พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย

๕๗. เจตสิกทุกะ

 
บ้านธัมมะ
วันที่  28 ก.พ. 2565
หมายเลข  42301
อ่าน  406

[เล่มที่ 89] พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕

พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๗

ปัฏฐาน ภาคที่ ๕

อนุโลมทุกปัฏฐาน (ต่อ)

๕๗. เจตสิกทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย 77

๑. เหตุปัจจัย 79/77

๒. อารัมมณปัจจัย 80/79

๓. อธิปติปัจจัย 81/81

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 83/82

ปัจจนียนัย 82

๑. นเหตุปัจจัย 83/82

๒. อารัมมณปัจจัย 84/85

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 85/86

อนุโลมปัจจนียนัย 87

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 86/87

ปัจจนียานุโลมนัย 87

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 87/87

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย 88

๑. เหตุปัจจัย 88/88

๒. อารัมมณปัจจัย 89/90

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 90/92

ปัจจนียนัย 92

๑. น เหตุปัจจัย 91/92

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 92/93

อนุโลมปัจจนียนัย 93

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 93/93

ปัจจนียานุโลมนัย 93

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 94/93

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย 94

๑. เหตุปัจจัย 95/94

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 96/95

ปัจจนียนัย 95

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 97/95

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 98/96

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย 97

๑. เหตุปัจจัย 99/97

๒. อารัมมณปัจจัย 100/98

๓. อธิปติปัจจัย 101/101

๔. อนันตรปัจจัย 102/104

๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย 106

๙. อุปนิสสยปัจจัย 103/106

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย 104/108

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย 105/110

๑๒. อาเสวนปัจจัย 106/110

๑๓. กัมมปัจจัย 107/111

๑๔. วิปากปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย 108/112

๒๐. วิปปยุตตปัจจัย 109/112

๒๑. อัตถิปัจจัย 110/115

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 111/119

ปัจจนียนัย 119

การยกปัจจัยในปัจจนียะ 112/119

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 113/121

อนุโลมปัจจนียนัย 122

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 114/122

ปัจจนียานุโลมนัย 122

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 115/122


อ่านหัวข้ออื่นๆ ... [เล่มที่ 89]


  ข้อความที่ 1  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 77

๕๗. เจตสิกทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๗๙] ๑. ธรรมที่เป็นเจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ๒. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิต และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก. ในปฏิสนธิขณะ จิต และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก.

๓. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัย ธรรมที่เป็นเจตสิก เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก, ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๔. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิต.

 
  ข้อความที่ 2  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 78

ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยจิต, หทยวัตถุ อาศัยจิต, จิต อาศัยหทยวัตถุ. ม

หาภูตรูป ๓ อาศัย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตา รูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๕. ธรรมที่เป็นเจตสิก อาศัยธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยจิต ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ อาศัยจิต.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก อาศัยหทยวัตถุ.

๖. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัย ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิต.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ อาศัยจิต.

ในปฏิสนธิขณะ จิตและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

๗. ธรรมที่เป็นเจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก และ ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก และจิต ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒. ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ที่เป็นเจตสิก และจิต ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก และหทยวัตถุ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

 
  ข้อความที่ 3  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 79

๘. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก และ ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย.

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และจิต.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และมหาภูตรูป ทั้งหลาย.

ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิกและจิต.

ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นเจตสิกและ มหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในปฏิสนธิขณะ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และหทยวัตถุ.

๙. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัย ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะเหตุ- ปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก และ จิต ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น เจตสิก และจิต ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และจิต อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก และ หทยวัตถุ, ขันธ์ ๑ และจิต อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ.

๒. อารัมมณปัจจัย

[๘๐] ๑. ธรรมที่เป็นเจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก เกิด ขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

 
  ข้อความที่ 4  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 80

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก, ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๓. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัย ธรรมที่เป็นเจตสิก เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และจิต อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก ฯลฯ อาศัย ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๔. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ จิต อาศัยหทยวัตถุ.

