พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย

๑๓. เกนจิวิญเญยยทุกะ

 
บ้านธัมมะ
วันที่  27 ก.พ. 2565
หมายเลข  42262
อ่าน  432
  ข้อความที่ 1  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 333

๑๓. เกนจิวิญเญยยทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

[๓๒๓] ๑. เกนจิวิญเญยยธรรม อาศัยเกนจิวิญเญยยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเกนจิวิญเญยยธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัย หทยวัตถุ.

มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป ทั้งหลาย.

๒. เกนจินวิญเญยยธรรม อาศัยเกนจิวิญเญยยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นเกนจินวิญเญยยธรรม และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเกนจิวิญเญยยธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัย หทยวัตถุ.

 
  ข้อความที่ 2  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 334

มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป ทั้งหลาย.

๓. เกนจิวิญเญยยธรรม และเกนจินวิญเญยยธรรม อาศัยเกนจิวิญเญยยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นเกนจิวิญเญยยธรรม, เกนจินวิญเญยยธรรมและ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเกนจินวิญเญยยธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัย หทยวัตถุ.

มหาภูตรูป ฯลฯ

จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป ทั้งหลาย.

๔. เกนจินวิญเญยยธรรม อาศัยเกนจินวิญเญยยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นเกนจินวิญเญยยธรรม และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเกนจินวิญเญยยธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัย หทยวัตถุ.

มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป ทั้งหลาย.

 
  ข้อความที่ 3  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 335

๕. เกนจิวิญเญยยธรรม อาศัยเกนจินวิญเญยยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นเกนจิวิญเญยยธรรม และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัย ขันธ์ ๑ ที่เป็นเกนจินวิญเญยยธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลาย อาศัย หทยวัตถุ.

มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป ทั้งหลาย.

๖. เกนจิวิญเญยยธรรม และเกนจินวิญเญยยธรรม อาศัยเกนจินวิญเญยยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นเกนจิวิญเญยยธรรม เกนจินวิญเญยยธรรม และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์๑ ที่เป็นเกนจินวิญเญยยธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัย หทยวัตถุ.

มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศยัมหาภูตรูป ทั้งหลาย.

๗. เกนจิวิญเญยยธรรม อาศัยเกนจิวิญเญยยธรรม และเกนจินวิญเญยยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

 
  ข้อความที่ 4  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 336

คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นเกนจิวิญเญยยธรรม และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัย ขันธ์ ๑ ที่เป็นเกนจิวิญเญยยธรรม และเกนจินวิญเญยยธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัย หทยวัตถุ.

มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป ทั้งหลาย.

๘. เกนจินวิญเญยยธรรม อาศัยเกนจิวิญเญยยธรรม และเกนจินวิญเญยยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นเกนจินวิญเญยยธรรม และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัย ขันธ์ ๑ ที่เป็นเกนจินวิญเญยยธรรม และเกนจิวิญเญยยธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัย หทยวัตถุ.

มหาภูตรูป ๒ ฯลฯ

จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป ทั้งหลาย.

๙. เกนจิวิญเญยยธรรม และเกนจินวิญเญยยธรรม อาศัยเกนจิวิญเญยยธรรม และเกนจินวิญเญยยธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นเกนจิวิญเญยยธรรม เกนจินวิญเญยยธรรมและ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเกนจิวิญเญยยธรรม และเกนจินวิญเญยยธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

 
  ข้อความที่ 5  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 337

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลายอาศัย หทยวัตถุ.

มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป ทั้งหลาย.

การนับจํานวนวาระในอนุโลม

[๓๒๙] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

อนุโลมนัย จบ

ปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๓๒๕] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในโนวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ การนับพึงกระทำให้บริบูรณ์อย่างนี้.

สหชาตวาระก็ดี ปัจจัยวาระก็ดี นิสสยวาระก็ดี สังสัฏฐวาระก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี พึงให้พิสดารอย่างนี้.

ปัจจยวาระ พึงแสดง หทยวัตถุ และอายตนะห้า พึงกระทำตามที่ได้.

ปัจจนียนัย จบ

 
  ข้อความที่ 6  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 338

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๓๒๖] ๑. เกนจิวิญเญยยธรรม เป็นปัจจัยแก่เกนจิวิญเญยยธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นเกนจิวิญเญยยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๓๒๗] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

อนุโลมนัย จบ

ปัจจนียนัย

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ

[๓๒๘] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในโนวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย จบ

การนับทั้งสี่นัยพึงกระทำให้บริบูรณ์อย่างนี้.

เกนจิวิญเญยยทุกะ จบ

 
หัวข้อถัดไป
หัวข้อก่อนหน้า

หน้าบัญชีเรื่อง