พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย

๑๔. อาสวทุกะ

 
บ้านธัมมะ
วันที่  27 ก.พ. 2565
หมายเลข  42263
อ่าน  375

[เล่มที่ 88] พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔

พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๗

ปัฏฐาน ภาคที่ ๔

อนุโลมทุกปัฏฐาน

๑๔. อาสวทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย 339

๑. เหตุปัจจัย 329/339

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 330/341

ปัจจนียนัย 341

๑. นเหตุปัจจัย 331/341

๒. นอารัมมณปัจจัย 332/342

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 333/343

อนุโลมปัจจนียนัย 343

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 334/343

ปัจจนียานุโลมนัย 344

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 335/344

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย 345

๑. เหตุปัจจัย 336/345

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 337/347

ปัจจนียนัย 347

๑. นเหตุปัจจัย 338/347

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 339/348

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย 349

๑. เหตุปัจจัย 340/349

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 341/349

ปัจจนียนัย 349

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 342/349

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย 351

๑. เหตุปัจจัย 343/351

๒. อารัมมณปัจจัย 344/352

๓. อธิปติปัจจัย 345/355

๔. อนันตรปัจจัย 346/358

๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย 360

๙. อุปนิสสยปัจจัย 347/360

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย 348/362

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย 349/364

๑๒. อาเสวนปัจจัย 350/364

๑๓. กัมมปัจจัย 351/364

๑๔. วิปากปัจจัย 352/365

๑๕. อาหารปัจจัย 353/366

๑๖. อินทริยปัจจัย 354/366

๑๗. ฌานปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย 367

๒๐. วิปปยุตตปัจจัย 355/367
๒๑. อัตถิปัจจัย 356/369

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 357/374

ปัจจนียนัย 375

การยกปัจจัยในปัจจนียะ 358/375

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 359/377

อนุโลมปัจจนียนัย 377

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 360/377

ปัจจนียานุโลมนัย 378

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 361/378


อ่านหัวข้ออื่นๆ ... [เล่มที่ 88]


  ข้อความที่ 1  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 339

๑๔. อาสวทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๓๒๙] ๑. อาสวธรรม อาศัยอาสวธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุ ปัจจัย

คือ ทิฏฐาสวะ อวิชชาสวะ อาศัยกามาสวะ, กามาสวะ อวิชชาสวะ อาศัยทิฏฐาสวะ, กามาสวะ ทิฏฐาสวะ อาศัยอวิชชาสวะ, อวิชชาสวะ อาศัย ภวาสวะ, อวิชิชาสวะ อาศัยทิฏฐาสวะ.

พึงผูกจักรนัย แม้อย่างหนึ่งๆ.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม อาศัยอาสวธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ อาสวสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัย อาสวธรรม.

๓. อาสวธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม อาศัย อาสวธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ทิฏฐาสวะ อวิชชาสวะ สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยกามาสวะ.

พึงผูกจักรนัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ อาสวธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

 
  ข้อความที่ 2  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 340

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อาสวธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัย หทยวัตถุ.

มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป ทั้งหลาย.

๕. อาสวธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เกิด ขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ อาสวะ ๔ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อาสวธรรม.

๖. อาสวธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม อาศัย ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นอาสวธรรม และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อาสวธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

๗. อาสวธรรม อาศัยอาสวธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ อาสวธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ทิฏฐาสวะ อวิชชาสวะ อาศัยกามาสวะ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย. พึงผูกจักรนัย.

๘. ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม อาศัยอาสวธรรม และ ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อาสวธรรม และอาสวธรรมทั้งหลาย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

 
  ข้อความที่ 3  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 341

๙. อาสวธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม อาศัย อาสวธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ ทิฏฐาสวะ อวิชชาสวะ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัย ขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อาสวธรรม และกามาสวะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

พึงผูกจักรนัย.

ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๓๓๐] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

อนุโลมนัย จบ

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๓๓๑] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อาสวธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

 
  ข้อความที่ 4  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 342

๒. อาสวธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัย ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

๒. นอารัมมณปัจจัย

[๓๓๒] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม อาศัยอาสวธรรมเกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยอาสวธรรมทั้งหลาย.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ อาสวธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อาสวธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย.

มหาภูตรูป ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม อาศัยอาสวธรรม และ ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยอาสวธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย.