๕. ธรรมที่เป็นเจตสิก อาศัยธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยจิต.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก อาศัยหทยวัตถุ.

๖. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัย ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

 
  ข้อความที่ 5  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 81

คือ ในปฏิสนธิขณะ จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

๗. ธรรมที่เป็นเจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก และ ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก และจิต ฯลฯ อาศัย ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก และจิต ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก และหทยวัตถุ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

๘. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก และ ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และ หทยวัตถุ.

๙. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัย ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และจิต อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก และหทยวัตถุ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

๓. อธิปติปัจจัย

[๘๑] ๑. ธรรมที่เป็นเจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก เกิด ขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย ฯลฯ

 
  ข้อความที่ 6  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 82

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๘๒] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ ใน นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัย ทั้งปวง มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๘๓] ๑. ธรรมที่เป็นเจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก เกิด ขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย อุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ จิต และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก ซึ่ง เป็นอเหตุกะ

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

 
  ข้อความที่ 7  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 83

๓. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัย ธรรมที่เป็นเจตสิก เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นเจตสิก ซึ่ง เป็นอเหตุกะ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๔. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิตซึ่งเป็นอเหตุกะ.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยจิต.

หทยวัตถุ อาศัยจิต จิต อาศัยหทยวัตถุ.

ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ส่วนอสัญญสัตว์ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

๕. ธรรมที่เป็นเจตสิก อาศัยธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยจิตซึ่งเป็นอเหตุกะ.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยจิต.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะทั้งหลายที่เป็นเจตสิก อาศัยหทยวัตถุ.

โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยจิต ที่ สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

๖. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัย ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

 
  ข้อความที่ 8  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 84

คือสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิตซึ่งเป็น อเหตุกะ.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และกฏัตตารูป อาศัยจิต.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

๗. ธรรมที่เป็นเจตสิก และอาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก และ ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก ซึ่งเป็นอเหตุกะและจิต ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิกและจิต ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก และ หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

โมหะที่สหรคตด้วยวิจกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และจิต.

๘. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก และ ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก ซึ่งเป็น อเหตุกะและจิต, จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก ซึ่งเป็น อเหตุกะและมหาภูตรูปทั้งหลาย.

 
  ข้อความที่ 9  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 85

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และจิต

ในอเหตุกปฎิสนธิณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในเหตุกปฏิสนธิขณะ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และ หทยวัตถุ.

๙. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัย ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะนเหตุ- ปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก ซึ่ง เป็นอเหตุกะ และจิต.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และกฏัตตรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ เป็นเจตสิก และจิต.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และจิต อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

๒. อารัมมณปัจจัย

[๘๔] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

 
  ข้อความที่ 10  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 86

๒. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิต.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และจิต. จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และมหาภูตรูป ทั้งหลาย.

ในปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๒ วาระ ฯลฯ.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๘๕] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ใน นฌานปัจจัย มี ๖ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโน วิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

 
  ข้อความที่ 11  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 87

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระอนุโลมปัจจนียะ

[๘๖] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ... ใน นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๘๗] เพราะนเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ... ฯลฯ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

สหชาตวาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.

 
  ข้อความที่ 12  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 88

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๘๘] ๑. ธรรมที่เป็นเจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก เกิด ขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

มี ๓ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ (วาระที่ ๑ - ๓).

๔. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิต.

จิต อาศัยหทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยจิต, หทยวัตถุ อาศัยจิต, จิต อาศัยหทยวัตถุ.

ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

๕. ธรรมที่เป็นเจตสิก อาศัยธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยจิต, สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็น เจตสิก อาศัยหทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๒ วาระ.

๖. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัย ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

 
  ข้อความที่ 13  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 89

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิต.

จิตและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ พึงทำทั้ง ๒ วาระ.

๗. ธรรมที่เป็นเจตสิก อาศัยธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก และ ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก และจิต ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก, จิต และหทยวัตถุ ฯลฯ อาศัย ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ พึงทำทั้ง ๒ วาระ.

