยอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ อัญญมัญญปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัย ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และหทยวัตถุ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ฯลฯ.

ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

๕. สเหตุกธรรม อาศัยอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ อัญญมัญญปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่ สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม อาศัยหทยวัตถุ. ๖. สเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย อุทธัจจะ และโมหะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม และหทัยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.

 
  ข้อความที่ 10  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 59

๘. นิสสยปัจจัย ฯลฯ ๒๓. อวิคตปัจจัย

[๔๕] สเหตุธรรม อาศัยสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ นิสสยปัจจัย

ฯลฯ เพราะอุปนิสสยปัจจัย

ฯลฯ เพราะปุเรชาตปัจจัย

ฯลฯ เพราะอาเสวนปัจจัย

ฯลฯ เพราะกัมมปัจจัย

ฯลฯ เพราะวิปากปัจจัย

ฯลฯ เพราะอาหารปัจจัย

ฯลฯ เพราะอินทริยปัจจัย

ฯลฯ เพราะฌานปัจจัย

ฯลฯ เพราะมัคคปัจจัย

ฌานปัจจัยก็ดี มัคคปัจจัยก็ดี เหมือนกับสหชาตปัจจัย พาหิรรูป มหาภูตรูป ไม่มี.

ฯลฯ เพราะสัมปยุตตปัจจัย

ฯลฯ เพราะวิปปยุตตปัจจัย

ฯลฯ เพราะอัตถิปัจจัย

ฯลฯ เพราะนัตถิปัจจัย

ฯลฯ เพราะวิคตปัจจัย

ฯลฯ เพราะอวิคตปัจจัย

 
  ข้อความที่ 11  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 60

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๔๖] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๖ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๖ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๖ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๖ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๖ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ใน วิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๙ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๙ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๙ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๖ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๖ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

อนุโลมนัย จบ

ปัจจนียนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๔๗] ๑. อเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ นเหตุปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัย ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

 
  ข้อความที่ 12  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 61

๒. อเหตุกธรรม อาศัยอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัย ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ พึงกระทำทั้งหมด ตลอดถึงอสัญญสัตว์ทั้งหลาย.

๒. นอารัมมณปัจจัย

[๔๘] ๑. อเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.

๒. อเหตุกธรรม อาศัยอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเหตุกธรรม.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยโมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย อุทธัจจะ.

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย.

ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ.

 
  ข้อความที่ 13  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 62

๓. อเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรมและอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม และ มหาภูตรูปทั้งหลาย.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคต ด้วยอุทธัจจะ และโมหะ.

๓. นอธิปติปัจจัย ฯลฯ ๗. นอุปนิสสยปัจจัย

[๔๙] ๑. สเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ นอธิปติปัจจัย เหมือนกับสหชาตปัจจัย ในอนุโลม.

ฯลฯ เพราะนอนันตรปัจจัย

ฯลฯ เพราะนสมนันตรปัจจัย

ฯลฯ เพราะนอัญญมัญญปัจจัย

ฯลฯ เพราะนอุปนิสสยปัจจัย

๘. นปุเรชาตปัจจัย

[๕๐] ๑. สเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ นปุเรชาตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม ฯลฯ

 
  ข้อความที่ 14  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 63

๒. อเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ นปุเรชาตปัจจัย

คือ นอรูปภูมิ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๓. สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ และโมหะ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วย วิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ๔. อเหตุกธรรม อาศัยอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ นปุเรชาตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกธรรม ฯลฯ อาศัย ขันธ์ ๒.

จิตตสมุฏฐาน อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเหตุกธรรม.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย อุทธัจจะ.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ พึงให้พิสดาร ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

๕. สเหตุกธรรม อาศัยอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ นปุเรชาตปัจจัย

 
  ข้อความที่ 15  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 64

คือ ในอรูปภูมิ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโมหะ ที่สหรคตด้วย วิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

๖. สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม อาศัยอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม อาศัยหทัยวัตถุ. กฏัตตารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๗. สเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่ สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม และ หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.

๘. อเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม และ มหาภูตรูปทั้งหลาย.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่ สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ.

๙. สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 16  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 65

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม และ หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.

กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม และมหาภูตรูป ทั้งหลาย.