ฯลฯ

 
  ข้อความที่ 5  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 343

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๓๓๓] ในนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ใน นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

ปัจจนียนัย จบ

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๓๓๔] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ... ใน นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ

 
  ข้อความที่ 6  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 344

ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในโนนัตถิ- ปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

อนุโลมปัจจนียนัย จบ

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๓๓๕] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ ... ใน อนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.

ปัจจนียานุโลมนัย จบ

สหชาตวาระ เหมือนกับ ปฏิจจวาระ.

 
  ข้อความที่ 7  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 345

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๓๓๖] ๑. อาสวธรรม อาศัยอาสวธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย

อาสวมูลกนัย มี ๓ วาระ เหมือนกับ ปฏิจจวาระ (วาระที่ ๑ - ๓)

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อาสวธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลายอาศัย หทยวัตถุ.

จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป ทั้งหลาย.

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อาสวธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

๕. อาสวธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ อาสวธรรมทั้งหลาย อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อาสวธรรม.

อาสวธรรมทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

 
  ข้อความที่ 8  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 346

๖. อาสวธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม อาศัย ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นอาสวธรรม และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อาสวธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ อาสวธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

๗. อาสวธรรม อาศัยอาสวธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ อาสวธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ทิฏฐาสวะ อวิชชาสวะ อาศัยกามาสวะ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย.

พึงผูกจักรนัย.

ทิฏฐาสวะ อวิชชาสวะ อาศัยกามาสวะ และหทยวัตถุ.

พึงผูกจักรนัย.

๘. ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม อาศัยอาสวธรรม และ ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อาสวธรรม และอาสวธรรมทั้งหลาย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อาสวธรรม อาศัยอาสวธรรม และหทยวัตถุ.

๙. อาสวธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม อาศัย อาสวธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ ทิฏฐาสวะ อวิชชาสวะ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัย ขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อาสวธรรม และกามาสวะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

 
  ข้อความที่ 9  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 347

พึงผูกจักรนัย.

ทิฏฐาสวะ อวิชชาสวะ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยกามาสวะ และหทยวัตถุ.

พึงผูกจักรนัย.

ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๓๓๗] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ใน อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ในวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

อนุโลมนัย จบ

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๓๓๘] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ อาสวธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อาสวธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ.

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อาสวธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ อาศัยหทยวัตถุ.

 
  ข้อความที่ 10  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 348

๒. อาสวธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัย ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และหทยวัตถุ.

ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๓๓๙] ในนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

การนับทั้งปวง พึงนับอย่างนี้.

นิสสยวาระ เหมือนกับ ปัจจยวาระ.

 
  ข้อความที่ 11  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 349

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๓๔๐] ๑. อาสวธรรม เจือกับอาสวธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย

คือ ทิฏฐาสวะ อวิชชาสวะ เจือกับกามาสวะ.

พึงผูกจักรนัย.

ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๓๔๑] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๓๔๒] ในนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวน-

 
  ข้อความที่ 12  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 350

ปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ.

การนับก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี เหมือนกับ สังสัฏฐวาระ.

 
  ข้อความที่ 13  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 351

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๓๔๓] ๑. อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่อาสวธรรม ด้วยอำนาจ ของเหตุปัจจัย

คือ กามาสวะ เป็นปัจจัยแก่ทิฐาสวะ อวิชชาสวะ ด้วยอำนาจของ เหตุปัจจัย.

ภวาสวะ เป็นปัจจัยแก่ อวิชชาสวะ ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

พึงผูกจักรนัย.

๒. อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๓. อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่อาสวธรรม และธรรม ที่ไม่ใช่อาสวธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ กามาสวะ เป็นปัจจัยแก่ทิฏฐาสวะ อวิชชาสวะ สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ ไม่ใช่อาสวธรรม ด้วยอํานาจของเหตุปัจจัย

 
  ข้อความที่ 14  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 352

คือ เหตุทั้งหลายที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๕. ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่อาสวธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่อาสวธรรมที่เป็น สัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่อาสวธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม ด้วยอํานาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย อาสวธรรม และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๗. อาสวธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอาสวธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็น ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๒. อารัมมณปัจจัย

[๓๔๔] ๑. อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่อาสวธรรม ด้วยอำนาจ ของอารัมมณปัจจัย

คือ เพราะปรารภอาสวธรรมทั้งหลาย อาสวธรรมทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

 
  ข้อความที่ 15  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 353

๒. อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ เพราะปรารภอาสวธรรมทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อาสวธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

๓. อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่อาสวธรรม และธรรม ที่ไม่ใช่อาสวธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ เพราะปรารภอาสวธรรมทั้งหลาย อาสวธรรม และสัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ ไม่ใช่อาสวธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ จากฌาน ฯลฯ

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรคแล้ว พิจารณามรรค พิจารณาผล พิจารณาพิพพาน.