๘. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก และ ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และจิต.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และมหาภูตรูป ทั้งหลาย.

จิตอาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และหทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ พึงทำทั้ง ๓ วาระ.

๙. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัย ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะเหตุ- ปัจจัย

 
  ข้อความที่ 14  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 90

คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก และจิต ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ขันธ์ ๒ และจิต อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก และหทยวัตถุ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ พึงทำทั้ง ๒ วาระ.

๒. อารัมมณปัจจัย

[๘๙] ๑. ธรรมที่เป็นเจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก เกิด ขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ เหมือนปฏิจจวาระ (วาระที่ ๑ - ๒ - ๓)

๔. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัย กายายตนะ, จิต อาศัยหทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๕. ธรรมที่เป็นเจตสิก อาศัยธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายทั้งสหรคตด้วยจักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ อาศัยกายายตนะ.

สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยจิต.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก อาศัยหทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ พึงทำทั้ง ๒ วาระ.

 
  ข้อความที่ 15  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 91

๖. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัย ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ จักขุวิญญาณ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ อาศัยกายายตนะ ฯลฯ จิตและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ มี ๑ วาระ

๗. ธรรมที่เป็นเจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก และ ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขุ- วิญญาณ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขายตนะ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒, ฯลฯ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ฯลฯ

ขันธ์ ๒ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก และจิต ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก และหทยวัตถุ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ มี ๒ วาระ.

๘. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ จักขุวิญญาณ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และ จักขายตนะ ฯลฯ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ฯลฯ

จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นเจตสิก และหทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ มี ๑ วาระ.

 
  ข้อความที่ 16  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 92

๙. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัย ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะ อารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และจักขุวิญญาณ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุ- วิญญาณ และจักขายตนะ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ขันธ์ ๒ และจิต อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก และหทยวัตถุ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ มี ๑ วาระ.

ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๙๐] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ใน อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ฯลฯ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๙๑] ๑. ธรรมที่เป็นเจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก เกิด ขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ เจตสิกที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ มี ๙ วาระ แม้ปัญจวิญญาณ พึง กระทำเหมือนอารัมมณปัจจัย โมหะ มีใน ๓ วาระเท่านั้น วาระทั้งปวง ผู้มี ปัญญาพึงกระทำโดยปวัตติ และปฏิสนธิ.

 
  ข้อความที่ 17  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 93

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๙๒] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัยมี ๑ วาระ ใน นฌานปัจจัย มี ๙ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ใน โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๙๓] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ... ใน นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ

ฯลฯ

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระปัจจนียานุโลม

[๙๔] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ... ใน อนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

 
  ข้อความที่ 18  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 94

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๙๕] ๑. ธรรมที่เป็นเจตสิก เจือกับธรรมที่เป็นเจตสิก เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก ฯลฯ เจือกับขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เจือกับธรรมที่เป็นเจตสิก เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิต เจือกับขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.

๓. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เจือ กับธรรมที่เป็นเจตสิก เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และกับขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก ฯลฯ เจือกับ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.

๔. ธรรมที่เป็นเจตสิก เจือกับธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

 
  ข้อความที่ 19  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 95

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เจือกับจิต.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.

๕. ธรรมที่เป็นเจตสิก เจือกับธรรมที่เป็นเจตสิก และ ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก และจิต ฯลฯ เจือกับ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.

ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๙๖] ในเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ ใน อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๕ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.

ปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๙๗] ๑. ธรรมที่เป็นเจตสิก เจือกับธรรมที่เป็นเจตสิก เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

พึงกระทำเป็น ๕ วาระ อย่างนี้.

โมหะ มีใน ๓ วาระ เท่านั้น ฯลฯ

 
  ข้อความที่ 20  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 96

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๙๘] ในนเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๕ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๕ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ.

การนับจำนวนวาระอีกสองนัยนอกนี้ก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี พึงกระทำ อย่างนี้.

 
  ข้อความที่ 21  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 97

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๙๙] ๑. ธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นเจตสิก ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.

