พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย

๖. นเหตุสเหตุกทุกะ

 
บ้านธัมมะ
วันที่  27 ก.พ. 2565
หมายเลข  42255
อ่าน  469

[เล่มที่ 88] พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔

พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๗

ปัฏฐาน ภาคที่ ๔

อนุโลมทุกปัฏฐาน

๖. นเหตุสเหตุกทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย 155

๑. เหตุปัจจัย 130/155

๒. อารัมมณปัจจัย 131/157

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 132/158

ปัจจนียนัย 159

๑. นเหตุปัจจัย 133/159

๒. นอารัมมณปัจจัย 134/159

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 135/160

อนุโลมปัจจนียนัย 160

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 136/160

ปัจจนียานุโลมนัย 161

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 137/161

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย 162

๑. เหตุปัจจัย 138/162

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 139/163

ปัจจนียนัย 163

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 140/163

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย 164

๑. เหตุปัจจัย 141/164

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 142/164

ปัจจนียนัย 164

๑. นเหตุปัจจัย 143/164

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 144/165

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย 166

๑. อารัมมณปัจจัย 145/166

๒. อธิปติปัจจัย 146/169

๓. อนันตรปัจจัย 147/171

๔. สมนันตรปัจจัย 148/172

๕. สหชาตปัจจัย 172

๖. อัญญมัญญปัจจัย 173

๗. นิสสยปัจจัย 173

๘. อุปนิสสยปัจจัย 149/173

๙. ปุเรชาตปัจจัย 150/173

๑๐. ปัจฉาชาตปัจจัย 151/176

๑๑. อาเสวนปัจจัย 152/177

๑๒. กัมมปัจจัย 153/178

๑๓. วิปากปัจจัย 154/179

๑๔. อาหารปัจจัย 155/180

๑๕. อินทริยปัจจัย 156/180

๑๖. ฌานปัจจัย 157/180

๑๗. มัคคปัจจัย 181

๑๘. สัมปยุตตปัจจัย 158/181

๑๙. วิปปยุตตปัจจัย 159/182

๒๐. อัตถิปัจจัย 160/183

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 161/187

ปัจจนียนัย 187

การยกปัจจัยในปัจจนียะ 162/187

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 163/189

อนุโลมปัจจนียนัย 189

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 164/189

ปัจจนียานุโลมนัย 190

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 165/190


อ่านหัวข้ออื่นๆ ... [เล่มที่ 88]


  ข้อความที่ 1  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 155

๖. นเหตุสเหตุกทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

[๑๓๐] ๑. นเหตุสเหตุกธรรม อาศัยนเหตุสเหตุกธรรม เกิด ขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. นเหตุอเหตุกธรรม อาศัยนเหตุสเหตุกธรรม เกิด ขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๓. นเหตุสเหตุกธรรม และนเหตุอเหตุกธรรม อาศัย นเหตุสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นนเหตุ- สเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๔. นเหตุอเหตุกธรรม อาศัยนเหตุอเหตุกธรรม เกิด ขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ฯลฯ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ.

 
  ข้อความที่ 2  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 156

จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป ทั้งหลาย.

๕. นเหตุสเหตุกธรรม อาศัยนเหตุอเหตุกธรรม เกิด ขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม อาศัย หทยวัตถุ.

๖. นเหตุสเหตุกธรรม และนเหตุอเหตุกธรรม อาศัย นเหตุอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม อาศัย หทยวัตถุ.

กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๗. นเหตุสเหตุกธรรม อาศัยนเหตุสเหตุกธรรม และ นเหตุอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

๘. นเหตุอเหตุกธรรม อาศัยนเหตุสเหตุกธรรม และ นเหตุอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย.