๙. นปัจฉาชาตปัจจัย ๑๐. นอาเสวนปัจจัย

[๕๑] ๑. สเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ นปัจฉาชาตปัจจัย

ฯลฯ เพราะนอาเสวนปัจจัย.

๑๑. นกัมมปัจจัย

[๕๒] ๑. สเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ นกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นสเหตุกธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม.

๒. อเหตุกธรรม อาศัยอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ นกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นอเหตุกธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเหตุกธรรม. พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ

๓. สเหตุกธรรม อาศัยอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ นกัมมปัจจัย

 
  ข้อความที่ 17  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 66

คือ สัมปยุตตเจตนา อาศัยโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคต ด้วยอุทธัจจะ.

๔. สเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย

คือ สัมปยุตตเจตนา อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่ สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ.

๑๒. นวิปากปัจจัย

[๕๓] ฯลฯ เพราะนวิปากปัจจัย ปฏิสนธิ ไม่มี.

๑๓. นอาหารปัจจัย ฯลฯ ๑๗. นสัมปยุตตปัจจัย

[๕๔] ๑. อเหตุกธรรม อาศัยอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ นอาหารปัจจัย

ฯลฯ เพราะนอินทริยปัจจัย

ฯลฯ เพราะนฌานปัจจัย

ฯลฯ เพราะนมัคคปัจจัย

ฯลฯ เพราะนสัมปยุตตปัจจัย

๑๘. นวิปปยุตตปัจจัย

[๕๕] ๑. สเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ นวิปปยุตตปัจจัย

 
  ข้อความที่ 18  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 67

คือ ในอรูปภูมิ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ที่เป็นสเหตุกธรรม ฯลฯ

๒. อเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ นวิปปยุตตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

๓. สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ และโมหะ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วย วิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.

๔. อเหตุกธรรม อาศัยอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ นวิปปยุตตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.

๕. สเหตุกธรรม อาศัยอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ นวิปปยุตตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโมหะ ที่สหรคตด้วย วิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

๖. สเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่ สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.

 
  ข้อความที่ 19  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 68

๑๙. โนนัตถิปัจจัย ๒๐. โนวิคตปัจจัย

ฯลฯ เพราะในนัตถิปัจจัย.

ฯลฯ เพราะโนวิคตปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๕๖] ในนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

ปัจจนียนัย จบ

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๕๗] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ... ใน นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย

 
  ข้อความที่ 20  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 69

มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิ ปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

อนุโลมปัจจนียนัย จบ

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๕๘] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ ... ใน อนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๒ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๒ วาระ ใน อินทริยปัจจัย มี ๒ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๒ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

ปัจจนียานุโลมนัย จบ

สหชาตวาระ เหมือนกับ ปฏิจจวาระ.

 
  ข้อความที่ 21  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 70

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๕๙] ๑. สเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย. สเหตุกมูลกนัยเหมือนกับปฏิจจวาระ.

๒. อเหตุกธรรม อาศัยอเหตุกธรรม ฯลฯ เหมือนกับ ปฏิจจวาระนั่นเอง

๓. สเหตุกธรรม อาศัยอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม อาศัยหทัยวัตถุ, สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย อาศัยโมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ. ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

๔. สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม อาศัยอเหตุกธรรม เกดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม อาศัยหทยวัตถุ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย, สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัย โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ ฯลฯ

๕. สเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

 
  ข้อความที่ 22  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 71

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม และหทัยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๓ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย อุทธัจจะ และโมหะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๖. อเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม และ มหาภูตรูปทั้งหลาย.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคต ด้วยอุทธัจจะ และโมหะ.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๗. สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม และ มหาภูตรูปทั้งหลาย.

ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.

 
  ข้อความที่ 23  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 72

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม และ หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.

กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม และมหาภูตรูป ทั้งหลาย.

๒. อารัมมณปัจจัย

[๖๐] ๑. สเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ อารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. อเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ อารัมมณปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัย ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

๓. สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และโมหะ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่ สหรคตด้วยอุทธัจจะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.

๔. อเหตุกธรรม อาศัย อเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ อารัมมปัจจัย

 
  ข้อความที่ 24  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 73

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย อาศัย หทยวัตถุ.

จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ. ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเหตุกธรรม อาศัยหทัยวัตถุ.

๕. สเหตุกธรรม อาศัย อเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ อารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม อาศัย หทัยวัตถุ. สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๖. สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม อาศัยอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และ โมหะ อาศัยหทยวัตถุ.

๗. สเหตุกธรรม อาศัย สเหตุกธรรมและอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม และหทัยวัตถุ ฯลฯ.

ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และ โมหะ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๘. อเหตุกธรรม อาศัย สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

 
  ข้อความที่ 25  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 74

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัย ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และ หทยวัตถุ.

๙. สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม และ อเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และ โมหะ อาศัย ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่ สหรคตด้วยอุทธัจจะ และ โมหะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัย ขันธ์ ๒.

๓. อธิปติปัจจัย

[๖๑] ๑. สเหตุกธรรม อาศัย สเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ อธิปติปัจจัย

ในอธิปติปัจจัย พึงกระทำ เป็น ๙ วาระ เฉพาะในปวัตติกาลเท่านั้น.

๔. อนันตรปัจจัย ๕. สมนันตรปัจจัย

[๖๒] ๑. สเหตุกธรรม อาศัย สเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ อนันตรปัจจัย

ฯลฯ เพราะสมนันตรปัจจัย

๖. สหชาตปัจจัย

[๖๓] ๑. สเหตุกธรรม อาศัย สเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ สหชาตปัจจัย

 
  ข้อความที่ 26  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 75

มี ๓ วาระ เหมือนกับ ปฏิจจวาระ (วาระที่ ๑ - ๓)

๔. อเหตุกธรรม อาศัย อเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ สหชาตปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัย ขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

ปฏิสนธิ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

จักขุวิญญาณ อาศัย จักขายตนะ ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัย กายายตนะ.

ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นอเหตุกธรรม อาศัย หทยวัตถุ.

๕. สเหตุกธรรม อาศัย อเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ สหชาตปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม อาศัย หทยวัตถุ. สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัย โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๖. สเหตุกธรรม และ อเหตุกธรรม อาศัย อเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัย โมหะ ที่สหรคตด้วย วิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุ ฯลฯ.

 
  ข้อความที่ 27  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 76

๗. สเหตุกธรรม อาศัย สเหตุกธรรม แสะอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัย ขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.

ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และ โมหะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๘. อเหตุกธรรม อาศัย สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัย ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม และ มหาภูตรูปทั้งหลาย.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัย ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่ สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ.

โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัย ขันธ์ทั้ง หลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และหทยวัตถุ.

๙. สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.

 
  ข้อความที่ 28  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 77

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และหทยวัตถุ ฯลฯ อาศัย ขันธ์ ๒.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นสเหตุกธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย

ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่ สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ขันธ์ ๓ และโมหะ อาศัย ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคต ด้วยอุทธัจจะ และหทยวัตถุ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม และหทัยวัตถุ ฯลฯ อาศัย ขันธ์ ๒.

กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม และมหาภูตรูป ทั้งหลาย.

๗. อัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ๒๓. อวิคตปัจจัย

[๖๔] ๑. สเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ อัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ เพราะอวิคตปัจจัย

 
  ข้อความที่ 29  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 78

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๖๕] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

อนุโลมนัย จบ

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๖๖] ๑. อเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ นเหตุปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

๒. อเหตุกธรรม อาศัยอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ นเหตุปัจจัย

คือ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกธรรม ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเหตุกธรรม และโมหะ อาศัยหทยวัตถุ.

๓. อเหตุกธรรม อาศัยสเหตุกธรรมและอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

 
  ข้อความที่ 30  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 79

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัย ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และหทยวัตถุ.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๖๗] ในนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ. ในนสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ใน นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ใน นอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนสัมปบุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

ปัจจนียนัย จบ

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๖๘] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ... ใน นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตร-

 
  ข้อความที่ 31  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 80

ปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

อนุโลมปัจจนียนัย จบ

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๖๙] ๑. เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ใน อนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

ปัจจนียานุโลมนัย จบ

นิสสยวาระ เหมือนกับ ปัจจยวาระ.

