พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย

๑๒. โลกิยทุกะ

 
บ้านธัมมะ
วันที่  27 ก.พ. 2565
หมายเลข  42261
อ่าน  388

[เล่มที่ 88] พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔

พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๗

ปัฏฐาน ภาคที่ ๔

อนุโลมทุกปัฏฐาน

๑๒. โลกิยทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย 301

๑. เหตุปัจจัย 290/301

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 291/302

ปัจจนียนัย 303

๑. นเหตุปัจจัย 292/303

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 293/303

อนุโลมปัจจนียนัย 304

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 284/304

ปัจจนียานุโลมนัย 304

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 295/304

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย 305

๑. เหตุปัจจัย 296/305

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 297/306

ปัจจนียนัย 307

๑. นเหตุปัจจัย 298/307

การนับจํานวนวาระปัจจนียะ 299/307

อนุโลมปัจจนียนัย 308

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 300/308

ปัจจนียานุโลมนัย 308

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 301/308

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย 309

๑. เหตุปัจจัย 302/309

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย 310

๑. เหตุปัจจัย 303/310

๒. อารัมมณปัจจัย 304/310

๓. อธิปติปัจจัย 305/312

๔. อนันตรปัจจัย 306/314

๕. สมนันตรปัจจัย 315

๖. สหชาตปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย 315

๙. อุปนิสสยปัจจัย 307/315

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย 308/317

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย 309/318

๑๒. อาเสวนปัจจัย 310/319

๑๓. กัมมปัจจัย 311/320

๑๔. วิปากปัจจัย 312/321

๑๕. อาหารปัจจัย 313/321

๑๖. อินทริยปัจจัย 314/322

๑๗. ฌานปัจจัย 315/322

๑๘. มัคคปัจจัย 323

๑๙. สัมปยุตตปัจจัย 323

๒๐. วิปปยุตตปัจจัย 316/323

๒๑. อัตถิปัจจัย 317/325

๒๒. นัตถิปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย 328

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 318/328

ปัจจนียนัย 329

การยกปัจจัยในปัจจนียะ 319/329

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 320/330

อนุโลมปัจจนียนัย 330

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 321/330

ปัจจนียานุโลมนัย 331

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 322/331

อรรถกถาโลกียทุกะเป็นต้น 331


อ่านหัวข้ออื่นๆ ... [เล่มที่ 88]


  ข้อความที่ 1  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 301

๑๒. โลกิยทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๒๙๐] ๑. โลกิยธรรม อาศัยโลกิยธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์๑ที่เป็นโลกิยธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัย หทยวัตถุ.

ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๒. โลกุตตรธรรม อาศัยโลกุตตรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นโลกุตตรธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

๓. โลกิยธรรม อาศัยโลกุตตรธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นโลกุตตรธรรม.

 
  ข้อความที่ 2  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 302

๔. โลกิยธรรม และโลกุตตรธรรม อาศัยโลกุตตรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นโลกุตรธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

๕. โลกิยธรรม อาศัยโลกิยธรรม และโลกุตตรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นโลกุตตรธรรม และ มหาภูตรูปทั้งหลาย.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๒๙๑] ในเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๕ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๕ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๕ วาระ ใน ฌานปัจจัย มี ๕ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๕ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๒ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.

อนุโลมนัย จบ

 
  ข้อความที่ 3  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 303

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๒๙๒] ๑. โลกิยธรรม อาศัยโลกิยธรรม เกิดขึ้น เพราะ นเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นโลกิยธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

อเหตุกปฏิสนธิ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๒๙๓] ในนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ.

ในอาเสวนมูลกนัย ในโลกุตตระ ในสุทธกอรูปภูมิ พึงกำหนด คำว่า วิบาก ส่วนที่เหลือนอกนั้น พึงกระทำตามปรกติ.

ในนกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ

 
  ข้อความที่ 4  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 304

ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ. ปัจจนียนัย จบ

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๒๙๔] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ... ในนอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอนันตรปัจจัย เป็นต้น เหมือนกับปัจจนียะ ในน วิปากปัจจัย มี ๕ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

อนุโลมปัจจนียนัย จบ

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๒๙๕] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ ... ในอนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ.

ปัจจนียานุโลมนัย จบ

สหชาตะ เหมือนกับปฏิจจวาระ.

 
  ข้อความที่ 5  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 305

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๒๙๖] ๑. โลกิยธรรม อาศัยโลกิยธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย

คือ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นโลกิยธรรม ฯลฯ.

มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูปทั้งหลาย อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นโลกิยธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

๒. โลกุตตรธรรม อาศัยโลกิยธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นโลกุตตรธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

๓. โลกิยธรรม และโลกุตตรธรรม อาศัยโลกิยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นโลกุตตรธรรม อาศัยหทยวัตถุ. จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๔. โลกุตตรธรรม อาศัยโลกุตตรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๔ - ๖)

๗. โลกิยธรรม อาศัยโลกิยธรรม และโลกุตตรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

 
  ข้อความที่ 6  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 306

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นโลกุตตรธรรม และ มหาภูตรูปทั้งหลาย.

๘. โลกุตตรธรรม อาศัยโลกิยธรรม และโลกุตตรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นโลกุตตรธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

๙. โลกิยธรรม และโลกุตตรธรรม อาศัยโลกิยธรรม และ โลกุตตรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นโลกุตตรธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นโลกุตตรธรรม และ มหาภูตรูปทั้งหลาย.

การนับจํานวนวาระในอนุโลม

[๒๙๗] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ ใน อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๔ วาระ ใน นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๔ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๔ วาระ

 
  ข้อความที่ 7  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 307

ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

อนุโลมนัย จบ

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๒๙๘] ๑. โลกิยธรรม อาศัยโลกิยธรรม เกิดขึ้น เพราะ นเหตุปัจจัย

คือ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นโลกิยธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นโลกิยธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ อาศัยหทยวัตถุ.

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และหทยวัตถุ.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๒๙๙] ในนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ.

ในโลกุตตระ ในอรูปภูมิ พึงกำหนดว่าวิบาก.

 
  ข้อความที่ 8  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 308

ในนกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาหาร ปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

ปัจจนียนัย จบ

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๓๐๐] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ... ใน นอธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอนันตรปัจจัย เป็นต้น เหมือนกับ ในปัจจ- นียะ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ใน นวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

อนุโลมปัจจนียนัย จบ

ปัจจนียานุโลม

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๓๐๑] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ ... ใน อนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ.

ปัจจนียานุโลมนัย จบ

 
  ข้อความที่ 9  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 309

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๓๐๒] ๑. โลกิยธรรม เจือกับโลกิยธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นโลกิยธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. โลกุตตรธรรม เจือกับโลกุตตรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นโลกุตตรธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

สังสัฏฐวาระพึงให้พิสดารอย่างนี้ พร้อมด้วยการนับ มี ๒ วาระ.

สัมปยุตตวาระ เหมือนกับสังสัฏฐวาระ.

 
  ข้อความที่ 10  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 310

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๓๐๓] ๑. โลกิยธรรม เป็นปัจจัยแก่โลกิยธรรม ด้วยอำนาจ ของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นโลกิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. โลกุตตรธรรม เป็นปัจจัยแก่โลกุตตรธรรม ด้วย อำนาจของเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๒ - ๔)

๒. อารัมมณปัจจัย

[๓๐๔] ๑. โลกิยธรรม เป็นปัจจัยแก่โลกิยธรรม ด้วยอำนาจ ของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ กระทำอุโบสถกรรม ฯลฯ แล้ว พิจารณาซึ่งกุศลกรรมนั้น.

บุคคลพิจารณากุศลกรรมทั้งหลาย ที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน.

ออกจากฌานแล้ว ฯลฯ

พระอริยะทั้งหลายพิจารณาโคตรภู, พิจารณาโวทาน, พิจารณากิเลสที่ละ แล้ว, พิจารณากิเลสที่ข่มแล้ว, รู้ซึ่งกิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน.

 
  ข้อความที่ 11  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 311

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นโลกิยธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ, ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่เป็นโลกิยธรรม ด้วย เจโตปริยญาณ.

อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ, อากิญจัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น ปัจจัยแก่กายวิญญาณ.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นโลกิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ, แก่เจโตปริยญาณ, แก่บุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ, แก่อนาคตตังสญาณ, แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

๒. โลกุตตรธรรม เป็นปัจจัยแก่โลกุตตรธรรม ด้วย อำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ นิพพานเป็นปัจจัยแก่มรรค แก่ผล ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

๓. โลกุตตรธรรม เป็นปัจจัยแก่โลกิยธรรม ด้วย อำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค แล้วพิจารณามรรค, พิจารณา ผล, พิจารณานิพพาน.

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่อาวัชชนะ ด้วย อำนาจของอารัมมณปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 12  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 312

พระอริยะทั้งหลายรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่เป็นโลกุตตรธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นโลกุตตรธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่ บุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของ อารัมมณปัจจัย.