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

 
  ข้อความที่ 3  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 157

๙. นเหตุสเหตุกธรรม และนเหตุอเหตุกธรรม อาศัย นเหตุสเหตุกธรรม และนเหตุอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๒. อารัมมณปัจจัย

[๑๓๑] ๑. นเหตุสเหตุกธรรม อาศัยนเหตุสเหตุกธรรม เกิด ขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. นเหตุอเหตุกธรรม อาศัยนเหตุอเหตุกธรรม เกิด ขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ฯลฯ อาศัย ขันธ์ ๑ ที่เป็นนเหตุอเหตุกธรรม ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๓. นเหตุสเหตุกธรรม อาศัยนเหตุอเหตุกธรรม เกิด ขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม อาศัย หทยวัตถุ.

 
  ข้อความที่ 4  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 158

๔. นเหตุสเหตุกธรรม อาศัยนเหตุสเหตุกธรรม และ นเหตุอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ฯลฯ พึงจำแนกอย่างนี้.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๑๓๒] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ ใน นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๔ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัตถิ- ปัจจัย มี ๙ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

อนุโลมนัย จบ

 
  ข้อความที่ 5  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 159

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๑๓๓] ๑. นเหตุอเหตุกธรรม อาศัยนเหตุอเหตุกธรรม เกิด ขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นนเหตุอเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ปฏิสนธิ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์ โมหะไม่มี.

๒. นอารัมมณปัจจัย

[๑๓๔] ๑. นเหตุอเหตุกธรรม อาศัยนเหตุสเหตุกธรรม เกิด ขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. นเหตุอเหตุกธรรม อาศัยนเหตุอเหตุกธรรม เกิด ขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุอเหตุกธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

๓. นเหตุอเหตุกธรรม อาศัยนเหตุสเหตุกธรรม และ นเหตุอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

 
  ข้อความที่ 6  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 160

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๑๓๕] ในนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ใน นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

ปัจจนียนัย จบ

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๑๓๖] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ... ในน อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย

 
  ข้อความที่ 7  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 161

มี ๙ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ ในโนนัตถิ ปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

อนุโลมปัจจนียนัย จบ

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๑๓๗] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ ... ใน อาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ในฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ในวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ.

ปัจจนียานุโลมนัย จบ

แม้ในสหชาตวาระ ก็พึงนับอย่างนี้.

 
  ข้อความที่ 8  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 162

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๑๓๘] ๑. นเหตุสเหตุกธรรม อาศัยนเหตุอเหตุกธรรม เกิด ขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๑ - ๓)

๔. นเหตุอเหตุกธรรม อาศัยนเหตุอเหตุกธรรม เกิด ขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตา รูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๕. นเหตุสเหตุกธรรม อาศัยนเหตุอเหตุกธรรม เกิด ขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.

๖. นเหตุสเหตุกธรรม และนเหตุอเหตุกธรรม อาศัย นเหตุอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย. ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.

๗. นเหตุสเหตุกธรรม อาศัยนเหตุสเหตุกธรรม และ นเหตุอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

 
  ข้อความที่ 9  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 163

ปัจจัยสงเคราะห์ มี ๓ วาระ (วาระที่ ๗ - ๙) ปวัตติ และปฏิสนธิ พึงกระทำให้บริบูรณ์ ฯลฯ.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๑๓๙] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ ฯลฯ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ ฯลฯ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ ใน อาเสวนปัจจัย มี ๔ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

อนุโลมนัย จบ

ปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๑๔๐] ในนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

ปัจจนียนัย จบ

นิสสยวาระ เหมือนกับ ปัจจยวาระ.

 
  ข้อความที่ 10  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 164

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๑๔๑] ๑. นเหตุสเหตุกธรรม เจือกับ นเหตุสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม ฯลฯ.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๑๔๒] ในเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๑ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๒ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.

อนุโลมนัย จบ

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๑๔๓] ๑. นเหตุอเหตุกธรรม เจือกับ นเหตุอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

 
  ข้อความที่ 11  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 165

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นนเหตุอเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุ อเหตุกธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๑๔๔] ในนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ.

ปัจจนียนัย จบ

การนับ แม้ ๒ นัย ที่ยังเหลือ ก็พึงนับอย่างนี้.

สัมปยุตตวาระ เหมือนกับ สังสัฏฐวาระ.

 
  ข้อความที่ 12  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 166

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. อารัมมณปัจจัย

[๑๔๕] ๑. นเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุสเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ แล้วพิจารณา กุศลกรรมนั้น.

