๕๒. ปรามาสสัมปยุตตทุกะ
[เล่มที่ 88] พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔
พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๗
ปัฏฐาน ภาคที่ ๔
อนุโลมทุกปัฏฐาน
๕๒. ปรามาสสัมปยุตตทุกะ 762-792
การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 704/769
การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 705/770
การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 706/770
สังสัฏฐวาระ
การนับจํานวนวาระในอนุโลม 708/771
การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 709/771
ปัญหาวาระ
๖. สหชาตปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย 714/780
๑๔. วิปากปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย 785
การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 724/791
การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 725/791
การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 726/792
อ่านหัวข้ออื่นๆ ... [เล่มที่ 88]
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 762
๕๒. ปรามาสสัมปยุตตทุกะ
ปฏิจจวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๖๙๔] ๑. ปรามาสสัมปยุตตธรรม อาศัยปรามาสสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปรามาสสัมปยุตตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.
๒. ปรามาสสัมปยุตตธรรม อาศัยปรามาสสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปรามาสสัมปยุตตธรรม.
๓. ปรามาสสัมปยุตตธรรม และปรามาสวิปปยุตตธรรม อาศัยปรามาสสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปรามาสสัมปยุตตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.
๔. ปรามาสวิปปยุตตธรรม อาศัยปรามาสวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปรามาสวิปยุตตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 763
ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัย หทยวัตถุ.
มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
๕. ปรามาสวิปปยุตตธรรม อาศัยปรามาสสัมปยุตตธรรม และปรามาสวิปปยุตตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปรามาสสัมปยุตตธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.
ฯลฯ
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๖๙๕] ในเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย ๒ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๕ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๕ วาระ ฯลฯ ในมัคคปัจจัย มี ๕ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๒ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 764
ปัจจนียนัย
๑. นเหตุปัจจัย
[๖๙๖] ๑. ปรามาสวิปยุตตธรรม อาศัยปรามาสวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปรามาสวิปปยุตตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒.
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.
โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.
๒. นอารัมมณปัจจัย
[๖๙๗] ๑. ปรามาสวิปปยุตตธรรม อาศัยปรามาสสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปรามาสสัมปยุตตธรรม.
๒. ปรามาสวิปปยุตตธรรม อาศัยปรามาสวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปรามาสวิปปยุตต ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.
๓. ปรามาสวิปปยุตตธรรม อาศัยปรามาสสัมปยุตตธรรม และปรามาสวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 765
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปรามาสสัมปยุตตธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.
ฯลฯ
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๖๙๘] ในนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๖๙๙] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ... ใน นอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 766
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๗๐๐] เพราะนเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ ... ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ. แม้สหชาตวาระ ก็เหมือนกับ ปฏิจจวาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 767
ปัจจยวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๗๐๑] ๑. ปรามาสสัมปยุตตธรรม อาศัยปรามาสสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ เหมือนกับ ปฏิจจวาระ.
๔. ปรามาสวิปปยุตตธรรม อาศัยปรามาสวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปรามาสวิปปยุตตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ตลอดถึงอัชฌัตติกมหาภูตรูป, ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นปรามาสวิปปยุตตธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
๕. ปรามาสสัมปยุตตธรรม อาศัยปรามาสวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปรามาสสัมปยุตตธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
๖. ปรามาสสัมปยุตตธรรม และปรามาสวิปปยุตตธรรม อาศัยปรามาสวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปรามาสสัมปยุตตธรรม อาศัยหทยวัตถุ, จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 768
๗. ปรามาสสัมปยุตตธรรม อาศัยปรามาสสัมปยุตตธรรม และปรามาสวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปรามาสสัมปยุตตธรรม และ หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒.
๘. ปรามาสวิปปยุตตธรรม และปรามาสสัมปยุตตธรรม และปรามาสวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปรามาสสัมปยุตตธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.
๙. ปรามาสสัมปยุตตธรรม และปรามาสวิปปยุตตธรรม อาศัยปรามาสสัมปยุตตธรรม และปรามาสวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปรามาสสัมปยุตตธรรม และ หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒.
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปรามาสสัมปยุตตธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.