๓. อธิปติปัจจัย

[๓๐๕] ๑. โลกิยธรรม เป็นปัจจัยแก่โลกิยธรรม ด้วยอำนาจ ของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ

พิจารณากุศลที่เคยทำแล้วในกาลก่อน ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ

พระเสกขบุคคลทั้งหลาย กระทำโคตรภูให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ กระทำโวทานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา.

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นโลกิยธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำ จักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

 
  ข้อความที่ 13  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 313

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นโลกิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๒. โลกุตตรธรรม เป็นปัจจัยแก่โลกุตตรธรรม ด้วย อำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่มรรค, แก่ผล ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นโลกุตตรธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๓. โลกุตตรธรรม เป็นปัจจัยแก่โลกิยธรรม ด้วย อำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรคแล้ว กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่น กระทำผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ย่อมพิจารณา.

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นโลกุตตรธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 14  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 314

๔. โลกุตตรธรรม เป็นปัจจัยแก่โลกิยธรรม และ โลกุตตรธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นโลกุตตรธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๔. อนันตรปัจจัย

[๓๐๖] ๑. โลกิยธรรม เป็นปัจจัยแก่โลกิยธรรม ด้วยอำนาจ ของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นโลกิยธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นโลกิยธรรม ที่เกิดหลังๆ ฯลฯ

อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู, อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทาน ด้วยอำนาจ ของอนันตรปัจจัย.

๒. โลกิยธรรม เป็นปัจจัยแก่โลกุตตรธรรม ด้วย อำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค, โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค. อนุโลม เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ.

เนวสัญญานาสัญญายตนะ ของบุคคลผู้ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัยแก่ ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๓. โลกุตตรธรรม เป็นปัจจัยแก่โลกุตตรธรรม ด้วย อํานาจของอนันตรปัจจัย

 
  ข้อความที่ 15  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 315

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นโลกุตตรธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นโลกุตตรธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

มรรค เป็นปัจจัยแก่ผล, ผล เป็นปัจจัยแก่ผล ด้วยอำนาจของ อนันตรปัจจัย.

๔. โลกุตตรธรรม เป็นปัจจัยแก่โลกิยธรรม ด้วย อำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ผล เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๕. สมนันตรปัจจัย

๑. โลกิยธรรม เป็นปัจจัยแก่โลกิยธรรม ด้วยอำนาจ ของสมนันตรปัจจัย

๖. สหชาตปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ.

ปัจจัยสงเคราะห์ ไม่มี.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ.

๙. อุปนิสสยปัจจัย

[๓๐๗] ๑. โลกิยธรรม เป็นปัจจัยแก่โลกิยธรรม ด้วยอำนาจ ของอุปนิสสยปัจจัย

 
  ข้อความที่ 16  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 316

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นโลกิยธรรม แล้วให้ทาน ฯลฯ ยัง วิปัสสนาให้เกิดขึ้น ยังอภิญญาให้เกิดขึ้น ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นโลกิยธรรม ฯลฯ เสนาสนะ แล้วให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

ศรัทธาที่เป็นโลกิยธรรม ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็น โลกิยธรรม ฯลฯ แก่ทุกข์ทางกาย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

กรรมที่เป็นกุศลและอกุศล เป็นปัจจัยแก่วิบาก ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย.

๒. โลกิยธรรม เป็นปัจจัยแก่โลกุตตรธรรม ด้วย อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บริกรรมแห่งปฐมมรรค เป็นปัจจัยแก่ปฐมมรรค ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ บริกรรมแห่งจตุตถมรรค เป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรค ด้วย อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๓. โลกุตตรธรรม เป็นปัจจัยแก่โลกุตตรธรรม ด้วย อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

 
  ข้อความที่ 17  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 317

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

ปฐมมรรคเป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ ตติยมรรคเป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรค ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๔. โลกุตตรธรรม เป็นปัจจัยแก่โลกิยธรรม ด้วย อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

พระอริยะทั้งหลายเข้าไปอาศัยมรรคแล้ว ยังสมาบัติที่ยังไม่เกิดให้เกิด ขึ้น เข้าสมาบัติที่เกิดขึ้นแล้ว พิจารณาเห็นสังขาร โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา.