พิจารณากุศลกรรมทั้งหลาย ที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน. ออกจากฌาน ฯลฯ

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรคแล้ว พิจารณามรรค, พิจารณาผล, ฯลฯ กิเลสที่ละแล้ว ฯลฯ กิเลสที่ข่มแล้ว ฯลฯ กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้ว ในกาลก่อน.

พิจารณาขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม โดยความเป็นของไม่ เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น เมื่อกุศลและอกุศลดับไปแล้ว ตทารัมมณจิต ที่เป็นวิบาก ที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.

อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ.

อากิญจัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ.

 
  ข้อความที่ 13  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 167

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่ เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย. เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

๒. นเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุอเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม โดย ความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น, เมื่อกุศลและอกุศลดับไป แล้ว ตทารัมมณจิตที่เป็นวิบาก ที่เป็นนเหตุอเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นนเหตุอเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น. ๓. นเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุอเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ นิพพาน เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

พิจารณาเห็นซึ่งจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุ อเหตุกธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น เมื่อกุศล และอกุศลดับไปแล้ว ตทารัมมณจิตที่เป็นวิบาก ที่เป็นนเหตุอเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น ปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 14  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 168

เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุอเหตุกธรรม ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นนเหตุอเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

๔. นเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุสเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ พระอริยะทั้งหลายพิจารณานิพพาน.

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่มรรค, แก่ผล ด้วย อำนาจของอารัมมณปัจจัย.

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น นเหตุอเหตุกธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น, เมื่อ กุศลและอกุศลับไปแล้ว ตทารัมมณจิตที่เป็นวิบาก ที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่เป็นนเหตุอเหตุกธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่ เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่อนาคตังสญาณ ด้วยอำนาจ ของอารัมมณปัจจัย.

เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุอเหตุกธรรม ขันธ์ทั้งหลาย เป็นนเหตุสเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

 
  ข้อความที่ 15  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 169

๒. อธิปติปัจจัย

[๑๔๖] ๑. นเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุสเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลให้ทาน สมาทานศีลแล้ว กระทำกุศลกรรมนั้น ให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา.

บุคคลพิจารณากุศลกรรมทั้งหลาย ที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ ออกจากฌานแล้ว กระทำฌานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้ว พิจารณา.

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่นแล้วพิจารณา, กระทำผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา.

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็น นเหตุสเหตุกธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำขันธ์นั้นให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๒. นเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุอเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

 
  ข้อความที่ 16  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 170

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๓. นเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุสเหตุกธรรม และนเหตุอเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๔. นเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุสเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

พระอริยะทั้งหลายกระทำนิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้ว พิจารณา.

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่มรรค, แก่ผล ด้วย อำนาจของอธิปติปัจจัย.

บุคคล ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุอเหตุกธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิด ขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

 
  ข้อความที่ 17  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 171

๓. อนันตรปัจจัย

[๑๔๗] ๑. นเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุสเหตุกธรรม ด้วยอำนาจองอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัย แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของ อนันตรปัจจัย.

อนุโลม เป็นปัจจัยแก่ โคตรภู ฯลฯ

เนวสัญญานาสัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่ ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของ อนันตรปัจจัย.

๒. นเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุอเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ จุติจิตที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่เป็น นเหตุอเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

ภวังค์ที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะ.

ภวังค์ที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภวังค์ที่เป็นนเหตุอเหตุกธรรม.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็น นเหตุอเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๓. นเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุอเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

 
  ข้อความที่ 18  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 172

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุอเหตุกธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัย แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุอเหตุกธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของ อนันตรปัจจัย.

อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ ปัญจวิญญาณ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๔. นเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุสเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ จุติจิตที่เป็นนเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ อุปปัตติจิตที่เป็น นเหตุสเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม ด้วย อำนาจของอนันตรปัจจัย.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ วุฏฐานะที่เป็น นเหตุสเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๔. สมนันตรปัจจัย

[๑๔๘] ๑. นเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุสเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย.

