พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย

๔. เหตุสเหตุทุกะ

 
บ้านธัมมะ
วันที่  27 ก.พ. 2565
หมายเลข  42253
อ่าน  499

[เล่มที่ 88] พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔

พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๗

ปัฏฐาน ภาคที่ ๔

อนุโลมทุกปัฏฐาน

๔. เหตุสเหตุทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย 125

๑. เหตุปัจจัย 104/125

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 105/128

ปัจจนียนัย 128

๑. นอธิปติปัจจัย 106/128

๒. นปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ ๔. นอาเสวนปัจจัย 128

๕. นกัมมปัจจัย 107/129

๖. นวิปากปัจจัย ๗. นวิปปยุตตปัจจัย 129

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 108/129

อนุโลมปัจจนียนัย 130

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 109/130

ปัจจนียานุโลมนัย 130

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 110/130

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย 131

๑. เหตุปัจจัย 111/131

๒. อารัมมณปัจจัย 112/132

๓. อธิปติปัจจัย 113/135

๔. อนันตรปัจจัย ๕. สมนันตรปัจจัย 114/139

๖. สหชาตปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย 115/142

๙. อุปนิสสยปัจจัย 116/143

๑๐. อาเสวนปัจจัย 117/145

๑๑. กัมมปัจจัย 118/145

๑๒. วิปากปัจจัย 119/147

๑๓. อาหารปัจจัย 120/147

๑๔. อินทริยปัจจัย 121/148

๑๕. ฌานปัจจัย 122/148

๑๖. มัคคปัจจัย ฯลฯ ๒๑. อวิคตปัจจัย 123/148

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 124/148

ปัจจนียนัย 149

การยกปัจจัยในปัจจนียะ 125/149

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 126/151

อนุโลมปัจจนียนัย 152

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 127/152

ปัจจนียานุโลมนัย 152

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 128/152


อ่านหัวข้ออื่นๆ ... [เล่มที่ 88]


  ข้อความที่ 1  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 125

๔. เหตุสเหตุกทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๑๐๔] ๑. ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรม และสเหตุกธรรม อาศัย ธรรม ที่เป็นทั้งเหตุธรรม และสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุ ปัจจัย

คือ อโทสะ อโมหะ อาศัย อโลภะ.

พึงผูกจักรนัย

โมหะ อาศัย โลภะ.

พึงผูกจักรนัย

ในปฏิสนธิขณะ อโทสะ อโมหะ อาศัย อโลภะ.

พึงผูกจักรนัย

๒. ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรม แต่ไม่ใช่เหตุธรรม อาศัย ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยเหตุธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๓. ธรรมที่เป็นเหตุธรรม และสเหตุกธรรม และ ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรม แต่ไม่ใช่เหตุธรรม อาศัยธรรมที่เป็นทั้ง เหตุธรรม และสเหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

 
  ข้อความที่ 2  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 126

คือ อโทสะ อโมหะ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัย อโลภะ.

พึงผูกจักรนัย

โมหะ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโลภะ.

พึงผูกจักรนัย

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๔. ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม อาศัย ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุ ปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.

๕. ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรม และสเหตุกธรรม อาศัย ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรม แต่ไม่ใช่เหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุ ปัจจัย

คือ เหตุธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุ- ธรรม. ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๖. ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรม และสเหตุกธรรม และ ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรม แต่ไม่ใช่เหตุธรรม อาศัยธรรมที่เป็น สเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และเหตุธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ ใช่เหตุธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

 
  ข้อความที่ 3  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 127

๗. ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรม และสเหตุกธรรม อาศัย ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรม และสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ อโทสะ อโมหะ อาศัยอโลภะ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย.

พึงผูกจักรนัย.

โมหะ อาศัยโลภะ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย.

พึงผูกจักรนัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๘. ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม อาศัย ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรม และสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม และ เหตุธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.

๙. ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรม และสเหตุกธรรม และ ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรม แต่ไม่ใช่เหตุธรรม อาศัยธรรมที่เป็นทั้ง เหตุธรรมและสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่ เหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และอโทสะ อโมหะ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม แต่ไม่ใช่เหตุธรรม และอโลภะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

พึงให้พิสดารอย่างที่กล่าวมาแล้ว.