๒. ธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่จิต และจิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.

๓. ธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นเจตสิก ธรรมที่เป็นเจตสิก ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย, จิต และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.

 
  ข้อความที่ 22  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 98

๒. อารัมมณปัจจัย

[๑๐๐] ๑. ธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นเจตสิก ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก ปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก ย่อมเกิดขึ้น.

พึงถามถึงมูล. (วาระที่ ๒)

จิต ปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก ย่อมเกิดขึ้น.

พึงถามถึงมูล. (วาระที่ ๓)

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และจิต ปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก ย่อมเกิดขึ้น.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ เจตสิก ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ พระอริยะทั้งหลาย ออกจากมรรค ฯลฯ พิจารณาผล พิจารณา นิพพาน.

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่มรรค, แก่ผล, แก่ อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่เจตสิก โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภ จักษุเป็นต้นนั้น จิต ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ, ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

 
  ข้อความที่ 23  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 99

บุคคลรู้ซึ่งจิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ซึ่งเป็นธรรมที่ไม่ใช่ เจตสิก ด้วยเจโตปริยญาณ.

อากาสานัญจายตนะ ฯลฯ อาภิญจัญญายตนะ ฯลฯ.

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ, แก่เจโตปริยญาณ, แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ, แก่ยถากัมมูปคญาณ, แก่อนาคตังสญาณ, แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น เจตสิก ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ พระอริยะทั้งหลาย ออกจากมรรค ฯลฯ พิจารณานิพพาน มี คำอธิบายเหมือนกับข้อความตามบาลีข้างต้น.

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุขันธ์ที่ไม่ใช่เจตสิก โดย ความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ, ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

บุคคลรู้ซึ่งขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่เจตสิก ด้วยเจโตปริยญาณ.

อากาสานัญจายตนะ ฯลฯ อากิญจัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ, แก่เจโตปริยญาณ, แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ, แก่ยถากัมมูปคญาณ, แก่อนาคตังสญาณ, แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 24  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 100

๖. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น เจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัยจัย

คือ พระอริยะทั้งหลาย ออกจากมรรค ฯลฯ พิจารณานิพพาน มีคำ อธิบายเหมือนกับข้อความตามบาลีข้างต้น.

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่เจตสิก โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภ จักษุเป็นต้นนั้น จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ, แก่เจโตปริยญาณ, แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ, แก่ยถากัมมูปคญาณ, แก่อนาคตังสญาณ, แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

๗. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นเจตสิก ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก ปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และจิต ย่อมเกิดขึ้น.

พึงถามถึงมูล. (วาระที่ ๘)

จิต ปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และจิต ย่อมเกิดขึ้น.

พึงถามถึงมูล. (วาระที่ ๙)

 
  ข้อความที่ 25  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 101

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และจิต ปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และจิต ย่อมเกิดขึ้น.

๓. อธิปติปัจจัย

[๑๐๑] ๑. ธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นเจตสิก เจตสิก ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นเจตสิก ทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิกให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วย อำนาจของอธิปติปัจจัย.

พึงถามถึงมูล. (วาระที่ ๒)

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

จิต ทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิกให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

 
  ข้อความที่ 26  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 102

อธิปติธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่จิต และจิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

พึงถามถึงมูล. (วาระที่ ๓)

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และจิต ทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิกให้ เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย, จิต และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ เจตสิก ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

พระอริยะทั้งหลาย ฯลฯ ทำนิพพาน ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่มรรค, แก่ผล ด้วย อำนาจของอธิปติปัจจัย.

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่เจตสิก ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำจักษุ เป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว จิต ย่อมเกิดขึ้น.

 
  ข้อความที่ 27  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 103

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น เจตสิก ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

พระอริยะทั้งหลาย ฯลฯ ทำนิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ มีคำอธิบายเหมือนกับคำภาษาบาลีข้างต้น.