 
  ข้อความที่ 32  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 81

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๗๐] ๑. สเหตุกธรรม เจือกับสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม ฯลฯ อาศัย ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. สเหตุกธรรม เจือกับอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ เจือ กับโมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

๓. สเหตุกธรรม เจือกับสเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย อุทธัจจะ และโมหะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ เจือกับขันธ์ ๒.

๒. อารัมมณปัจจัย

[๗๑] ๑. สเหตุกธรรม เจือกับสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ อารัมมณปัจจัย

 
  ข้อความที่ 33  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 82

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ เจือกับขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. อเหตุกธรรม เจือกับสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ อารัมมณปัจจัย

คือ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ เจือกับ ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

๓. สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เจือกับสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และโมหะ เจือกับขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่ สหรคตด้วยอุทธัจจะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ เจือกับขันธ์ ๒.

๔. อเหตุกธรรม เจือกับอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ อารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ เจือกับขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๕. สเหตุกธรรม เจือกับอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ อารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ เจือกับโมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

 
  ข้อความที่ 34  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 83

๖. สเหตุกธรรมเจือกับสเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย อุทธัจจะ และโมหะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ เจือกับขันธ์ ๒.

๓. อธิปติปัจจัย

[๗๒] ๑. สเหตุกธรรม เจือกับสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ อธิปติปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ เจือกับขันธ์ ๒.

๔. อนันตรปัจจัย ฯลฯ ๖. สหชาตปัจจัย ฯลฯ

[๗๓] ๑. สเหตุกธรรม เจือกับสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ อนันตรปัจจัย

ฯลฯ เพราะสมนันตรปัจจัย ฯลฯ เพราะสหชาตปัจจัย ฯลฯ

๓. วิปากปัจจัย

[๗๔] ๑. สเหตุกธรรม เจือกับสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ วิปากปัจจัย

 
  ข้อความที่ 35  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 84

คือ ฯลฯ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ฯลฯ เจือกับขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. อเหตุกธรรม เจือกับอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ วิปากปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกธรรม ซึ่งเป็นวิปาก ฯลฯ เจือกับขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๑๔. อาหารปัจจัย ฯลฯ ๒๓. อวิคตปัจจัย

ฯลฯ เพราะอาหารปัจจัย ฯลฯ

ฯลฯ เพราะอินทริยปัจจัย ฯลฯ

ฯลฯ เพราะฌานปัจจัย ฯลฯ

ฯลฯ เพราะอวิคตปัจจัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๗๕] ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๖ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๑ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๖ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๖ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ

 
  ข้อความที่ 36  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 85

ในนิสสยปัจจัย มี ๖ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๖ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ฯลฯ ในวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๖ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๖ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๖ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๕ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๖ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

อนุโลมนัย จบ

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๗๖] ๑. อเหตุกธรรม เจือกับสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ นเหตุปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ เจือกับ ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

๒. อเหตุกธรรม เจือกับอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ นเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ เจือกับขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

 
  ข้อความที่ 37  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 86

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๗๗] ในนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๖ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๖ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๖ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

ปัจจนียนัย จบ

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๗๘] เพราะเหตุปัจจัย ในนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ... ใน นปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

อนุโลมปัจจนียนัย จบ

 
  ข้อความที่ 38  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 87

ปัจจนียานุโลม

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๗๙] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ ... ใน อนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ ในกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ ในมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.

พึงนับอย่างนี้. ปัจจนียานุโลมนัย จบ

สัมปยุตตวาระ เหมือนกับ สังสัฏฐวาระ.

 
  ข้อความที่ 39  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 88

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๘๐] ๑. สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม ด้วย อำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อเหตุกธรรม ด้วย อำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๓. สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม และ อเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๔. อเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อเหตุกธรรม ด้วย อำนาจของเหตุปัจจัย

 
  ข้อความที่ 40  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 89

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ เป็น ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๕. อเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม ด้วย อํานาจของเหตุปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ เป็น ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๖. อเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม และ อเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ เป็น ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๒. อารัมมณปัจจัย

[๘๑] ๑. สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม ด้วย อำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรมแล้ว พิจารณา กุศลกรรมนั้น.

บุคคลพิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน.

บุคคลออกจากฌานแล้ว พิจารณาฌาน.