มรรคของพระอริยะเหล่านั้น ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ความฉลาดในฐานะ และอฐานะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

ผลสมาบัติ เป็นปัจจัยแก่สุขทางกาย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย

[๓๐๘] ๑. โลกิยธรรม เป็นปัจจัยแก่โลกิยธรรม ด้วยอำนาจ ของปุเรชาตปัจจัย

 
  ข้อความที่ 18  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 318

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น ปัจจัยแก่กายวิญญาณ.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัย แก่กายวิญญาณ.

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นโลกิยธรรม ด้วยอำนาจ ของปุเรชาตปัจจัย.

๒. โลกิยธรรม เป็นปัจจัยแก่โลกุตตรธรรม ด้วย อำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นโลกุตตรธรรม ด้วยอำนาจ ของปุเรชาตปัจจัย.

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย

[๓๐๙] ๑. โลกิยธรรม เป็นปัจจัยแก่โลกิยธรรม ด้วยอำนาจ ของปัจฉาชาตปัจจัย

 
  ข้อความที่ 19  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 319

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นโลกิยธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

๒. โลกุตตรธรรม เป็นปัจจัยแก่โลกิยธรรม ด้วย อำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นโลกุตตรธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่ กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

๑๒. อาเสวนปัจจัย

[๓๑๐] ๑. โลกิยธรรม เป็นปัจจัยแก่โลกิยธรรม ด้วยอำนาจ ของอาเสวนปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นโลกิยธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นโลกิยธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.

อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู.

อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.

๒. โลกิยธรรม เป็นปัจจัยแก่โลกุตตรธรรม ด้วย อำนาจของอาเสวนปัจจัย

คือ โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค, โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค ด้วย อำนาจของอาเสวนปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 20  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 320

๑๓. กัมมปัจจัย

[๓๑๑] ๑. โลกิยธรรม เป็นปัจจัยแก่โลกิยธรรม ด้วยอำนาจ ของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นโลกิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นโลกิยธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ และกฏัตตารูป ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๒. โลกุตตรธรรม เป็นปัจจัยแก่โลกุตตรธรรม ด้วย อำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นโลกุตตรธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วย อำนาจของกัมมปัจจัย.

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นโลกุตตรธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ทั้งหลาย ด้วย อำนาจของกัมมปัจจัย.

๓. โลกุตตรธรรม เป็นปัจจัยแก่โลกิยธรรม ด้วย อำนาจของกัมมปัจจัย

 
  ข้อความที่ 21  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 321

คือ เจตนาที่เป็นโลกุตตรธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๔. โลกุตตรธรรม เป็นปัจจัยแก่โลกิยธรรม และ โลกุตตรธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นโลกุตตรธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๑๔. วิปากปัจจัย

[๓๑๒] ๑. โลกิยธรรม เป็นปัจจัยแก่โลกิยธรรม ด้วยอำนาจ ของวิปากปัจจัย

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นโลกิยธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. โลกุตตรธรรม เป็นปัจจัยแก่โลกุตตรธรรม ด้วย อำนาจของวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๒ - ๔)

๑๕. อาหารปัจจัย

[๓๑๓] ๑. โลกิยธรรม เป็นปัจจัยแก่โลกิยธรรม ด้วยอำนาจ ของอาหารปัจจัย

 
  ข้อความที่ 22  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 322

คือ อาหารทั้งหลายที่เป็นโลกิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ กวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ด้วยอำนาจของ อาหารปัจจัย.

๒. โลกุตตรธรรม เป็นปัจจัยแก่โลกุตตรธรรม ด้วย อำนาจของอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๒ - ๔)

๑๖. อินทริยปัจจัย

[๓๑๔] ๑. โลกิยธรรม เป็นปัจจัยแก่โลกิยธรรม ด้วยอำนาจ ของอินทริยปัจจัย

พึงกระทำปฏิสนธิขณะ ฯลฯ จักขุนทรีย์เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของ อินทริยปัจจัย.

๒. โลกุตตรธรรม เป็นปัจจัยแก่โลกุตตรธรรม ด้วย อำนาจของอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๒ - ๔)

๑๗. ฌานปัจจัย

[๓๑๕] ๑. โลกิยธรรม เป็นปัจจัยแก่โลกิยธรรม ด้วยอำนาจ ของฌานปัจจัย มี ๑ วาระ.

 
  ข้อความที่ 23  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 323

๒. โลกุตตรธรรม ฯลฯ มี ๓ วาระ (วาระที่ ๒ - ๔)

๑๘. มัคคปัจจัย

๑. โลกิยธรรม เป็นปัจจัยแก่โลกิยธรรม ด้วยอำนาจ ของมัคคปัจจัย

ในโลกิยธรรมเป็นปัจจัย มี ๑ วาระ.