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะการกระทำจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่เจตสิกให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำจักษุ เป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อม เกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วย อำนาจของอธิปติปัจจัย

๖. ธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น เจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก ด้วยอำนาจอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

 
  ข้อความที่ 28  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 104

พระอริยะทั้งหลาย ฯลฯ พิจารณานิพพาน ฯลฯ มีคำอธิบายเหมือนกับ ข้อความตามบาลีข้างต้น.

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำขันธ์หลายที่ไม่ใช่ เจตสิกให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่นแล้ว ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และจิต ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๗. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นเจตสิก ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ.

มี ๓ วาระ เป็นอารัมมณาธิปติอย่างเดียว (วาระที่ ๗ - ๘ - ๙)

๔. อนันตรปัจจัย

[๑๐๒] ๑. ธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น เจตสิก ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายทั้งเป็นเจตสิก ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจอนันตรปัจจัย.

พึงถามถึงมูล. (วาระที่ ๒)

 
  ข้อความที่ 29  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 105

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิกที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่จิตที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พึงถามถึงมูล (วาระที่ ๓)

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิกที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ เป็นเจตสิกที่เกิดหลังๆ และจิต ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ เจตสิก ด้วยอำนาจอนันตรปัจจัย

คือ จิตที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่จิตที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของ อนันตรปัจจัย.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น เจตสิก ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

พึงกระทำเป็น ๓ วาระ (วาระที่ ๔ - ๕ - ๖) ดังที่กล่าวมา พึงยังคำ อธิบายให้บริบูรณ์ เหมือนกับบาลีข้างต้น ไม่มีแตกต่างกัน.

๗. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นเจตสิก ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๗ - ๘ - ๙)

อาวัชชนะก็ดี วุฏฐานะก็ดี ไม่มี.

 
  ข้อความที่ 30  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 106

๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ เหมือนกับปัจจยวาระ.

๙. อุปนิสสยปัจจัย

[๑๐๓] ๑. ธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น เจตสิก ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

พึงถามถึงมูล (วาระที่ ๒) มี ๓ อุปนิสสยะ.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่จิต ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

พึงถามถึงมูล (วาระที่ ๓) มี ๓ อุปนิสสยะ.

 
  ข้อความที่ 31  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 107

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และจิต ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ เจตสิก ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัย อุตุ ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ, จิต แล้ว ให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

อุตุ ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ ฯลฯ จิต เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ปัญญา แก่ราคะ ฯลฯ แก่ความปรารถนา แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ ทางกาย แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น เจตสิก ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัย อุตุ ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ, จิต แล้ว ให้ทาน ฯลฯ มี ๓ วาระ (วาระที่ ๔ - ๕ - ๖) มีคำอธิบายเหมือนกับข้อความ ตามบาลีข้างต้น ไม่มีแตกต่างกัน.

 
  ข้อความที่ 32  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 108

๗. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นเจตสิก ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๗ - ๘ - ๙)

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย

[๑๐๔] ๑. ธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ เจตสิก ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น จิต ย่อม เกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น ปัจจัยแก่กายวิญญาณ.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัย แก่กายวิญญาณ.

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น เจตสิก ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

 
  ข้อความที่ 33  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 109

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัทตุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก ด้วยอำนาจของ ปุเรชาตปัจจัย.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น เจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น จิต และ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

 
  ข้อความที่ 34  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 110

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจ ของปุเรชาตปัจจัย.

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย

[๑๐๕] ๑. ธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ เจตสิก ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ เจตสิก ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ

๓. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ

๑๒. อาเสวนปัจจัย

[๑๐๖] ๑. ธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น เจตสิก ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย

 
  ข้อความที่ 35  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 111

๑๓. กัมมปัจจัย

[๑๐๗] ๑. ธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น เจตสิก ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาเจตสิก เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของ กัมมปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาเจตสิก เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๒. ธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ เจตสิก ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาเจตสิก เป็นปัจจัยแก่จิต และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย อำนาจของกัมมปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาเจตสิก เป็นปัจจัยแก่จิตที่เป็นวิบาก และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจกัมมปัจจัย.

