๑๐. สัปปฏิฆทุกะ
[เล่มที่ 88] พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔
พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๗
ปัฏฐาน ภาคที่ ๔
อนุโลมทุกปัฏฐาน
๑๐. สัปปฏิฆทุกะ
ปฏิจจวาระ
๔. อนันตรปัจจัย ฯลฯ ๖. สหชาตปัจจัย 237
๘. นิสสยปัจจัย ฯลฯ ๒๓. อวิคตปัจจัย 239
การนับจํานวนวาระในอนุโลม 224/239
๒. นอารัมมณปัจจัย ฯลฯ ๒๐. โนวิคตปัจจัย 226/240
การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 227/241
การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 228/241
การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 229/242
ปัจจยวาระ
๓. อธิปติปัจจัย ฯลฯ ๒๓. อวิคตปัจจัย 244
การนับจํานวนวาระในอนุโลม 232/244
ปัญหาวาระ
๖. สหชาตปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย 238/251
๑๗. ฌานปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย 247/257
การนับจํานวนวาระในอนุโลม 250/265
การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 252/267
การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 253/267
การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 254/268
อ่านหัวข้ออื่นๆ ... [เล่มที่ 88]
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 233
๑๐. สัปปฏิฆทุกะ
ปฏิจจวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๒๒๐] ๑. สัปปฏิฆธรรม อาศัยสัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่เป็นสัปปฏิฆธรรม ฯลฯ อาศัย มหาภูตรูป ๒ ฯลฯ
จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นสัปปฏิฆธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย ที่เป็นสัปปฏิฆธรรม.
จักขายตนะ ฯลฯ รสายตนะ อาศัย โผฏฐัพพายตนะ.
๒. อัปปฏิฆธรรม อาศัยสัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย
คือ อาโปธาตุ อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย ที่เป็นสัปปฏิฆธรรม.
จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นอัปปฏิฆธรรม. อาโปธาตุ อิตถินทรีย์ ฯลฯ กวฬีการาหาร อาศัยโผฏฐัพพายตนะ.
๓. สัปปฏิฆธรรม และอัปปฏิฆธรรม อาศัยสัปปฏิฆ- ธรรม เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 234
คือ มหาภูตรูป ๒ และอาโปธาตุ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่เป็นสัปปฏิฆ- ธรรม ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ ฯลฯ.
จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นสัปปฏิฆธรรม และอัปปฏิฆธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย ที่เป็นสัปปฏิฆธรรม.
จักขายตนะ ฯลฯ รสายตนะ อาโปธาตุ อิตถินทรีย์ กวฬีการาหาร อาศัยโผฏฐัพพายตนะ.
๔. อัปปฏิฆธรรม อาศัยอัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปฏิฆธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัย หทยวัตถุ.
จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นอัปปฏิฆธรรม อาศัยอาโปธาตุ.
อิตถินทรีย์ กวฬีการาหาร อาศัยอาโปธาตุ.
๕. สัปปฏิฆธรรม อาศัยอัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นสัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่ เป็นอัปปฏิฆธรรม.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
มหาภูตรูปทั้งหลาย ที่เป็นสัปปฏิฆธรรม อาศัยอาโปธาตุ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 235
จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นสัปปฏิฆธรรม อาศัยอาโปธาตุ.
จักขายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ อาศัยอาโปธาตุ.
๖. สัปปฏิฆธรรม และอัปปฏิฆธรรม อาศัยอัปปฏิฆ- ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นสัปปฏิฆธรรม และอัปปฏิฆ- ธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปฏิฆธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นสัปปฏิฆธรรม และอัปปฏิฆธรรม อาศัยอาโปธาตุ.
จักขายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ อิตถินทรีย์ กวฬีการาหาร อาศัย อาโปธาตุ.
๗. สัปปฏิฆธรรม อาศัยสัปปฏิฆธรรม และอัปปฏิฆ- ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นสัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็น อัปปฏิฆธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.
ในปฏิสนธิขณะ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่เป็นสัปปฏิฆธรรม และอาโปธาตุ ฯลฯ.
จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นสัปปฏิฆธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย ที่เป็นสัปปฏิฆธรรม และอาโปธาตุ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 236
จักขายตนะ ฯลฯ รสายตนะ อาศัยโผฏฐัพพายตนะ และอาโปธาตุ.