๕. สหชาตปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย

ในที่นี้ปัจจัยสงเคราะห์ ไม่มี พึงกระทำเป็น ๗ วาระ.

 
  ข้อความที่ 19  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 173

๖. อัญญมัญญปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย

พึงกระทำเป็น ๖ วาระ.

๗. นิสสยปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย

พึงกระทำปวัตติ และ ปฏิสนธิ ทั้ง ๗ วาระ ในที่นี้ปัจจัยสงเคราะห์ ไม่มี.

๘. อุปนิสสยปัจจัย

[๑๔๙] ๑. นเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุสเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ ความปรารถนาแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ทำลาย สงฆ์.

ศรัทธา ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ ศรัทธา ฯลฯ แก่ความ ปรารถนา แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 20  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 174

๒. นเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุอเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

ศรัทธา เป็นปัจจัยแก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย.

ศีล ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

ศรัทธา ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ สุขทางกาย แก่ทุกข์ ทางกาย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๓. นเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุอเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

ที่ ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

สุขทางกาย เป็นปัจจัยแก่ สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย ด้วยอำนาจ ของอุปนิสสยปัจจัย.

ทุกข์ทางกาย ฯลฯ อุตุ ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย อุตุ โภชนะ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 21  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 175

๔. นเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุสเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยสุขทางกายแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

บุคคลเข้าไปอาศัยทุกข์ทางกาย ฯลฯ อุตุ ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ แล้ว ให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

สุขทางกาย ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ ศรัทธา ฯลฯ แก่ความ ปรารถนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๙. ปุเรชาตปัจจัย

[๑๕๐] ๑. นเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุอเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นซึ่งจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น เมื่อกุศลและอกุศลดับไปแล้ว ตทารัมมณจิตที่เป็น วิบาก ที่เป็นนเหตุอเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่ จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น ปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 22  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 176

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัย แก่กายวิญญาณ.

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุอเหตุกธรรม ด้วย อำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๒. นเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ นเหตุสเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น เมื่อกุศลและอกุศลดับไปแล้ว ตทารัมมณจิตที่ เป็นวิบาก ที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม ด้วยอำนาจปุเรชาตปัจจัย.

๑๐. ปัจฉาชาตปัจจัย

[๑๕๑] ๑. นเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุอเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย

 
  ข้อความที่ 23  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 177

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิด ก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

๒. นเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุอเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิด ก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

๑๑. อาเสวนปัจจัย

[๑๕๒] ๑. นเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุสเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัย แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.

อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน, โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค, โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.

๒. นเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุอเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุอเหตุกธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัย แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุอเหตุกธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 24  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 178

๑๒. กัมมปัจจัย

[๑๕๓] ๑. นเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุสเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น นเหตุสเหตุกธรรม ที่เป็นวิบาก ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๒. นเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุอเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น นเหตุอเหตุกธรรมที่เป็นวิบากและกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 25  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 179

๓. นเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุสเหตุกธรรม และนเหตุอเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น นเหตุสเหตุกธรรม ที่เป็นวิบาก และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๔. นเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุอเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นนเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่เป็นนเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๓. วิปากปัจจัย

[๑๕๕] ๑. นเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุสเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๑ - ๓).

 
  ข้อความที่ 26  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 180

๔. นเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุอเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ.

๑๔. อาหารปัจจัย

[๑๕๕] ๑. นเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุสเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๑ - ๓)

๔. นเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุอเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย

คือ อาหารทั้งหลายที่เป็นนเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ กวฬีการาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้ ด้วยอำนาจของ อาหารปัจจัย.