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค พิจารณามรรค, พิจารณาผล พิจารณากิเลสที่ละแล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มแล้ว พิจารณากิเลสทั้งหลายที่เคย เกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน.

 
  ข้อความที่ 41  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 90

บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม โดยความเป็น ของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

เมื่อกุศลและอกุศลดับไปแล้ว ตทารัมมณจิตที่เป็นวิบาก ที่เป็น สเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นสเหตุกธรรม ด้วย เจโตปริยญาณ.

อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ, อากิญจัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่ เจโตปริยญาณ แก่บุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ ด้วยอำนาจ ของอารัมมณปัจจัย. เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น สเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

๒. สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อเหตุกธรรม ด้วย อำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม โดยความ เป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

เมื่อกุศลและอกุศลดับไปแล้ว ตทารัมมณจิตที่เป็นวิบาก ที่เป็น อเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น, เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเหตุกธรรม และโมหะ ย่อมเกิดขึ้น.

 
  ข้อความที่ 42  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 91

๓. สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม และ อเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม ขันธ์ทั้งหลายที่ สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ย่อมเกิดขึ้น.

๔. อเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อเหตุกธรรม ด้วย อำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ นิพพาน เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นอเหตุกธรรม และ โมหะ โดยความเป็นของไม่เที่ยงฯสฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

เมื่อกุศลและอกุศลดับไปแล้ว ตทารัมมณจิตที่เป็นวิบาก ซึ่งเป็น อเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น ปัจจัยแก่กายวิญญาณ.

เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเหตุกธรรม และ โมหะ ขันธ์ทั้ง หลายที่เป็นอเหตุกธรรม และ โมหะ ย่อมเกิดขึ้น.

๕. อเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม ด้วย อำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ พระอริยะทั้งหลาย พิจารณานิพพาน.

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่มรรค, แก่ผล ด้วย อำนาจของอารัมมณปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 43  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 92

พระอริยะทั้งหลาย พิจารณากิเลสที่ละแล้ว ที่เป็นอเหตุกธรรม, พิจารณากิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน ฯลฯ.

พิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเหตุกธรรม และ โมหะ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

เมื่อกุศลและอกุศลดับไปแล้ว ตทารัมมณจิตที่เป็นวิบาก ที่เป็น สเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูป ด้วยทิพยจักษุ, ฟังเสียง ด้วยทิพโสตธาตุ.

บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นอเหตุกธรรม ด้วย เจโตปริยญาณ.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเหตุกธรรม และ โมหะ ขันธ์ทั้ง หลาย ที่เป็นสเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

๖. อเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม และ อเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ เพราะปรารภจักษุ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคต ด้วยอุทธัจจะ และ โมหะ ย่อมเกิดขึ้น.

เพราะปรารภโสตะ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเหตุกธรรม และ โมหะ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและ โมหะ ย่อมเกิดขึ้น.

 
  ข้อความที่ 44  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 93

๗. สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ สเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย อุทธัจจะ และโมหะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

๘. สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ อเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย อุทธัจจะ และโมหะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเหตุกธรรม และโมหะ ย่อมเกิดขึ้น.

๙. สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่- สเหตุธรรม และอเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย อุทธัจจะ และโมหะ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย อุทธัจจะ และโมหะ ย่อมเกิดขึ้น.

๓. อธิปติปัจจัย

[๘๒] ๑. สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม ด้วย อำนาจอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

 
  ข้อความที่ 45  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 94

บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรมแล้ว ฯลฯ กระทำกุศลกรรม นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.

ออกจากฌานแล้ว ฯลฯ

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่น ฯลฯ ออกจากผล ฯลฯ

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลาย ที่ เป็นสเหตุกธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำขันธ์นั้นให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๒. สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อเหตุกธรรม ด้วย อำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๓. สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม และ อเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 46  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 95

๔. อเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม ด้วย อำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

พระอริยะทั้งหลายกระทำนิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่มรรค, แก่ผล ด้วย อำนาจของอธิปติปัจจัย.

ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นอเหตุกธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำจักษุเป็น ต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อม เกิดขึ้น.

๔. อนันตรปัจจัย

[๘๓] ๑. สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู.

อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน.

โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค.

มรรค เป็นปัจจัยแก่ผล.

 
  ข้อความที่ 47  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 96

ผล เป็นปัจจัยแก่ผล.

อนุโลม เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ.

เนวสัญญานาสัญญายตนะ ของบุคคลผู้ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัยแก่ ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๒. สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อเหตุกธรรม ด้วย อำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ที่ เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

จุติจิต ที่เป็นสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิต ที่เป็นอเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

ภวังค์ที่เป็นสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของ อนันตรปัจจัย.

ภวังค์ที่เป็นสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภวังค์ที่เป็นอเหตุกธรรม ด้วย อำนาจของอนันตรปัจจัย.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นอเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

๓. สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม และ อเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

 
  ข้อความที่ 48  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 97

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ที่ เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย อุทธัจจะ ที่เกิดหลังๆ และโมหะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๔. อเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อเหตุกธรรม ด้วย อำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเหตุกธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นอเหตุกธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ปัญจวิญญาณ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๕. อเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม ด้วย อำนาจของอนันตรปัจจัย.

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ที่เกิด ก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

จุติจิตที่เป็นอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่เป็นสเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

ภวังค์ที่เป็นอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภวังค์ที่เป็นสเหตุกธรรม ด้วย อำนาจของอนันตรปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 49  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 98

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นสเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นสเหตุกธรรม ด้วย อำนาจของอนันตรปัจจัย.

๖. อเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม และ อเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ที่เกิด ก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย อุทธัจจะ ที่เกิดหลังๆ และโมหะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคต ด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๗. สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ สเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ที่เกิดก่อนๆ และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่ สหรคตด้วยอุทธัจจะ ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๘. สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ อเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ที่ เกิดก่อนๆ และโมหะ เป็นปัจจัยแก่โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคต ด้วยอุทธัจจะ ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 50  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 99

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นอเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๙. สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ที่ เกิดก่อนๆ และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่ สหรคตด้วยอุทธัจจะ ที่เกิดหลังๆ และโมหะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๕. สมนันตรปัจจัย

เหมือนอนันตรปัจจัย.

๖. สหชาตปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย

[๘๔] ๑. สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม ด้วย อำนาจของสหชาตปัจจัย เหมือนกับสหชาตปัจจัย ในปฏิจจวาระ.

ฆฏนาในที่นี้ ไม่มี.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย เหมือน ในปฏิจจวาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย เหมือนกับ นิสสยปัจจัย ในปฏิจจวาระ.

ฆฏนาในที่นี้ ไม่มี.

 
  ข้อความที่ 51  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 100

๙. อุปนิสสยปัจจัย

[๘๕] ๑. สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม ด้วย อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น สเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๒. สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อเหตุกธรรม ด้วย อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น อเหตุกธรรม และโมหะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๓. สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม และ อเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคต ด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 52  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 101

๔. อเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อเหตุกธรรม ด้วย อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

สุขทางกาย เป็นปัจจัยแก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย และแก่โมหะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

ทุกข์ทางกาย ฯลฯ อุตุ ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัย แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย และแก่โมหะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

โมหะ เป็นปัจจัยแก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย และแก่โมหะ ด้วย อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย อุตุ โภชนะ เสนาสนะ และโมหะ เป็น ปัจจัยแก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย และแก่โมหะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยะ ปัจจัย.

๕. อเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม ด้วย อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยสุขทางกายแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

บุคคลเข้าไปอาศัยทุกข์ทางกาย ฯลฯ อุตุ โภชนะ เสนาสนะ ฯลฯ โมหะแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

 
  ข้อความที่ 53  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 102

สุขทางกาย ฯลฯ และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ปัญญา แก่ราคะ ฯลฯ แก่ความปรารถนา แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย. ๖. อเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม และ อเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

สุขทางกาย และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วย วิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๗. สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ สเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๘. สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ อเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

 
  ข้อความที่ 54  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 103

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเหตุกธรรม และโมหะ ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย.