๘. อัปปฏิฆธรรม อาศัยสัปปฏิฆธรรม และอัปปฏิฆ- ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็น สัปปฏิฆธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป ที่เป็นอัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นอัปปฏิฆธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.
จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นอัปปฏิฆธรรม อาศัยโผฏฐัพพายตนะ และอาโปธาตุ.
อิตถินทรีย์ กวฬีการาหาร อาศัยโผฏฐัพพายตนะ และอาโปธาตุ.
๙. สัปปฏิฆธรรม และอัปปฏิฆธรรม อาศัยสัปปฏิฆ- ธรรมและอัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นสัปปฏิฆธรรม และอัปปฏิฆธรรม อาศัย ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นอัปปฏิฆธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป ที่เป็นสัปปฏิฆธรรม และอัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นอัปปฏิฆธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.
จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นสัปปฏิฆธรรม และอัปปฏิฆธรรม อาศัยโผฏฐัพพายตนะ และอาโปธาตุ.
จักขายตนะ ฯลฯ รสายตนะ อิตถินทรีย์ กวฬีการาหาร อาศัย โผฏฐัพพายตนะ และอาโปธาตุ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 237
๒. อารัมมณปัจจัย
[๒๒๑] ๑. อัปปฏิฆธรรม อาศัยอัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปฏิฆธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.
๓. อธิปติปจจัย
[๒๒๒] ๑. สัปปฏิฆธรรม อาศัยสัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย พึงเว้นปฏิสนธิ และกฏัตตารูป.
๔. อนันตรปัจจัย ฯลฯ ๖. สหชาตปัจจัย
ฯลฯ เพราะอนันตรปัจจัย
ฯลฯ เพราะสมนันตรปัจจัย
ฯลฯ เพราะสหชาตปัจจัย พึงกระทำมหาภูตรูปทั้งหมด.
๗. อัญญมัญญปัจจัย
[๒๒๓] ๑. สัปปฏิฆธรรม อาศัยสัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะ อัญญมัญญปัจจัย
คือ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่เป็นสัปปฏิฆธรรม ฯลฯ อาศัย มหาภูตรูป ๒.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 238
๒. อัปปฏิฆธรรม อาศัยสัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะ อัญญมัญญปัจจัย
คือ อาโปธาตุ อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย ที่เป็นสัปปฏิฆธรรม.
๓. สัปปฏิฆธรรม และอัปปฏิฆธรรม อาศัยสัปปฏิฆ- ธรรม เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย
คือ มหาภูตรูป ๒ และอาโปธาตุ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่เป็นสัปปฏิฆ- ธรรม ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ ฯลฯ
๔. อัปปฏิฆธรรม อาศัยอัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปฏิฆธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัย หทยวัตถุ.
๕. สัปปฏิฆธรรม อาศัยอัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย
คือ มหาภูตรูปทั้งหลาย ที่เป็นสัปปฏิฆธรรม อาศัยอาโปธาตุ.
พึงกระทำอัชฌัตติกพาหิรมหาภูตรูปเหล่านี้.
๖. สัปปฏิฆธรรม อาศัยสัปปฏิฆธรรม และอัปปฏิฆ- ธรรม เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย
คือ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่เป็นสัปปฏิฆธรรม และ อาโปธาตุ ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 239
๘. นิสสยปัจจัย ฯลฯ ๒๓. อวิคตปัจจัย
ฯลฯ เพราะนิสสยปัจจัย ฯลฯ เพราะอวิคตปัจจัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๒๒๔] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๑ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ใน วิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๙ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๙ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๙ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.
อนุโลมนัย จบ
ปัจจนียนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๒๒๕] ๑. สัปปฏิฆธรรม อาศัยสัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๑ - ๓)
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 240
๔. อัปปฏิฆธรรม อาศัยอัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปฏิฆธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.
จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นอัปปฏิฆธรรม อาศัยอาโปธาตุ.
อิตถินทรีย์ กวฬีการาหาร อาศัยอาโปธาตุ.
พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นอัปปฏิฆ- ธรรม อาศัยอาโปธาตุ.
โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ
อัปปฏิฆมูลกนัย พึงกระทำเป็น ๒ วาระ แม้นอกนี้, แม้ในปัจจัย สงเคราะห์ ก็พึงกระทำเป็น ๓ วาระ อัชฌัตติกมหาภูตรูปและพาหิรมหาภูตรูป ทั้งหมด ผู้มีปัญญารู้แล้ว พึงกระทำ.
๒. นอารัมมณปัจจัย ฯลฯ ๒๐. โนวิคตปัจจัย
[๒๒๖] ๑. สัปปฏิฆธรรม อาศัยสัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 241
ฯลฯ เพราะโนวิคตปัจจัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๒๒๗] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๙ วาระ ใน นฌานปัจจัย มี ๙ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ใน โนวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.
ปัจจนียนัย จบ
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๒๒๘] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ... ใน นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาร ะ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวน-
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 242
ปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ ในโนนัตถิ- ปัจจัย มี ๙ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.
อนุโลมปัจจนียนัย จบ
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๒๒๙] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ ... ใน อนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ใน อุปนิสสยปัจจัย มี ๑ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาเสวนปัจจัยมี ๑ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.
ปัจจนียานุโลมนัย จบ
แม้สหชาตวาระ ก็เหมือนกับ ปฏิจจวาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 243
ปัจจยวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๒๓๐] ๑. สัปปฏิฆธรรม อาศัยสัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๑ - ๓)
๔. อัปปฏิฆธรรม อาศัยอัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปฏิฆธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นอัปปฏิฆธรรม อาศัยอาโปธาตุ.
อิตถินทรีย์ กวฬีการาหาร อาศัยอาโปธาตุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น อัปปฏิฆธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
๕ วาระ ที่เหลือ เหมือนกับปฏิจจวาระ.
๒. อารัมมณปัจจัย
[๒๓๑] ๑. อัปปฏิฆธรรม อาศัยสัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 244
คือ จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัย กายายตนะ.
๒. อัปปฏิฆธรรม อาศัยอัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปฏิฆธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปฏิฆธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
๓. อัปปฏิฆธรรม อาศัยสัปปฏิฆธรรม และอัปปฏิฆ- ธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขายตนะ ฯลฯ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ และกายายตนะ.
๓. อธิปติปัจจัย ฯลฯ ๒๓. อวิคตปัจจัย
ฯลฯ เพราะอธิปติปัจจัย
ฯลฯ เพราะอวิคตปัจจัย
การนับจํานวนวาระในอนุโลม
[๒๓๒] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ ใน นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๓
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 245
วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
แม้การนับปัจจนียะ ก็พึงกระทำอย่างนี้.
แม้นิสสยวาระก็เหมือนกับปัจจยวาระ.
แม้ในสังสัฏฐวาระทั้งหมด แต่ละปัจจัย มี ๑ วาระ.
ฯลฯ เพราะอวิคตปัจจัย ก็มี ๑ วาระ เท่านั้น.
แม้วาระทั้งสอง (สหชาตวาระ และ สัมปยุตตวาระ) ก็พึงกระทำ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 246
ปัญหาวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๒๓๓] ๑. อัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปฏิฆธรรม ด้วย อำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ที่เป็นอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
๒. อัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปฏิฆธรรม ด้วย อำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย ที่เป็นสัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
๓. อัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปฏิฆธรรม และ อัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ที่เป็นสัปปฏิฆธรรม และอัปปฏิฆธรรม ด้วย อำนาจของเหตุปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 247
๒. อารัมมณปัจจัย
[๒๓๔] ๑. สัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปฏิฆธรรม ด้วย อำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ โผฏฐัพพะทั้งหลาย โดยความเป็น ของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.
รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัย แก่กายวิญญาณ.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของ อารัมมณปัจจัย.
๒. อัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปฏิฆธรรม ด้วย อำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ กระทำอุโบสถกรรม ฯลฯ แล้ว พิจารณาซึ่งกุศลกรรมนั้น.
บุคคลพิจารณาซึ่งกุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน.
บุคคลออกจากฌาน แล้วพิจารณาฌาน.
พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรคแล้ว พิจารณามรรค, พิจารณาผล, พิจารณานิพพาน.
นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่มรรค, แก่ผล, แก่ อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 248
พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว, กิเลสที่ข่มแล้ว, รู้ซึ่งกิเลส ทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน.
บุคคลพิจารณาเห็นหทยวัตถุ ฯลฯ อิตถินทรีย์ ปุริสินทรีย์ ชีวิตินทรีย์ อาโปธาตุ ฯลฯ กวฬีการาหาร โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสย่อม เกิดขึ้น.
บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่เป็นอัปปฏิฆธรรม ด้วย เจโตปริยญาณ.
อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ, อากิญจัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโตปริยญาณ, แก่ปุพเพนิเวสานุสสติญาณ, แก่ยถากัมมูปคญาณ, แก่อนาคตังสญาณ, แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
๓. อธิปติปัจจัย
[๒๓๕] ๑. สัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปฏิฆธรรม ด้วย อำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคล ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ โผฏฐัพพะทั้งหลายให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำจักษุเป็นต้นนั้น ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 249
๒. อัปปฏฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปฏิฆธรรม ด้วย อํานาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณธิปติ และ สหชาตาธิปติ ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ แล้ว กระทำกุศลกรรมนั้นให้ เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ กุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาล ก่อน ฯลฯ ออกจากฌานแล้ว กระทำฌานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.
พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรคแล้ว กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่น ฯลฯ.
นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่มรรค, แก่ผล ด้วย อำนาจของอธิปติปัจจัย.
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำหทยวัตถุ ฯลฯ อิตถินทรีย์ ปุริสินทรีย์ ชีวิตินทรีย์ อาโปธาตุ ฯลฯ กวฬีการาหารให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำหทยวัตถุเป็นต้นนั้นให้อารมณ์อย่างหนัก แน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ที่เป็นอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 250
๓. อัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปฏิฆธรรม ด้วย อำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
คือ อธิปติธรรมที่เป็นอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย ที่เป็นสัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
๔. อัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปฏิฆธรรม และ อัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ที่เป็นสัปปฏิฆธรรม และอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจ ของอธิปติปัจจัย
๔. อนันตรปัจจัย
[๒๓๖] ๑. อัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปฏิฆธรรม ด้วย อำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปฏิฆธรรม ที่เกิดก่อนๆ ฯลฯ เป็นปัจจัย แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
๕. สมนันตรปัจจัย
[๒๓๗] ๑. อัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปฏิฆธรรม ด้วย อำนาจของสมนันตรปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 251
๖. สหชาตปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย
[๒๓๘] ๑. สัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปฏิฆธรรม ด้วย อำนาจของสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ.
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ.
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ.
๙. อุปนิสสยปัจจัย
[๒๓๙] ๑. สัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปฏิฆธรรม ด้วย อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยอุตุ ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์.
อุตุ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจ ของอุปนิสสยปัจจัย.
๒. อัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปฏิฆธรรม ด้วย อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ถือทิฏฐิ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 252
บุคคลเข้าไปอาศัย ศีล ฯลฯ สุขทางกาย ฯลฯ ทุกข์ทางกาย ฯลฯ โภชนะ แล้ว ให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์.
ศรัทธา ฯลฯ โภชนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ผลสมาบัติ ด้วย อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
๑๐. ปุเรชาตปัจจัย
[๒๔๐] ๑. สัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปฏิฆธรรม ด้วย อำนาจของปุเรชาตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ โผฏฐัพพะทั้งหลาย โดยความเป็นของ ไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.
รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น ปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัย แก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
๒. อัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่ อัปปฏิฆธรรม ด้วย อำนาจของปุเรชาตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 253
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลพิจารณาเห็นหทยวัตถุ ฯลฯ อิตถินทรีย์ ปุริสินทรีย์ ชีวิตินทรีย์ อาโปธาตุ ฯลฯ กวฬีการาหาร โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อม เกิดขึ้น.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจ ของปุเรชาตปัจจัย.
๓. สัปปฏิฆธรรม และอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่ อัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
จักขายตนะและหทยวัตถุ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ และหทยวัตถุ เป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย
[๒๔๑] ๑. อัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปฏิฆธรรม ด้วย อำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปฏิฆธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่ กายนี้ที่เป็นอัปปฏิฆธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 254
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปฏิฆธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เป็นสัปปฏิฆธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปฏิฆธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เป็นสัปปฏิฆธรรม และอัปปฏิฆธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
พึงกระทำมูลแห่งวาระทั้งสอง.