 
  ข้อความที่ 4  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 128

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๑๐๕] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

อนุโลมนัย จบ

ปัจจนียนัย

๑. นอธิปติปัจจัย

[๑๐๖] ๑. ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรม และสเหตุกธรรม อาศัย ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรม และสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติ ปัจจัย

คือ อโทสะ อโมหะ อาศัยอโลภะ.

พึงผูกจักรนัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

พึงกระทำเป็น ๙ วาระ ให้บริบูรณ์.

๒. นปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ ๔. นอาเสวนปัจจัย

ฯลฯ เพราะนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ

ฯลฯ เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ

ฯลฯ เพราะนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ

 
  ข้อความที่ 5  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 129

๕. นกัมมปัจจัย

[๑๐๗] ๑. ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ใช่เหตุธรรม อาศัย ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรม และสเหตุกธรรมเกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย

คือสัมปยุตตเจตนา อาศัยเหตุธรรม.

๒. ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม อาศัย ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย

คือ สัมปยุตตเจตนา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรม แต่ไม่ใช่ เหตุธรรม.

๓. ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม อาศัย ธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย

คือ สัมปยุตตเจตนา อาศัยเหตุธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย.

๖. นวิปากปัจจัย ๗. นวิปปยุตตปัจจัย

ฯลฯ เพราะนวิปากปัจจัย

ฯลฯ เพราะนวิปปยุตตปัจจัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๑๐๘] ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๘ วาระ ใน นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ.

 
  ข้อความที่ 6  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 130

พึงนับอย่างนี้.

ปัจจนียนัย จบ

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียนัย

[๑๐๙] เพราะเหตุปัจจัย ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

อนุโลมปัจจนียนัย จบ

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๑๑๐] เพราะนอธิปติปัจจัย ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

ปัจจนียานุโลม จบ

สหชาตวาระก็ดี นิสสยวาระก็ดี สังสัฏฐวาระก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี เหมือนกับปฏิจจวาระ.

 
  ข้อความที่ 7  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 131

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๑๑๑] ๑. ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรม และสเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของ เหตุปัจจัย

คือ อโลภะ เป็นปัจจัยแก่อโทสะ อโมหะ ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย. เหมือนกับปฏิจจวาระ.

๒. ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งสเหตุกธรรมและเหตุธรรม ด้วยอำนาจของ เหตุปัจจัย

คือ เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของ เหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๓. ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็น สเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ อโลภะ เป็นปัจจัยแก่อโทสะ อโมหะ และสัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

พึงให้พิสดาร.

 
  ข้อความที่ 8  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 132

๒. อารัมมณปัจจัย

[๑๑๒] ๑. ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุหกธรรม เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรม และสเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของ อารัมมณปัจจัย

คือ เพราะปรารภเหตุธรรม เหตุธรรมทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

๒. ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม ด้วยอำนาจของ อารัมมณปัจจัย

คือ เพราะปรารภเหตุธรรม ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ ใช่เหตุธรรม ย่อมเกิดขึ้น

๓. ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็น สเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ เพราะปรารภเหตุธรรม เหตุธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

๔. ธรรมที่เป็นสเหตุธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม ด้วยอำนาจของ อารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ พิจารณา กุศลกรรมนั้น.

 
  ข้อความที่ 9  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 133

บุคคลพิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน.

บุคคลออกจากฌานแล้ว พิจารณาฌาน.

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรค, พิจารณาผล, พิจารณากิเลสที่ละแล้ว, พิจารณากิเลสที่ข่มแล้ว, รู้ซึ่งกิเลสทั้งหลายที่เคยเกิด ขึ้นแล้วในกาลก่อน.

พิจารณาขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม โดย ความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ ไม่ใช่เหตุธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.

อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ, อากิญจัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณ ปัจจัย.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ อิทธิวิธญาณ แก่เจโตปริยญาณ แก่บุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

๕. ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของ อารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลให้ทาน ฯลฯ มีอธิบายเหมือนข้อความตามบาลีตอนต้น ไม่มีแตกต่างกัน.

 
  ข้อความที่ 10  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 134

๖. ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็น ปัจจัยและธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็น สเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลให้ทาน ฯลฯ มีอธิบายเหมือนกับข้อความตามบาลีตอนต้น ไม่มีแตกต่างกัน.