ฯลฯ
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๗๐๒] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๔ วาระ ใน
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 769
นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๔ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.
ปัจจนียนัย
๑. นเหตุปัจจัย
[๗๐๓] ๑. ปรามาสวิปปยุตตธรรม อาศัยปรามาสวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปรามาสวิปปยุตตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒.
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.
จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปรามาสวิปปยุตตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ อาศัย หทยวัตถุ.
โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และหทยวัตถุ.
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๗๐๔] ในนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตร-
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 770
ปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญาปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ใน นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ในฌาน ปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคต ปัจจัย มี ๓ วาระ.
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๗๐๕] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ในน อธิปติปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯพึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๗๐๖] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ ... ใน อวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ.
ปฏิจจวาระ จบ
นิสสยวาระ เหมือนกับ ปัจจยวาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 771
สังสัฏฐวาระ
อนุโลม
๑. เหตุปัจจัย
[๗๐๗] ๑. ปรามาสสัมปยุตตธรรม เจือกับปรามาสสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๗๐๘] ในเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๒ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
ปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๗๐๙] ในนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ ในนกัมมปัจจัยมี ๒ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ.
การนับทั้งสองวาระนอกนี้ก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 772
ปัญหาวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๗๑๐] ๑. ปรามาสสัมปยุตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาส สัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นปรามาสสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
พึงกระทำมูล. (วาระที่ ๒)
เหตุทั้งหลายที่เป็นปรามาสสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏ- ฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย. พึงกระทำมูล (วาระที่ ๓)
เหตุทั้งหลายที่เป็นปรามาสสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
๔. ปรามาสวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ วิปปยุตตธรรม, ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นปรามาสวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 773
๒. อารัมมณปัจจัย
[๗๑๑] ๑. ปรามาสสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาส สัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งราคะ เพราะปรารภราคะ นั้น ราคะที่เป็นปรามาสสัมปยุตตธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นปรามาสสัมปยุตตธรรม เพราะปรารภขันธ์นั้น ราคะที่เป็นปรามาสสัมปยุตตธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
๒. ปรามาสสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาส วิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว ที่เป็นปรามาสสัมปยุตตธรรม พิจารณากิเลสที่ข่มแล้ว รู้ซึ่งกิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาล ก่อน. บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นปรามาสสัมปยุตตธรรม โดย ความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ แล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภ ขันธ์นั้น ราคะที่เป็นปรามาสวิปปยุตตธรรม วิจิกิจฉา อุทธัจจะ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น. บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่เป็นปรามาสสัมปยุตตธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปรามาสสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตตังสญาณ แก่ อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 774
๓. ปรามาสวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาส วิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ กระทำอุโบสถกรรมแล้ว พิจารณา กุศลกรรมนั้น ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภกุศลธรรมนั้น ราคะ ที่เป็นปรามาสวิปปยุตตธรรม วิจิกิจฉา อุทธัจจะ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
พิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ
พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค พิจารณามรรค ฯลฯ ผล ฯลฯ พิจารณานิพพาน.
นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่มรรค, แก่ผล, แก่ อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว ที่เป็นปรามาสวิปปยุตตธรรม ฯลฯ กิเลสที่ข่มแล้ว ฯลฯ กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน.
บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นปรามาสวิปปยุตตธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลิน ยิ่ง เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่เป็นปรามาสวิปปยุตตธรรม วิจิกิจฉา อุทธัจจะ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น. บุคคลเห็นรูปด้วยทิพย์จักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.
บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่เป็นปรามาสวิปปยุตตธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 775
อากาสสานัญจาตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ, อากิญจัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ.
รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น ปัจจัยแก่กายวิญญาณ.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปรามาสวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ, แก่เจโตปริยญาณ, แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ, แก่ยถากัมมูปคญาณ, แก่ อนาคตังสญาณ, แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
๔. ปรามาสวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาส สัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ
พิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ
ออกจากฌาน ฯลฯ
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นปรามาสวิปปยุตตธรรม เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะ ที่เป็นปรามาสสัมปยุตตธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
๓. อธิปติปัจจัย
[๗๑๒] ๑. ปรามาสสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาส สัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 776
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำราคะให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำราคะนั้น ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ที่เป็นปรามาสสัมปยุตตธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็น ปรามาสสัมปยุตตธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำขันธ์นั้นให้ เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะที่เป็นปรามาสสัมปยุตตธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นปรามาสสัมยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
๒. ปรามาสสัมปยุตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาส วิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็น ปรามาสสัมปยุตตธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำขันธ์นั้นให้ เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะที่เป็นปรามาสวิปปยุตตธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นปรามาสสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 777
๓. ปรามาสสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาสสัมปยุตตธรรม และปรามาสวิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติ- ปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นปรามาสสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
๔. ปรามาสวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาสวิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ กระทำอุโบสถกรรมแล้ว กระทำกุศล กรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา ย่อมยินดี ย่อมเพลิด เพลินยิ่ง เพราะกระทำกุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่ เป็นปรามาสวิปปยุตตธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
พิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ
ออกจากฌาน ฯลฯ
พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่น ฯลฯ ผล ฯลฯ นิพพาน ฯลฯ
นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวหาร, แก่มรรค, แก่ผล, ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 778
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปรามาสวิปปยุตตธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้น กระทำจักษุเป็นต้นนั้น ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะที่เป็นปรามาสวิปปยุตตธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นปรามาสวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
๕. ปรามาสวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาส สัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ กระทำอุโบสถกรรมแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำกุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำกุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะที่เป็นปรามาสสัมปยุตตธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
พิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ
ออกจากฌาน ฯลฯ
บุคคลย่อมยินดีย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลาลยที่เป็นปรามาสวิปปยุตตธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้น กระทำจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะที่เป็นปรามาสสัมปยุตตธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 779
๔. อนันตรปัจจัย
[๗๑๓] ๑. ปรามาสสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาส สัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปรามาสสัมปยุตตธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปรามาสสัมปยุตตธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจ ของอนันตรปัจจัย.
๒. ปรามาสสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาส วิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปรามาสสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
๓. ปรามาสวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาส วิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปรามาสวิปปยุตตธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปรามาสวิปปยุตตธรรม ที่เกิดหลังๆ
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
๔. ปรามาสวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาส สัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปรามาสสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 780
๕. สมนันตรปัจจัย
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย
๖. สหชาตปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย
[๗๑๔] ๑. ปรามาสสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาสสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ
๙. อุปนิสสยปัจจัย
[๗๑๕] ๑. ปรามาสสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาสสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ราคะที่เป็นปรามาสสัมปยุตตธรรม ฯลฯ โมหะ ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ราคะที่เป็นปรามาสสัมปยุตตธรรม แก่โมหะ ฯลฯ แก่ความ ปรารถนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย. ๒. ปรามาสสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาสวิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 781
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยราคะที่เป็นปรามาสสัมปยุตตธรรมแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ก่อมานะ ฯลฯ
บุคคลเข้าไปอาศัยโมหะที่เป็นปรามาสสัมปยุตตธรรม ฯลฯ ความ ปรารถนาแล้ว ให้ทาน ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ก่อมานะ ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.
ราคะที่เป็นปรามาสสัมปยุตตธรรม โมหะ ความปรารถนา เป็นปัจจัย แก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ปัญญา แก่ราคะ แก่โทสะ แก่โมหะ แก่มานะ แก่ความ ปรารถนา แก่สุขทางกาย ฯลฯ แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
๓. ปรามาสวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาสวิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ก่อมานะ.
บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา ราคะ มานะ ฯลฯ ความปรารถนา แล้ว ให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.
บุคคลเข้าไปอาศัยสุขทางกาย ฯลฯ เสนาะสนะแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 782
ศรัทธา ฯลฯ ปัญญา ราคะ มานะ ความปรารถนา สุขทางกาย ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา แก่ปัญญา แก่ราคะ แก่มานะ แก่ความ ปรารถนา แก่สุขทางกาย ฯลฯ แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
๔. ปรามาสวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาสสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
เพราะอาศัยศรัทธา ราคะที่เป็นปรามาสสัมปยุตตธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
เพราะอาศัยศีล ฯลฯ เสนาสนะ ความปรารถนา ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ราคะที่เป็นปรามาสสัมปยุตตธรรม แก่ความปราถนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
๑๐. ปุเรชาตปัจจัย
[๗๑๖] ๑. ปรามาสวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาสวิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ แล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะ ที่เป็นปรามาสวิปปยุตตธรรม วิจิกิจฉา อุทธัจจะ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 783
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ, ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.
รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตะ เป็น ปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัย แก่กายวิญญาณ.
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปรามาสวิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
๒. ปรามาสวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาสสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุเรชาตะ
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ เพราะ ปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่เป็นปรามาสสัมปยุตตธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปรามาสสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย
[๗๑๗] ๑. ปรามาสสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาสวิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 784
๒. ปรามาสวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาสวิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย
ฯลฯ
๑๒. อาเสวนปัจจัย
[๗๑๘] ๑. ปรามาสสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาสสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย ๒ วาระ.
๑๓. กัมมปัจจัย
[๗๑๙] ๑. ปรามาสสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาสสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นปรามาสสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
๒. ปรามาสสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาสวิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นปรามาสสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 785
เจตนาที่เป็นปรามาสสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ และ กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
๓. ปรามาสสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาสสัมปยุตตธรรม และปรามาสวิปปยุตตธรรม ฯลฯ
คือ เจตนาที่เป็นปรามาสสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
๔. ปรามาสวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาสวิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นปรามาสวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นปรามาสวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ และ กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
๑๔. วิปากปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ.
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย มี ๔ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 786
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย มี ๔ วาระ.
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย มี ๔ วาระ.
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย มี ๔ วาระ.
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ.
๒๐. วิปปยุตตปัจจัย
[๗๒๐] ๑. ปรามาสสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาสสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ
๒. ปรามาสวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาสวิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ
๓. ปรามาสวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาสสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปรามาสสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
๒๑. อัตถิปัจจัย
[๗๒๑] ๑. ปรามาสสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาสสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 787
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นปรามาสสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒.
๒. ปรามาสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาสวิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปรามาสสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
๓. ปรามาสสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาสสัมปยุตตธรรม และปรามาสวิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิ- ปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นปรามาสสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
๔. ปรามาสวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาส วิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และ อินทริยะ ฯลฯ
๕. ปรามาสวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาสสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ เพราะ ปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะ ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 788
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นปรามาสสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
๖. ปรามาสสัมปยุตตธรรม และปรามาสวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาสสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ ๑ ที่เป็นปรามาสสัมปยุตตธรรม และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒.
๗. ปรามาสสัมปยุตตธรรม และปรามาสวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาสวิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และรวมกับ อินทริยะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปรามาสสัมปยุตตธรรม ที่เกิดพร้อมกัน และ มหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของ อัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปรามาสสัมปยุตตธรรม ที่เกิดภายหลัง และ กวฬีการหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 789
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อินทริยะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปรามาสสัมปยุตตธรรม ที่เกิดภายหลัง และรูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๗๒๒] ในเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๔ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๔ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๔ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๔ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.
ปัจจนียนัย
การยกปัจจัยในปัจจนียะ
[๗๒๓] ๑. ปรามาสสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาสสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย อำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 790
๒. ปรามาสสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาสวิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย อำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ กัมมปัจจัย.
๓. ปรามาสสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาสสัมปยุตตธรรม และปรามาสวิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
๔. ปรามาสวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาสวิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย อำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ ปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
๕. ปรามาสวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาสสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
๖. ปรามาสสัมปยุตตธรรม และปรามาสวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาสสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 791
๗. ปรามาสสัมปยุตตธรรม และปรามาสวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาสวิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย อำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๗๒๔] ในนเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในนสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ ในนนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๗ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๗ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๔ วาระ ในโนอัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ ในโนอวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ.
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๗๒๕] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ ... ใน นอธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้า 792
มี ๔ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๔ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๔ วาระ ใน นสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ.
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๗๒๖] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ ... ใน อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ พึงกระทำอนุโลมมาติกา ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.
ปรามาสสัมปยุตตทุกะ จบ