๙. สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และ โมหะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย

[๘๖] ๑. อเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อเหตุกธรรม ด้วย อำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น เมื่อกุศลและอกุศลดับไปแล้ว ตทารัมมณจิตที่เป็น วิบาก ที่เป็นอเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

 
  ข้อความที่ 55  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 104

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น ปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัย แก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเหตุกธรรม และโมหะ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๒. อเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม ด้วย อำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น , เมื่อกุศลและอกุศลดับไปแล้ว ตทารัมมณจิตที่เป็น วิบาก ซึ่งเป็นสเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ, ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม ด้วยอำนาจ ของปุเรชาตปัจจัย.

๓. อเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม และ อเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

 
  ข้อความที่ 56  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 105

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

เพราะปรารภจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคต ด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย

[๘๗] ๑. สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อเหตุกธรรม ด้วย อำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่ กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

๒. อเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อเหตุกธรรม ด้วย อำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเหตุกธรรม ที่เกิดภายหลัง และโมหะ เป็น ปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

๓. สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ อเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย

 
  ข้อความที่ 57  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 106

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ที่ เกิดภายหลัง และโมหะ เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของ ปัจฉาชาตปัจจัย.

๑๒. อาเสวนปัจจัย

[๘๘] ๑. สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม ด้วย อำนาจของอาเสวนปัจจัย เหมือนกับ อนันตรปัจจัย.

อาวัชชนะก็ดี ภวังค์ก็ดี ไม่มี ในอาเสวนปัจจัย พึงเว้นทั้ง ๙ วาระ.

๑๓. กัมมปัจจัย

[๘๙] ๑. สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม ด้วย อำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิะ ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วย อำนาจของกัมมปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 58  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 107

๒. สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อเหตุกธรรม ด้วย อำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วย อำนาจของกัมมปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ที่เป็นนานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเหตุกธรรม ซึ่งเป็นวิบาก และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๓. สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม และ อเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหาชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม ซึ่งเป็นวิบาก และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๔. อเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

 
  ข้อความที่ 59  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 108

คือ เจตนาที่เป็นอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๑๔. วิปากปัจจัย

[๙๐] ๑. สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม ด้วย อำนาจของวิปากปัจจัย

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อเหตุกธรรม ด้วย อำนาจของวิปากปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๓. สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม และ อเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๔. อเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อเหตุกธรรม ด้วย อำนาจของวิปากปัจจัย

 
  ข้อความที่ 60  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 109

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจ ของวิปากปัจจัย.

๑๕. อาหารปัจจัย

[๙๑] ๑. สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุธรรม ด้วย อำนาจของอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๑ - ๓)

๔. อเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อเหตุกธรรม ด้วย อำนาจของอาหารปัจจัย

คือ อาหารทั้งหลาย ที่เป็นอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

กวฬีการาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้ ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

๑๖. อินทริยปัจจัย

[๙๒] ๑. สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม ด้วย อำนาจของอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๑ - ๓)

๔. อเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อเหตุกธรรม ด้วย อำนาจของอินทริยปัจจัย

 
  ข้อความที่ 61  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 110

คือ อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

จักขุนทรีย์เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่ กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของ อินทริยปัจจัย

๑๗. ฌานปัจจัย

[๙๓] ๑. สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม ด้วย อำนาจของฌานปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๑ - ๓)

๔. อเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อเหตุกธรรม ด้วย อำนาจของฌานปัจจัย

คือ องค์ฌานทั้งหลายที่เป็นอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๑๘. มัคคปัจจัย

[๙๔] ๑. สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม ด้วย อำนาจของมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๑ - ๓)

 
  ข้อความที่ 62  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 111

๑๙. สัมปยุตตปัจจัย

[๙๕] ๑. สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย เหมือนกับสัมปยุตตปัจจัย ในปฏิจจวาระ.

พึงกระทำเป็น ๖ วาระ.