๗. ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม และ ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น ทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ เพราะปรารภเหตุธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เหตุธรรม ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

๘. ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม, ธรรม ที่เป็นสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม ด้วยอำนาจ ของอารัมมณปัจจัย

คือ เพราะปรารภเหตุธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

๙. ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม และ ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น ทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่ เหตุธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

 
  ข้อความที่ 11  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 135

คือ เพราะปรารภเหตุธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เหตุธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

๓. อธิปติปัจจัย

[๑๑๓] ๑. ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรม และสเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของ อธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

เพราะกระทำเหตุธรรมทั้งหลายให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เหตุ- ธรรมทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตเหตุทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๒. ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม เป็น ปัจจัยและธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม ด้วยอำนาจของ อธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

 
  ข้อความที่ 12  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 136

เพราะกระทำเหคุธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรม และสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๓. ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็น สเหตุกธรรม แต่ไม่ใช่เหตุธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

เพราะกระทำเหตุธรรมทั้งหลายให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เหตุ- ธรรมทั้งหลาย และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และเหตุธรรมทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๔. ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม ด้วยอำนาจของ อธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

 
  ข้อความที่ 13  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 137

บุคคลให้ทาน สมาทานศีล ฯลฯ กระทำอุโบสถกรรมแล้ว กระทำ กุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา.

บุคคลพิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้ในกาลก่อน ฯลฯ ออก จากฌานแล้ว กระทำฌานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา.

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่น แล้วพิจารณา ฯลฯ กระทำผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้ว พิจารณา.

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็น สเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำ ขันธ์เหล่านั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๕. ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของ อธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลให้ทาน ฯลฯ มีอธิบายเหมือนข้อความตามบาลีตอนต้นนั่นเอง.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

 
  ข้อความที่ 14  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 138

อธิปติธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตเหตุทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตเหตุทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๖. ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็น สเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลให้ทาน ฯลฯ มีอธิบายเหมือนข้อความตามบาลีตอนต้นนั่นเอง.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และเหตุธรรมทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๗. ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม และ ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น ทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

เพราะกระทำเหตุธรรมและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่น เหตุธรรมทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

 
  ข้อความที่ 15  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 139

๘. ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม และ ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น สเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

เพราะกระทำเหตุธรรมและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

๙. ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม และ ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น ทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่ เหตุธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

เพราะกระทำเหตุธรรมและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่น เหตุธรรมทั้งหลาย และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

๔. อนันตรปัจจัย ๕. สมนันตรปัจจัย

[๑๑๔] ๑. ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของ อนันตรปัจจัย

คือ เหตุธรรมทั้งหลาย ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมทั้งหลาย ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 16  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 140

๒. ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม ด้วยอำนาจของ อนันตรปัจจัย

คือ เหตุธรรมทั้งหลาย ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๓. ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็น สเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ เหตุธรรมทั้งหลาย ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมทั้งหลาย ที่เกิดหลังๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๔. ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม ด้วยอำนาจของ อนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน ฯลฯ เนวสัญญานาสัญญายตนะ ของบุคคลผู้ออกจากนิโรธเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 17  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 141

๕. ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของ อนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมทั้งหลาย ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู ฯลฯ

๖. ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็น สเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมทั้งหลาย ที่เกิดหลังๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู.

สเหตุกนเหตุมูลกนัย แม้ทั้ง ๓ ก็เป็นเช่นเดียวกัน.

๗. ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมเละสเหตุกธรรม และ ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ เหตุธรรมทั้งหลายที่เกิดก่อนๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็น ปัจจัยแก่เหตุธรรมทั้งหลาย ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 18  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 142

๘. ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม และ ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น สเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ เหตุธรรมทั้งหลายที่เกิดก่อนๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วย อำนาจของอนันตรปัจจัย.

๙. ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม และ ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น ทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่ เหตุธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ เหตุธรรมทั้งหลายที่เกิดก่อนๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็น ปัจจัยแก่เหตุธรรมทั้งหลายที่เกิดหลังๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจ ของอนันตรปัจจัย.

สมนันตรปัจจัย เหมือน อนันตรปัจจัย.

๖. สหชาตปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย

[๑๑๕] ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม เป็นปัจจัย แก่ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย

 
  ข้อความที่ 19  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 143

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย

ทั้ง ๓ ปัจจัย เหมือนกับเหตุปัจจัย ในปฏิจจวาระ.

๙. อุปนิสสยปัจจัย

[๑๑๖] ๑. ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

เหตุธรรมทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมทั้งหลาย ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย.

เหตุธรรมทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ ไม่ใช่เหตุธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

เหตุธรรมทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมทั้งหลายและสัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

พึงถามถึงมูลทั้งหลาย แห่งหัวข้อปัจจัยทั้งหลาย แม้ทั้ง ๒ เหล่านี้.

๒. ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย

 
  ข้อความที่ 20  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 144

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้วให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ก่อ มานะ ถือทิฏฐิ.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ ความปรารถนา แล้วให้ทาน ฯลฯ ทำลาย สงฆ์.

ศรัทธา ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ความ ปรารถนา แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

ในสเหตุมูลกนัย พึงให้พิสดารโดยเหตุนี้ ที่เหลือนอกนั้น มี ๒ วาระ.

๓. ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม และ ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

เหตุธรรมทั้งหลาย และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่เหตุ ธรรมทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

พึงถามถึงมูล ๒.

 
  ข้อความที่ 21  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 145

เหตุธรรมทั้งหลาย และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้ง หลายที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

พึงถามถึงมูล.

เหตุธรรมทั้งหลาย และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่เหตุ ธรรมทั้งหลาย และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๑๐. อาเสวนปัจจัย

[๑๑๗] ๑. ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของ อาเสวนปัจจัย (เหมือนอนันตรปัจจัย)

๑๑. กัมมปัจจัย

[๑๑๘] ๑. ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม ด้วยอำนาจของ กัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 22  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 146

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ด้วยอำนาจของ กัมมปัจจัย.

๒. ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็น ปัจจัยและธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของ กัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตเหตุทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุ ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ด้วยอำนาจของ กัมมปัจจัย.

๓. ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นเหตุธรรมและสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็น สเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

 
  ข้อความที่ 23  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 147

เจตนาที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และเหตุธรรมทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ ทั้งหลาย และเหตุธรรมทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๑๒. วิปากปัจจัย

[๑๑๙] ๑. ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของ วิปากปัจจัย

คือ อโลภะที่เป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่อโทสะ อโมหะ ด้วยอำนาจ ของ วิปากปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ อโลภะ ฯลฯ

พึงให้พิสดาร เหมือนกับเหตุปัจจัย พึงกำหนดว่า วิบากทั้ง ๙ วาระ.

๑๓. อาหารปัจจัย

[๑๒๐] ๑. ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม ด้วยอำนาจของ อาหารปัจจัย

 
  ข้อความที่ 24  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 148

๔. อินทริยปัจจัย

[๑๒๑] ๑. ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของ อินทริยปัจจัย

พึงกำหนดว่า อินทรีย์. พึงกระทำ ๙ วาระให้บริบูรณ์.

๑๕. ฌานปัจจัย

[๑๒๒] ๑. ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม ด้วยอำนาจของ ฌานปัจจัย มี ๓ วาระ.

๑๖. มัคคปัจจัย ฯลฯ ๒๑. อวิคตปัจจัย

[๑๒๓] ๑. ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของ มัคคปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย อำนาจของอัตถิปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนัตถิปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิคตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๑๒๔] ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย

 
  ข้อความที่ 25  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 149

มี ๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๙ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

อนุโลมนัย จบ

ปัจจนียนีย

การยกปัจจัยในปัจจนียะ

[๑๒๕] ๑. ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของ อารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๒. ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม ด้วยอำนาจของ อารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 26  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 150

๓. ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็น สเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็น ปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย.

๔. ธรรมที่เป็นสเหตุธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม ด้วยอำนาจของ อารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นต้น ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๕. ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่ทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของ อารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๖. ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็น สเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็น ปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๗. ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม และ ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรม แต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น

 
  ข้อความที่ 27  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 151

ทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็น ปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย.

๘. ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม และ ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น สเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็น ปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย.

๙. ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม และ ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น ทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่ เหตุธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ สหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๑๒๖] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ. พึงนับอย่างนี้.

ปัจจนียนัย จบ

 
  ข้อความที่ 28  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 152

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๑๒๗] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ใน นอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๓ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

อนุโลมปัจจนียนีย จบ

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๑๒๘] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ... ใน อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ใน นิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาหาร ปัจจัย มี ๓ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ

 
  ข้อความที่ 29  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 153

ในมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

ปัจจนียานุโลมนัย จบ

เหตุสเหตุกทุกะ จบ