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่มรรค, แก่ผล, แก่ อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว ที่ไม่ใช่อาสวธรรม ฯลฯ กิเลสทั้งหลายที่ข่มแล้ว ฯลฯ รู้ซึ่งกิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน.

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ อาสวธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นด้วยทิพยจักษุ, ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

 
  ข้อความที่ 16  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 354

บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่ไม่ใช่อาสวธรรม ด้วย เจโตปริยญาณ.

อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ, อากิญจัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น ปัจจัยแก่กายวิญญาณ.

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ, แก่ เจโตปริยญาณ, แก่บุพเพนิวาสานุสสติญาณ, แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่ อนาคตังสญาณ, แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่อาสวธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลให้ทานแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งทานนั้น เพราะปรารภทานนั้น อาสวธรรมทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ ฌาน ฯลฯ

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ ทั้งหลายที่ไม่ใช่อาสวธรรม เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น อาสวธรรมทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่อาสวธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ ทาน ฯลฯ มีอธิบายเหมือนกับข้อความตามบาลีตอนที่สอง.

 
  ข้อความที่ 17  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 355

บุคคลย่อมยินดีย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อาสวธรรม เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายนั้น อาสวธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ย่อม เกิดขึ้น.

๗. อาสวธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็น ปัจจัยแก่อาสวธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ เพราะปรารภอาสวธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาสวธรรม ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

๘. อาสวธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ เพราะปรารภอาสวธรรม และสัมปยุตตขันธ์ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ อาสวธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

๙. อาสวธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็น ปัจจัยแก่อาสวธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม ด้วยอำนาจของ อารัมมณปัจจัย

คือ เพราะปรารภอาสวธรรม และสัมปยุตตขันธ์ อาสวธรรม และ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

๓. อธิปติปัจจัย

[๓๔๕] ๑. อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่อาสวธรรม ด้วยอำนาจ ของอธิปติปัจจัย

 
  ข้อความที่ 18  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 356

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

เพราะกระทำอาสวธรรมทั้งหลายให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น อาสวธรรมทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น มี ๓ วาระ (วาระที่ ๑ - ๓)

พึงกระทำให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เหมือนกับอารัมมณปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ ไม่ใช่อาสวธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ

ในกาลก่อน ฯลฯ

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค ฯลฯ ผล ฯลฯ กระทำนิพพานให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่มรรค, แก่ผล ด้วย อำนาจของอธิปติปัจจัย.

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อาสวธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำ จักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 19  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 357

๕. ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่อาสวธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำทาน ฯลฯ ขันธ์ ทั้งหลายที่ไม่ใช่อาสวธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำทาน เป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว อาสวธรรมทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่อาสวธรรมที่เป็นสัมปยุตตธรรมทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่อาสวธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำซึ่งทาน ฯลฯ ขันธ์ ทั้งหลายที่ไม่ใช่อาสวธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำทาน เป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อม เกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ อาสวธรรม และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 20  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 358

๗. อาสวธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็น ปัจจัยแก่อาสวธรรม ด้วยอํานาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำอาสวธรรม และ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำ ฯลฯ อาสวธรรมทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น มี ๓ วาระ. พึงกระทำให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่น (วาระที่ ๗ - ๙)

๔. อนันตรปัจจัย

[๓๔๖] ๑. อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่อาสวธรรม ด้วยอำนาจ ของอนันตรปัจจัย

คือ อาสวธรรมที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่อาสวธรรมทั้งหลายที่เกิด หลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๒. อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ อาสวธรรมทั้งหลายที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่ ไม่ใช่อาสวธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย. อาสวธรรมทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๓. อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่อาสวธรรม และธรรม ที่ไม่ใช่อาสวธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

 
  ข้อความที่ 21  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 359

คือ อาสวธรรมทั้งหลายที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่อาสวธรรมทั้งหลาย ที่เกิดหลังๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ ไม่ใช่อาสวธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อาสวธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อาสวธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่อาสวธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อาสวธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นอาสวธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่อาสวธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อาสวธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ อาสวธรรมทั้งหลาย ที่เกิดหลังๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของ อนันตรปัจจัย.