๒๐. วิปปยุตตปัจจัย

[๙๖] ๑. สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อเหตุกธรรม ด้วย อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้ง หลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตา รูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๒. อเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อเหตุกธรรม ด้วย อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

 
  ข้อความที่ 63  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 112

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตา รูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย, หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่ กายวิญญาณ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเหตุกธรรม และโมหะ ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเหตุกธรรมที่เกิดภายหลัง และโมหะ เป็นปัจจัย แก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๓. อเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม ด้วย อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นสเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 64  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 113

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม ด้วย อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๔. อเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม และ อเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคต ด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๕. สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ อเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะที่เกิดภาย หลัง และโมหะ เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๒๑. อัตถิปัจจัย

[๙๗] ๑. สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม ด้วย อำนาจของอัตถิปัจจัย

 
  ข้อความที่ 65  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 114

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้ง หลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย, ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่ สหรคตด้วยอุทธัจจะ เป็นปัจจัยแก่โมหะ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วย อำนาจของอัตถิปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่ เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

๓. สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม และ อเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ.

 
  ข้อความที่ 66  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 115

ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๓, โมหะ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๔. อเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อเหตุกธรรม ด้วย อำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และ อินทริยะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ เป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ พึงกระทำตลอดถึงอสัญญสัตว์.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็น จักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุโดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น เมื่อกุศลและอกุศลดับไปแล้ว ตทารัมมณจิต ที่เป็นวิบาก ซึ่งเป็นอเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น ปัจจัยแก่กายวิญญาณ.

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัย แก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 67  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 116

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเหตุกธรรม และโมหะ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเหตุกธรรม และโมหะ ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัย แก่กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

กวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิ- ปัจจัย

๕. อเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม ด้วย อำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น เมื่อกุศลและอกุศลดับไปแล้ว ตทารัมมณจิต ที่ เป็นวิบาก ซึ่งเป็นสเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

 
  ข้อความที่ 68  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 117

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม ด้วยอำนาจ ของอัตถิปัจจัย.

๖. อเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม และ อเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของ อัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

เพราะปรารภจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ย่อมเกิดขึ้น.

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่ สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

๗. สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ สเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ที่เกิดพร้อมกัน และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

 
  ข้อความที่ 69  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 118

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม และหทยวัตถุ เป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม ที่เกิดพร้อมกัน และหทยวัตถุ เป็นปัจจัย แก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

๘. สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ อเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และรวมกับ อินทริยะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม ที่เกิดพร้อมกัน และมหาภูตรูป ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม และมหาภูตรูป ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ที่เกิด พร้อมกัน และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่โมหะ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

 
  ข้อความที่ 70  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 119

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ที่เกิด ภายหลัง และโมหะ เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม ที่เกิดภายหลัง และกวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อินทริยะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม ที่เกิดภายหลัง และรูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

๙. สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ที่เกิดพร้อม กัน และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วย อำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ

ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ที่เกิดพร้อม กัน และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และโมหะ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

 
  ข้อความที่ 71  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 120

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๙๘] ในเหตุปัจจัย มี ๖ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ใน กัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๔ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๔ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๔ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๔ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

อนุโลมนัย จบ

ปัจจนียนัย

การยกปัจจัยในปัจจนียะ

[๙๙] ๑. สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม ด้วย อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ กัมมปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 72  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 121

๒. สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อเหตุกธรรม ด้วย อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ ปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๓. สเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม และ อเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ ของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็น ปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๔. อเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อเหตุกธรรม ด้วย อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ ปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

๕. อเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม ด้วย อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอํานาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ ปุเรชาตปัจจัย.

๖. อเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สเหตุกธรรม และ อเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ ของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็น ปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 73  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 122

๗. สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ สเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ ของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๘. สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ อเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ ของสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็น ปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

๙. สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็น ปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๑๐] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในโนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

ปัจจนียนัย จบ

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๑๐๑] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๖ วาระ ... ใน นอธิปติปัจจัย มี ๖ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๖ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย

 
  ข้อความที่ 74  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 123

มี ๖ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๖ วาระ ฯลฯ ในนมัคคปัจจัย มี ๖ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๖ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๖ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

อนุโลมปัจจนียนัย จบ

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๑๐๒] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ... ใน อธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ ใน นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ใน กัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๔ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๔ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๔ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๔ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

ปัจจนียานุโลมนัย จบ

สเหตุกทุกะ จบ