๑๒. อาเสวนปัจจัย
[๒๔๒] ๑. อัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปฏิฆธรรม ด้วย อำนาจของอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปฏิฆธรรม ที่เกิดก่อนๆ ฯลฯ โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
๑๓. กัมมปัจจัย
[๒๔๓] ๑. อัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปฏิฆธรรม ด้วย อำนาจของกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ ที่เป็น สหขชาตะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ที่เป็นอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 255
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ และกฏัตตารูป ทั้งหลาย ที่เป็นอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
๒. อัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปฏิฆธรรม ด้วย อำนาจของกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะ ได่แก่
เจตนาที่เป็นอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ที่เป็นสัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ที่เป็น สัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
๓. อัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปฏิฆธรรม และ อัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
๑๔. วิปากปัจจัย
[๒๔๔] ๑. อัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปฏิฆธรรม ด้วย อำนาจของวิปากปัจจัย
คือ อัปปฏิฆธรรมที่เป็นวิบาก ฯลฯ มี ๓ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 256
๑๕. อาหารปัจจัย
[๒๔๕] ๑. อัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปฏิฆธรรม ด้วย อำนาจของอาหารปัจจัย
คือ อาหารทั้งหลายที่เป็นอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ที่เป็นอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ กวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
วาระ ๒ ที่เหลือนอกนั้นพึงกระทำ. ปฏิสนธิ กวฬีการาหาร พึงกระทำ แม้ในวาระทั้ง ๒ เบื้องปลาย.
๑๖. อินทริยปัจจัย
[๒๔๖] ๑. สัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปฏิฆธรรม ด้วย อำนาจของอินทริยปัจจัย
คือ จักขุนทรีย์ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายินทรีย์ เป็น ปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
๒. อัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปฏิฆธรรม ด้วย อำนาจของอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ.
พึงกระทำชีวิตินทรีย์ แม้ใน ๓ วาระเบื้องปลาย (วาระที่ ๒ - ๔)
๕. สัปปฏิฆธรรม และอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่ อัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 257
คือ จักขุนทรีย์และจักขุวิญญาณ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคต ด้วยจักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย ฯลฯ กายินทรีย์ และกายวิญญาณ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ด้วยอำนาจของ อินทริยปัจจัย.
๑๗. ฌานปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย
[๒๔๗] ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย มี ๓ วาระ.
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย มี ๓วาระ.
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย
มี ๑ วาระ.
๒๐. วิปปยุตตปัจจัย
[๒๔๘] ๑. สัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปฏิฆธรรม ด้วย อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัย แก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
๒. อัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปฏิฆธรรม ด้วย อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 258
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปฏิฆธรรม ที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ที่เป็นอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจ ของวิปปยุตตปัจจัย, หทยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของ วิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ ที่เกิดก่อน เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปฏิฆธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เป็นอัปปฏิฆธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
๓. อัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปฏิฆธรรม ด้วย อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปฏิฆธรรม ที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ที่เป็นสัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 259
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปฏิฆธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เป็นสัปปฏิฆธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
๔. อัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปฏิฆธรรม และ อัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปฏิฆธรรม ที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ที่เป็นสัปปฏิฆธรรม และอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจ ของวิปปยุตตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปฏิฆธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เป็นสัปปฏิฆธรรม และอัปปฏิฆธรรม ที่เกิดก่อนด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
๒๑. อัตถิปัจจัย
[๒๔.] ๑. สัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปฏิฆธรรม ด้วย อำนาจของอัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ วาระแรกเหมือนกับปฏิจจวาระ.
๒. สัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปฏิฆธรรม ด้วย อำนาจของอัตถิปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 260
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
มหาภูตรูปทั้งหลาย ที่เป็นสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อาโปธาตุ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
มหาภูตรูปทั้งหลายที่เป็นสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูปทั้งหลาย ที่เป็นอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิ- ปัจจัย.
โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่อิตถินทรีย์ ฯลฯ แก่กวฬีการาหาร ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วน อสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ โผฏฐัพพะทั้งหลาย โดยความเป็นของ ไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.
รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น ปัจจัยแก่กายวิญญาณ.
จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัย แก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 261
๓. สัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปฏิฆธรรม และ อัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
คือ มหาภูตรูป ๑ ที่เป็นสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๒ และอาโปธาตุ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ เหมือนกับปฏิจจวาระ ตลอดถึง อสัญญสัตว์.
๔. อัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปฏิฆธรรม ด้วย อำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทริยะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปฏิฆธรรม ที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลพิจารณาเห็นหทยวัตถุ ที่เกิดก่อน ฯลฯ อิตถินทรีย์ ปุริสินทรีย์ ชีวิตินทรีย์ อาโปธาตุ ฯลฯ กวฬีการาหาร โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจ ของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 262
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปฏิฆธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เป็นอัปปฏิฆธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
กวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจ ของอัตถิปัจจัย.
รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
๕. อัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปฏิฆธรรม ด้วย อำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๔ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และ อินทริยะ ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปฏิฆธรรม ที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ที่เป็นสัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ อาโปธาตุ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูปทั้งหลายที่เป็น สัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
อาโปธาตุ เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป ทั้งหลาย ที่เป็นสัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
อาโปธาตุ เป็นปัจจัยแก่จักขายตนะ ฯลฯ แก่โผฏฐัพพายตนะ ด้วย อำนาจของอัตถิปัจจัย.
พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วน อสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 263
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปฏิฆธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เป็นสัปปฏิฆธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
กวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นสัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจ ของอัตถิปัจจัย.
รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นสัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
๖. อัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปฏิฆธรรม และ อัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๔ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และ อินทริยะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปฏิฆธรรม ที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ที่เป็นสัปปฏิฆธรรม และอัปปฏิฆธรรม ฯลฯ เหมือนกับปฏิจจวาระตลอดถึง อสัญญสัตว์.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปฏิฆธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เป็นสัปปฏิฆธรรม และอัปปฏิฆธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
กวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นสัปปฏิฆธรรม และอัปปฏิฆ- ธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 264
รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นสัปปฏิฆธรรม และอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
๗. สัปปฏิฆธรรม และอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย เหมือนกับปฏิจจวาระ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.
๘. สัปปฏิฆธรรม และอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่ อัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปฏิฆธรรม ที่เกิดพร้อมกัน และมหาภูตรูป ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่เป็นอัปปฏิฆธรรม ฯลฯ เหมือนกับปฏิจจวาระ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.
ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่
ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ ที่เกิดพร้อมกัน และจักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ และกายายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
๙. สัปปฏิฆธรรม และอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัปปฏิฆธรรม และอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย เหมือนกับปฏิจจวาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 265
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๒๕๐] ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ ใน นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ ใน กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๕ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๔ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมนัย จบ
การยกปัจจัยในปัจจนียะ
[๒๕๑] ๑. สัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปฏิฆธรรม ด้วย อำนาจของสหชาตปัจจัย
๒. สัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปฏิฆธรรม ด้วย อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ ปุเรชาตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 266
๓. สัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปฏิฆธรรม และ อัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย
๔. อัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปฏิฆธรรม ด้วย อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ ปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย. เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
๕. อัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปฏิฆธรรม ด้วย อำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหาร ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
๖. อัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปฏิฆธรรม และ อัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ ของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอํานาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
๗. สัปปฏิฆธรรม และอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัปปฏิฆธรรม ด้วยอํานาจของสหชาตปัจจัย.
๘. สัปปฏิฆธรรม และอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่ อัปปฏิฆธรรม ด้วยอํานาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ ของปุเรชาตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 267
๙. สัปปฏิฆธรรม และอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัปปฏิฆธรรม และอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๒๕๒] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสหชาตปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ ในนนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในโนอัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ ในโนนัตถิ- ปัจจัย มี ๙ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ ในโนอวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ.
ปัจจนียนัย จบ
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๒๕๓] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ... ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
อนุโลมปัจจนียนัย จบ