๓. ธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น เจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

 
  ข้อความที่ 36  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 112

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาเจตสิก เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย, จิต และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาเจตสิก เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ทั้งหลาย, จิต และ กฏัตตารูป ทั้งหลาย ด้วยอำนาจกัมมปัจจัย.

๑๔. วิปากปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย

[๑๐๘] ๑. ธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น เจตสิกด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย มี ๓ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ.

๒๐. วิปปยุตตปัจจัย

[๑๐๙] ๑. ธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ เจตสิก ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

 
  ข้อความที่ 37  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 113

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ เจตสิก ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

จิต เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ จิต เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจ ของวิปปยุตตปัจจัย, จิต เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย, หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ.

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

จิต ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจ วิปปยุตตปัจจัย.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น เจตสิก ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

 
  ข้อความที่ 38  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 114

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก ด้วยอำนาจของ วิปปยุตตปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น เจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และจิต ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ฯลฯ กายายตนะ, ฯลฯ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วย อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 39  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 115

๕. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ ฯลฯ

๒๑. อัตถิปัจจัย

[๑๑๐] ๑. ธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น เจตสิก ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.

๒. ธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ เจตสิก ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

๓. ธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น เจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ เจตสิก ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๕ อย่าง

คือ ที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และ อินทริยะ ฯลฯ

๕. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น เจตสิก ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

 
  ข้อความที่ 40  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 116

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

จิต เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ จิต ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ เหมือนปุเรชาตะ ไม่แตกต่างกัน.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น เจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

จิต เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และจิต ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ในปฎิสนธิขณะ จิต ฯลฯ

ในปฎิสธิขณะ หทยวัตถุ เบ่หปัจจัยแก่ ัห์ ่งหลายทีเป็นเจตสิก และจิต ค้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โคยความเบืหของไห่่เท ยง ฯลฯ เหหือนกับปุเรชาตะ ไม่แตกต่างกัน

 
  ข้อความที่ 41  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 117

๗. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นเจตสิก ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ด้วยอำนาจ ของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๒ วาระ

๘. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ , สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ, ปัจฉาชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และรวมกับ อินทริยะ

ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขายตนะ เป็นปัจจัย แก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ฯลฯ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และจิต เป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 42  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 118

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก, จิต และมหาภูตรูป เป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต ด้วย อำนาจของอัตถิปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๓ วาระ.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และจิต ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่ กายนี้ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และจิต ที่เกิดภายหลัง และกวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ด้วยอำนาจอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกัน อินทริยะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และจิต ที่เกิดภายหลัง และรูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

๙. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก และธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก ด้วย อำนาจของอัตถิปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๒ และจักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย, ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

 
  ข้อความที่ 43  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 119

ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ และกายายตนะ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๒ และกายวิญญาณ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย, ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิต ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๒ วาระ.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๑๑๑] ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในกัมมปัจจัย ๓ วาระ ในวิปากปัจจัยมี ๙ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๙ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๙ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัยมี ๓ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในนัตถิปัจจัยมี ๙ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

การยกปัจจัยในปัจจนียะ

[๑๑๒] ๑. ธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น เจตสิก ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

 
  ข้อความที่ 44  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 120

สหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๒. ธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ เจตสิก ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ สหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๓. ธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น เจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ เจตสิก ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ สหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย อำนาจของอินทริยปัจจัย.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น เจตสิก ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ สหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 45  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 121

๖. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น เจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๗. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นเจตสิก ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย.

๘. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย และด้วย อำนาจของ สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และรวมกับ อินทริยะ.

๙. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก ด้วย อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย และ สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๑๐๓] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

 
  ข้อความที่ 46  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 122

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียานุโลม

[๑๑๔] เพราะเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ... ใน นอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๓ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

ปัจจานียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๑๑๕] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ... ใน อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ พึงกระทำอนุโลมมาติกา ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

เจตสิกทุกะ จบ

 
หัวข้อถัดไป
หัวข้อก่อนหน้า

หน้าบัญชีเรื่อง