๑๕. อินทริยปัจจัย

[๑๕๖] ๑. นเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุสเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๑ - ๓)

๔. นเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุอเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย

คือ อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 27  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 181

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

๑๖. ฌานปัจจัย

[๑๕๗] ๑. นเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุสเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย พึงกระทำทั้ง ๔ วาระ.

๑๗. มัคคปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ.

๑๘. สัมปยุตตปัจจัย

[๑๕๘] ๑. นเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุสเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. นเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุอเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นนเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

 
  ข้อความที่ 28  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 182

๑๙. วิปปยุตตปัจจัย

[๑๕๙] ๑. นเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุอเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กาย นี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๒. นเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุอเหตุกธรรมด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจของ วิปปยุตตปัจจัย.

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 29  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 183

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะเป็นปัจจัยแก่ กายวิญญาณ.

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุอเหตุกธรรม ด้วย อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุอเหตุกธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กาย นี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๓. นเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุสเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาระ และ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุ- สเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม ด้วย อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๒๐. อัตถิปัจจัย

[๑๖๑] ๑. นเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุสเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

 
  ข้อความที่ 30  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 184

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. นเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุอเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

๓. นเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุสเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๔. นเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุอเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และ อินทริยะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่เป็นนเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

 
  ข้อความที่ 31  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 185

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น ปัจจัยแก่กายวิญญาณ.

จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ. หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุอเหตุกธรรม ด้วย อำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุอเหตุกธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่ กายนี้ ที่เกิดก่อน.

กวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้.

รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิ- ปัจจัย.

๕. นเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุสเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุ- สเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น เมื่อกุศลและอกุศลดับไปแล้ว ตทารัมมณจิต ที่เป็น วิบาก ที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

ย่อมเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ, ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

 
  ข้อความที่ 32  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 186

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม ด้วย อำนาจของอัตถิปัจจัย

๖. นเหตุสเหตุกธรรม และนเหตุอเหตุกธรรม เป็น ปัจจัยแก่นเหตุสเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๓ ฯลฯ.

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม และหทยวัตถุ เป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ.

๗. นเหตุสเหตุกธรรม และนเหตุอเหตุกธรรม เป็น ปัจจัยแก่นเหตุอเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และรวมกับ อินทริยะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็น ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรมที่เกิดภายหลัง และกวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 33  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 187

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อินทริยะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรมที่เกิดภายหลัง และรูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๑๖๑] ในอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๔ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๔ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๔ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๔ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

อนุโลมนัย จบ

ปัจจนียนัย

การยกปัจจัยในปัจจนียะ

[๑๖๒] ๑. นเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุสเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาต-

 
  ข้อความที่ 34  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 188

ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย อำนาจของกัมมปัจจัย.

๒. นเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุอเหตุกธรรม ด้วยอํานาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย อำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๓. นเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุสเหตุกธรรม และนเหตุอเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย อำนาจของกัมมปัจจัย.

๔. นเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุอเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย อำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ อินทริยปัจจัย.

๕. นเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุสเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย อำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 35  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 189

๖. นเหตุสเหตุกธรรม และนเหตุอเหตุกธรรม เป็น ปัจจัยแก่นเหตุสเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๗. นเหตุสเหตุกธรรม และนเหตุอเหตุกธรรม เป็น ปัจจัยแก่นเหตุอเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๑๖๓] ในนเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๗ วาระ ฯลฯ ในนสหชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ ในนนิสสยปัจจัย มี ๖ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๗ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในโนอัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในโนวิตตปัจจัย มี ๗ วาระ ในโนอวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

ปัจจนียนัย จบ

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๑๖๔] เพราะอารัมมณปัจจัย ในนเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ ... ใน นอธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี

 
  ข้อความที่ 36  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 190

๔ วาระ ฯลฯ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ ในโนอวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

อนุโลมปัจจนียนัย จบ

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๑๖๕] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ ... ใน อธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

ปัจจนียานุโลมนัย จบ

นเหตุสเหตุกทุกะ จบ