ในโลกุตตรธรรมเป็นปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๒ - ๔)

๑๙. สัมปยุตตปัจจัย

๑. โลกิยธรรม เป็นปัจจัยแก่โลกิยธรรม ด้วยอำนาจ ของสัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ.

๒. โลกุตตรธรรม เป็นปัจจัย ฯลฯ มี ๑ วาระ.

๒๐. วิปปยุตตปัจจัย

[๓๑๖] ๑. โลกิยธรรม เป็นปัจจัยแก่โลกิยธรรม ด้วยอำนาจ ของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นโลกิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจ ของวิปปยุตตปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 24  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 324

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่ กายวิญญาณ.

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นโลกิยธรรม ด้วยอำนาจ ของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นโลกิยธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิด ก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๒. โลกิยธรรม เป็นปัจจัยแก่โลกุตตรธรรม ด้วย อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นโลกิยธรรม ด้วยอำนาจ ของวิปปยุตตปัจจัย.

๓. โลกุตตรธรรม เป็นปัจจัยแก่โลกิยธรรม ด้วย อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นโลกุตตรธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 25  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 325

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นโลกุตตรธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่ เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๒๑. อัตถิปัจจัย

[๓๑๗] ๑. โลกิยธรรม เป็นปัจจัยแก่โลกิยธรรม ด้วยอำนาจ ของอัตถิปัจจัย

มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และ อินทริยะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่เป็นโลกิยธรรม ที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ เหมือนกับปุเรชาตปัจจัย.

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นโลกิยธรรม ด้วยอำนาจ ของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นโลกิยธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

กวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 26  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 326

รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิ ปัจจัย.

๒. โลกิยธรรม เป็นปัจจัยแก่โลกุตตรธรรม ด้วย อำนาจของอัตถิปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ ที่เกิดก่อน เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นโลกุตตรธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

๓. โลกุตตรธรรม เป็นปัจจัยแก่โลกุตตรธรรม ด้วย อำนาจของอัตถิปัจจัย

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นโลกุตตรธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจ ของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

๔. โลกุตตรธรรม เป็นปัจจัยแก่โลกิยธรรม ด้วย อำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นโลกุตตรธรรม ที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นโลกุตตรธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 27  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 327

๕. โลกุตตรธรรม เป็นปัจจัยแก่โลกิยธรรม และ โลกุตตรธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นโลกุตตรธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัยฯฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

๖. โลกิยธรรม และโลกุตตรธรรม เป็นปัจจัยแก่ โลกิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และรวมกับ อินทริยะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นโลกุตตรธรรม ที่เกิดพร้อมกัน และมหาภูตรูป ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นโลกุตตรธรรม ที่เกิดภายหลัง และกวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อินทริยะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นโลกุตตรธรรม ที่เกิดภายหลัง และรูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

๗. โลกิยธรรม และโลกุตตรธรรม เป็นปัจจัยแก่ โลกุตตรธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่

 
  ข้อความที่ 28  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 328

ขันธ์ ๑ ที่เป็นโลกุตตรธรรม ที่เกิดพร้อมกัน และหทยวัตถุ เป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

๒๒. นัตถิปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนัตถิปัจจัย,

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิคตปัจจัย,

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๓๑๘] ในเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ใน อธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ ใน นิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ ใน กัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๔ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๔ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๔ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๔ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๔ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.

อนุโลมนัย จบ

 
  ข้อความที่ 29  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 329

ปัจจนียนัย

การยกปัจจัยในปัจจนียะ

[๓๑๙] ๑. โลกิยธรรม เป็นปัจจัยแก่โลกิยธรรม ด้วยอำนาจ ของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็น ปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอํานาจของ ปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

๒. โลกิยธรรม เป็นปัจจัย แก่โลกุตตรธรรม ด้วย อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๓. โลกุตตรธรรม เป็นปัจจัยแก่โลกุตตรธรรม ด้วย อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๔. โลกุตตรธรรม เป็นปัจจัยแก่โลกิยธรรม ด้วย อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ ปัจฉาชาตปัจจัย.

๕. โลกุตตรธรรม เป็นปัจจัยแก่โลกิยธรรม และ โลกุตตรธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.