๗. อาสวธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็น ปัจจัยแก่อาสวธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๗ - ๙)

 
  ข้อความที่ 22  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 360

๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย

๑. อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่อาสวธรรม ด้วยอำนาจ ของสมนันตรปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ และ พึงแสดง หทยวัตถุ.

๙. อุปนิสสยปัจจัย

[๓๔๗] ๑. อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่อาสวธรรม ด้วยอำนาจ ของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

อาสวธรรมทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่อาสวธรรมทั้งหลาย ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๑ - ๓)

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ ไม่ใช่อาสวธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

 
  ข้อความที่ 23  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 361

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้วให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ก่อ มานะ ถือทิฏฐิ.

บุคคลเข้าไปอาศัย ศีล ฯลฯ เสนาสนะแล้วให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ ศรัทธา ฯลฯ แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่อาสวธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้ว ก่อมานะ ถือทิฏฐิ ศีล ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ ราคะ ฯลฯ แก่ความปรารถนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่อาสวธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้ว ฯลฯ ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.

 
  ข้อความที่ 24  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 362

บุคคลเข้าไปอาศัย ศีล ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ ราคะ ฯลฯ แก่ความปรารถนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๗. อาสวธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็น ปัจจัยแก่อาสวธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ มี ๓ วาระ (วาระที่ ๗ - ๘ - ๙)

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย

[๓๔๘] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ ไม่ใช่อาสวธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ

พึงให้พิสดารอย่างนี้.

โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัย แก่กายวิญญาณ.

 
  ข้อความที่ 25  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 363

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อาสวธรรม ด้วยอำนาจ ของปุเรชาตปัจจัย.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่อาสวธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง

คือ ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ เพราะ ปรารภจักษุเป็นต้นนั้น อาสวธรรมทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่อาสวธรรมทั้งหลาย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่อาสวธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งจักษุ เพราะปรารภจักษุนั้น อาสวธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่อาสวธรรม และอาสวสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 26  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 364

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย

[๓๔๙] ๑. อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย

คือ อาสวธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วย อำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ ไม่ใช่อาสวธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อาสวธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่ กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

๓. อาสวธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็น ปัจจัยแก่อาสวธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย

คือ อาสวธรรม ที่เกิดภายหลัง และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็น ปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

๑๒. อาเสวนปัจจัย

[๓๕๐] ๑. อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่อาสวธรรม ด้วยอำนาจ ของอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ.

๑๓. กัมมปัจจัย

[๓๕๑] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ ไม่ใช่อาสวธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

 
  ข้อความที่ 27  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 365

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ และกฏัตตารูป ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่อาสวธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่อาสวธรรมที่เป็นสัมปยุตตธรรมทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่อาสวธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ อาสวธรรม และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๑๔. วิปากปัจจัย

[๓๕๒] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ ไม่ใช่อาสวธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ.

 
  ข้อความที่ 28  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 366

๑๕. อาหารปัจจัย

[๓๕๓] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ ไม่ใช่อาสวธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย

คือ อาหารทั้งหลายที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

กวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่อาสวธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย

คือ อาหารทั้งหลายที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่อาสวธรรมที่เป็น สัมปยุตตธรรมทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่อาสวธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย

คือ อาหารทั้งหลายที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ อาสวธรรม และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

๑๖. อินทริยปัจจัย

[๓๕๔] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ ไม่ใช่อาสวธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย

คือ อินทรีย์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 29  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 367

ในปฏิสนธิขณะ จักขุนทรีย์ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของ อินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ.

๑๗. ฌานปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย มี ๓ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ.

๒๐. วิปปยุตตปัจจัย

[๓๕๕] ๑. อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

อาสวธรรมทั้งหลาย ที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

อาสวธรรมทั้งหลาย ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 30  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 368

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ ไม่ใช่อาสวธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อาสวธรรม ที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจของ วิปปยุตตปัจจัย.

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัย แก่กายวิญญาณ.

