พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย

๖๙. อุปาทานทุกะ

 
บ้านธัมมะ
วันที่  28 ก.พ. 2565
หมายเลข  42313
อ่าน  396

[เล่มที่ 89] พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕

พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๗

ปัฏฐาน ภาคที่ ๕

อนุโลมทุกปัฏฐาน (ต่อ)

๖๙. อุปาทานทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย 429

๑. เหตุปัจจัย 390/429

๒. อารัมมณปัจจัย 391/431

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 392/431

ปัจจนียนัย 432

๑. นเหตุปัจจัย 393/432

๒. นอารัมมณปัจจัย 394/432

๓. นอธิปติปัจจัย ฯลฯ ๙. นอุปนิสสยปัจจัย 433

๑๐. นปุเรชาตปัจจัย 395/433

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 396/434

อนุโลมปัจจนียนัย 434

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 397/434

ปัจจนียานุโลมนัย 435

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 398/435

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย 436

๑. เหตุปัจจัย 399/436

๒. อารัมมณปัจจัย 438

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 400/438

ปัจจนียนัย 439

๑. นเหตุปัจจัย 401/439

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 402/439

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย 440

๑. เหตุปัจจัย 403/440

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 404/440

ปัจจนียนัย 440

๑. นเหตุปัจจัย 405/440

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 406/441

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย 442

๑. เหตุปัจจัย 407/442

๒. อารัมมณปัจจัย 408/443

๓. อธิปติปัจจัย 409/446

๔. อนันตรปัจจัย 410/449

๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย 451

๙. อุปนิสสยปัจจัย 411/452

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย 412/454

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย 413/456

๑๓. กัมมปัจจัย 456

๑๔. วิปากปัจจัย 415/457

๑๕. อาหารปัจจัย 416/457

๑๖. อินทริยปัจจัย 458

๑๗. ฌานปัจจัย 458

๑๘. มัคคปัจจัย 417/458

๑๙. สัมปยุตตปัจจัย 458

๒๐. อัตถิปัจจัย 418/458

๒๑. นัตถิปัจจัย 419/460

ปัจจนียนัย 465

การยกปัจจัยในปัจจนียะ 421/465

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 422/467

อนุโลมปัจจนียนัย 467

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 423/467

ปัจจนียานุโลมนัย 467

การนับจานวนวาระในปัจจนียานุโลม 424/467


อ่านหัวข้ออื่นๆ ... [เล่มที่ 89]


  ข้อความที่ 1  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 429

๖๙. อุปาทานทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๓๙๐] ๑. อุปาทานธรรม อาศัยอุปาทานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ กามุปาทาน อาศัยทิฏฐุปาทาน, ทิฏฐุปาทาน อาศัยกามุปาทาน, กามุปาทาน อาศัยสีลัพพตุปาทาน, สีลัพพตุปาทาน อาศัยกามุปาทาน, กามุปาทาน อาศัยอัตตวาทุปาทาน, อัตตวาทุปาทาน อาศัยกามุปาทาน.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม อาศัยอุปาทานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย อาศัยอุปาทานธรรมทั้งหลาย.

๓. อุปาทานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม อาศัยอุปาทานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ กามุปาทาน, สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย อาศัยทิฏฐุปาทาน กามุปาทาน ฯลฯ

พึงกระทำจักรนัยทั้งหมด.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ อุปาทานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

 
  ข้อความที่ 2  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 430

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่ อุปาทานธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ

หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทยวัตถุ.

มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๕. อุปาทานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ อุปาทานธรรมทั้งหลาย อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม.

๖. อุปาทานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทานธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒.

๗. อุปาทานธรรม อาศัยอุปาทานธรรม และธรรมที่ ไม่ใช่อุปาทานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ กามุปาทาน อาศัยทิฏฐุปาทาน และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย.

พึงกระทำจักรนัยทั้งหมด.

๘. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม อาศัยอุปาทานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

 
  ข้อความที่ 3  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 431

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม และอุปาทานธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยอุปาทานธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๙. อุปาทานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม อาศัยอุปาทานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ กามุปาทาน และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม และทิฏฐุปาทาน ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

พึงกระทำจักรนัยทั้งหมด.

๒. อารัมมณปัจจัย

[๓๙๑] ๑. อุปาทานธรรม อาศัยอุปาทานธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

พึงกระทำเป็น ๙ วาระ เว้นรูปออกเสีย.

การนับจํานวนวาระในอนุโลม

[๓๙๒] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

 
  ข้อความที่ 4  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 432

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๓๙๓] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ อุปาทานธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ฯลฯ

จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ

อสัญญสัตว์ทั้งหลาย โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย อุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

๒. นอารัมมณปัจจัย

[๓๙๔] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม อาศัยอุปาทานธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยอุปาทานธรรมทั้งหลาย.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อุปทานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ อุปาทานธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

 
  ข้อความที่ 5  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 433

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม.

หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม อาศัยอุปาทานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยอุปาทานธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย, จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยอุปาทานธรรมและมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๓. นอธิปติปัจจัย ฯลฯ ๙. นอุปนิสสยปัจจัย

ฯลฯ เพราะนอธิปติปัจจัย

ฯลฯ เพราะนอนันตรปัจจัย

ฯลฯ เพราะนอุปนิสสยปัจจัย

๑๐. นปุเรชาตปัจจัย

[๓๕๑] ๑. อุปาทานธรรม อาศัยอุปาทานธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ กามุปาทาน อาศัยอัตตวาทุปาทาน, อัตตาวาทุปาทาน อาศัยกามุปาทาน.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทธรรม อาศัยอุปาทานธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย

 
  ข้อความที่ 6  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 434

คือ ในอรูปภูมิ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยอุปาทานธรรมทั้งหลาย, จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยอุปาทานธรรมทั้งหลาย.

ฯลฯ

พึงทำเป็น ๙ วาระ.

ในอรูปภูมิ มีอุปาทานธรรม ๒.

ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๓๙๖] ในนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓วาระ ฯลฯ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๓๙๗] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ... ใน นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาต-

 
  ข้อความที่ 7  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 435

ปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๓๙๘] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ ... ใน ปัจจัยทั้งปวง มี ๑ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ.

แม้สหชาตวาระ ก็เหมือนกับปฏิจจวาระ.

สหชาตวาระพึงจำแนก ว่า ทิฏฐุปาทาน เกิดพร้อมกับกามุปาทาน.

 
  ข้อความที่ 8  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 436

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๓๙๙] ๑. อุปาทานธรรม อาศัยอุปาทานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ กามุปาทาน อาศัยทิฏฐุปาทาน มี ๓ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ อุปาทานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ฯลฯ ตลอดถึง อัชฌัตติกมหาภูตรูป.

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

๓. อุปาทานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ อุปาทานธรรมทั้งหลาย อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม. อุปาทานธรรมทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

๔. อุปาทานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

 
  ข้อความที่ 9  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 437

คือ ขันธ์ ๓ อุปาทานธรรมและจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ ใช่อุปาทานธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

อุปาทานธรรมทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

อุปาทานธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

๕. อุปาทานธรรม อาศัยอุปาทานธรรม และธรรม ที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ กามุปาทาน อาศัยทิฏฐุปาทาน และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย.

ทิฏฐุปาทาน อาศัยกามุปาทาน และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย.

พึงกระทำจักรนัย.

กามุปาทาน อาศัยทิฏฐุปาทาน และหทยวัตถุ.

พึงกระทำจักรนัย.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม อาศัยอุปาทานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม และอุปาทานธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

พึงกระทำจักรนัย.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยอุปาทานธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม อาศัยอุปาทานธรรม และหทยวัตถุ.

 
  ข้อความที่ 10  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 438

๗. อุปาทานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม อาศัยอุปาทานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓, กามุปาทาน และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม และทิฏฐุปาทาน ฯลฯ

พึงกระทำจักรนัย.

กามุปาทาน และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยทิฏฐุปาทาน และ หทยวัตถุ.

พึงกระทำจักรนัย.

๒. อารัมมณปัจจัย

ฯลฯ เพราะอารัมมณปัจจัย

ในอารัมมณปัจจัย ซึ่งมีธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรมเป็นมูล พึงจำแนก ทั้งปัญจายตนะ และหทยวัตถุ.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๔๐๐] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

 
  ข้อความที่ 11  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 439

ปัจจนียนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๔๐๑] ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ.

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ อาศัยหทยวัตถุ.

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้ง หลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และหทยวัตถุ.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๔๐๒] ในนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในนกัมมปัจจัย มี ๓วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

การนับทั้งสองนัยนอกจากนี้ก็ดีนิสสยวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.

 
  ข้อความที่ 12  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 440

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๔๐๓] ๑. อุปาทานธรรม เจือกับอุปาทานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ กามุปาทาน เจือกับทิฏฐุปาทาน ทิฏฐุปาทาน เจือกับกามุปาทาน.

พึงกระทำจักรนัย.

พึงกระทำทั้ง ๙ วาระ อย่างนี้.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๔๐๔] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ในวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๔๐๕] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เจือกับธรรมที่ไม่ใช่ อุปาทานธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

 
  ข้อความที่ 13  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 441

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย อุทธัจจะ เจือกับขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๔๐๖] ในนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ.