๖. โลกิยธรรม และโลุกุตตรธรรม เป็นปัจจัยแก่ โลกิยธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

 
  ข้อความที่ 30  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 330

ปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

๗. โลกิยธรรม และ โลกุตตรธรรม เป็นปัจจัยแก่ โลกุตตรธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ ของปุเรชาตปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๓๒๐] ในนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในนสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ ในนนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ฯลฯ ในนมัคคปัจจัย มี ๗ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๔ วาระ ในโนอัตถิ ปัจจัยมี ๔ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ ในโนอวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ.

ปัจจนียนัย จบ

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๓๒๑] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ ฯลฯ ใน นสมนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอุปนิสสย-

 
  ข้อความที่ 31  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 331

ปัจจัย มี ๔ วาระ ฯลฯ ในนมัคคปัจจัย มี ๔ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ ในโนวิคต ปัจจัย มี ๔ วาระ.

ปัจจนียานุโลมนัย จบ

ปัจจนียานุโลม

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๓๒๒] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ... ใน อธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ พึงกระทำอนุโลมมาติกา ในอวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.

ปัจจนียานุโลมนัย จบ

โลกิยทุกะ จบ

อรรถกถาโลกิยทุกะเป็นต้น

อีกอย่างหนึ่ง ทุกะเหล่านี้ คือ โลกิยทุกะ สาสวทุกะ สัญโญชนียทุกะ คันถนียทุกะ นีวรณียทุกะ ปรามัฏฐทุกะ สังกิเลสิกทุกะ อาสววิปปยุตตสาสวทุกะ สัญโญชนวิปปยุตตสัญโญชนียทุกะ คันถวิปปยุตตคันถนียทุกะ นีวรณวิปปยุตตนีวรณียทุกะ ปรามาสวิปปยุตตปรามัฏฐทุกะ กิเลสวิปปยุตตสังกิเลสิกทุกะ ปริยาปันนทุกะ และสอุตตรทุกะ เหมือนกัน กิเลสทุกะเหมือนสัญโญชนทุกะ สังกิลิฏฐทุกะ กิเลสสัมปยุตตทุกะ นีวรณสัมปยุตตทุกะ ทัสสเนนปหาตัพพทุกะ

 
  ข้อความที่ 32  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 332

และสรณทุกะ เหมือนกัน อนึ่ง กิเลสทุกะ สังกิลิฏฐนีวรณทุกะ นีวรณสัมปยุตตกิเลสทุกะ และกิเลสสัมปยุตตทุกะ เหมือนกัน โดยนัยนี้ ผู้ศึกษา พึงทราบว่า วิสัชนาแห่งทุกะทั้งปวงที่มีเนื้อความเหมือนกัน ย่อมเป็นเช่น เดียวกันนั่นเอง.

ก็ในปัฏฐานทั้งหมด ย่อมไม่ได้เกนจิวิญเญยยทุกะ. ในทุกะอันมีรูป อย่างนี้ เหล่านี้ คือ " อาสวา เจว อาสวสมฺปยุตฺตา จ, สญฺโชนา เจว สญฺโชนสมฺปยุตฺตา จ, คนฺถา เจว คนฺถสมฺปยุตฺตา จ, นิวรณา เจว นีวรณสมฺปยุตฺตา จ, กิเลสา เจว สงฺกิลิฏา จ " ย่อมไม่ได้วิปากปัจจัย และนานากขณิกกัมมปัจจัย. ในนเหตุสเหตุกทุกะ นเหตุอเหตุกทุกะ ไม่มีเหตุปัจจัย. ในทุกะเหล่านี้ คือ เหตุเหตุสัมปยุตทุกะ อาสวอาสวสัมปยุตตทุกะ, คันถคันถสัมปยุตตทุกะ ย่อมไม่ได้นเหตุปัจจัย นฌานปัจจัย และ นมัคคปัจจัย. ส่วนในทุกะเหล่านี้ คือ สัญโญชนสัญโญชนสัมปยุตตทุกะ, นีวรณนีวรณสัมปยุตตทุกะ กิเลสกิเลสสัมปยุตตทุกะ กิเลสสังกิลิฏฐทุกะ ย่อมได้นเหตุปัจจัย ด้วยอำนาจแห่งโมหะ ที่สหรคตด้วย วิจิกิจฉาและอุทธัจจะ ย่อมไม่ได้นฌานปัจจัย และนมัคคปัจจัย. ผู้ศึกษา กำหนดวิสัชนาที่มีได้และมีไม่ได้ในทุกะทั้งปวง ดังอธิบายมาแล้ว พึงทราบ การนับวาระด้วยอำนาจแห่งบาลีแล.

อรรถกถาทุกปัฏฐาน จบ

 
หัวข้อถัดไป
หัวข้อก่อนหน้า

หน้าบัญชีเรื่อง