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อาสวธรรม ด้วยอำนาจ ของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อาสวธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่อาสวธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 31  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 369

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่อาสวธรรมทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่อาสวธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่อาสวธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วย อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๕. อาสวธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

อาสวธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

อาสวธรรม ที่เกิดภายหลัง และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่ กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๒๑. อัตถิปัจจัย

[๓๕๖] ๑. อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่อาสวธรรม ด้วยอำนาจ ของอัตถิปัจจัย

 
  ข้อความที่ 32  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 370

คือ กามาสวะะ เป็นปัจจัยแก่ทิฏฐาสวะ อวิชชาสวะ ด้วยอำนาจของ อัตถิปัจจัย.

พึงผูกจักรนัย.

๒. อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

อาสวธรรมทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

อาสวธรรมทั้งหลายที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

๓. อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่อาสวธรรม และธรรม ที่ไม่ใช่อาสวธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

คือ กามาสวะ เป็นปัจจัยแก่ทิฏฐาสวะ แก่อวิชชาสวะ แก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ ไม่ใช่อาสวธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และ อินทริยะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

 
  ข้อความที่ 33  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 371

ขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ตลอดถึง อสัญญสัตว์.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ, ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น ปัจจัยแก่กายวิญญาณ.

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อาสวธรรม ด้วยอำนาจ ของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อาสวธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่ เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

กวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิ ปัจจัย.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่อาสวธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

 
  ข้อความที่ 34  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 372

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่อาสวธรรมทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ เพราะ ปรารภจักษุเป็นต้นนั้น อาสวธรรมทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่อาสวธรรมทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่อาสวธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ อาสวธรรม และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

พึงผูกจักรนัย

๗. อาสวธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็น ปัจจัยแก่อาสวธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

กามาสวะ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่ทิฏฐาสวะ อวิชชาสวะ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

พึงผูกจักรนัย

 
  ข้อความที่ 35  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 373

กามาสวะ และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ทิฏฐาสวะ, แก่อวิชชาสวะ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

พึงผูกจักรนัย

๘. อาสวธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๔ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ, สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาร และรวมกับ อินทริยะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อาสวธรรม ที่เกิดพร้อมกัน และอาสวธรรมทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

อาสวธรรม ที่เกิดพร้อมกัน และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่

อาสวธรรมทั้งหลาย ที่เกิดพร้อมกัน และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อาสวธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่

อาสวธรรมทั้งหลาย ที่เกิดภายหลัง และกวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่ กายนี้ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อินทริยะ ได้แก่

อาสวธรรมทั้งหลายที่เกิดภายหลัง และรูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่ กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 36  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 374

๙. อาสวธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็น ปัจจัยแก่อาสวธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม ด้วยอำนาจของ อัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อาสวธรรม และกามาสวะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ทิฏฐาสวะ อวิชชาสวะ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิ ปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

พึงผูกจักรนัย

ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่

กามาสวะ และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ทิฏฐาสวะ อวิชชาสวะ และ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

พึงผูกจักรนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๓๕๗] ในเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ใน กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ

 
  ข้อความที่ 37  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 375

ฯลฯ ในมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ใน วิคตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

อนุโลมนัย จบ

ปัจจนียนัย

การยกปัจจัยในปัจจนียะ

[๓๕๘] ๑. อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่อาสวธรรม ด้วยอำนาจ ของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอํานาจของสหชาตปัจจัย, เป็น ปัจจัย ด้วยอํานาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๒. อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอํานาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย อํานาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

๓. อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่อาสวธรรม และธรรม ที่ไม่ใช่อาสวธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย อำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ ไม่ใช่อาสวธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย อำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย,

 
  ข้อความที่ 38  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 376

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ ปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่อาสวธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย อำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็นปัจจัยแก่อาสวธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็น ปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๗. อาสวธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็น ปัจจัยแก่อาสวธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย อำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๘. อาสวธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 39  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 377

๙. อาสวธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เป็น ปัจจัยแก่อาสวธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม ด้วยอำนาจของ อารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๓๕๙] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในโนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย จบ

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๓๖๐] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ ... ใน นอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๗ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๗ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๗ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.

อนุโลมปัจจนียนัย จบ

 
  ข้อความที่ 40  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 378

ปัจจนียานุโลม

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๓๖๑] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ... ใน อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ พึงกระทำบทที่เป็นอนุโลมให้บริบูรณ์ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียานุโลมนัย จบ

อาสวทุกะ จบ

 
หัวข้อถัดไป
หัวข้อก่อนหน้า

หน้าบัญชีเรื่อง