การนับทั้งสองวาระนอกจากนี้ก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.

 
  ข้อความที่ 14  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 442

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๔๐๗] ๑. อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย. พึงกระทำมูล. (วาระที่ ๒)

เหตุทั้งหลายที่เป็นอุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

พึงกระทำมูล. (วาระที่ ๓)

เหตุทั้งหลายที่เป็นอุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่เป็นอุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

คือ เหตุทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

 
  ข้อความที่ 15  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 443

๕. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

คือ เหตุทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

พึงกระทำมูล. (วาระที่ ๖)

เหตุทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่เป็นอุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๗. อุปาทานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอุปาทานธรรม และไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็น ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

พึงกระทำมูล. (วาระที่ ๘)

เหตุทั้งหลายที่เป็นอุปาทานธรรม และไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็น ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุ- ปัจจัย.

พึงกระทำมูล. (วาระที่ ๙)

๒. อารัมมณปัจจัย

[๔๐๘] ๑. อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 16  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 444

คือ เพราะปรารภอุปาทานธรรมทั้งหลาย อุปาทานธรรมย่อมเกิดขึ้น พึงกระทำคำว่า ปรารภ ทั้ง ๓ วาระ.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

คือ บุคคลให้ทาน รักษาศีล ฯลฯ กระทำอุโบสถกรรมแล้วพิจารณา กุศลกรรมนั้น ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภกุศลกรรมนั้น ราคะ ฯลฯ ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

กุศลกรรมทั้งหลายที่ได้สั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ ออกจากฌาน แล้วพิจารณาฌาน.

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค แล้วพิจารณามรรค ผล ฯลฯ พิจารณานิพพาน. นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่มรรค, แก่ผล, แก่ อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

พระอริยะทั้งหลายพิจารณา กิเลสที่ละแล้ว ซึ่งไม่ใช่อุปาทานธรรม ฯลฯ พิจารณากิเลสทั้งหลายที่ละแล้ว, กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาล ก่อน ฯลฯ

พิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาน ธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ, ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.

 
  ข้อความที่ 17  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 445

อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ ฯลฯ อากิญจัญญายตนะ ฯลฯ

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่ เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

คือบุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ กระทำอุโบสถกรรมแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งกุศลกรรมนั้น เพราะปรารภกุศลกรรมนั้น ราคะย่อม เกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

พิจารณากุศลทั้งหลายที่ได้สั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน, ออกจากฌาน ฯลฯ

พิจารณาจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่ อุปาทานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วยอํานาจของ อารัมมณปัจจัย

คือ ให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ พิจารณากุศลที่ได้ สั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ จากฌาน ฯลฯ

 
  ข้อความที่ 18  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 446

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น อุปาทานธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

๕. อุปาทานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย. พึงกระทำ คำว่า ปรารภ ทั้ง ๓ วาระ.

๓. อธิปติปัจจัย

[๔๐๙] ๑. อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรม ด้วย อำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

เพราะกระทำอุปาทานธรรมทั้งหลายให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น อุปาทานธรรม ย่อมเกิดขึ้น มี ๓ วาระ เป็นอารัมมณาธิปติ อย่างเดียว.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ พิจารณากุศลกรรม ที่ได้สั่งสมไว้ ในกาลก่อน ฯลฯ ออกจากฌานแล้วทำฌานให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่น แล้วพิจารณา ย่อมยินดี ฯลฯ

 
  ข้อความที่ 19  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 447

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค แล้วกระทำมรรคให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่น ผล ฯลฯ นิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา.

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่ ผล ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทย วัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทานธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้น กระทำจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่ อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ กระทำอุโบสถกรรมแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งกุศลกรรมนั้น เพราะกระทำกุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่น ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

พิจารณากุศลทั้งหลายที่ได้สั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ ออกจาก ฌาน ฯลฯ.

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทานธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น

 
  ข้อความที่ 20  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 448

ครั้นกระทำจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิด ขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรมทั้ง หลายที่เป็นสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่ อุปาทานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของ อธิปติปัจจัย.

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ พิจารณากุศลที่ได้ สั่งสมไว้ในกาลก่อน ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทานธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้น กระทำจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว อุปาทานธรรมและ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอุปาทานธรรมทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย,

 
  ข้อความที่ 21  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 449

๗. อุปาทานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ เป็นอารัมมณาธิปติ.

พึงกระทำคำว่า ปรารภ ทั้ง ๓ วาระ (วาระที่ ๗ - ๘ - ๙) เป็น อารัมมณาธิปติอย่างเดียว.

๔. อนันตรปัจจัย

[๔๑๐] ๑. อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรม ด้วย อำนาจของอนันตรปัจจัย.

คือ อุปาทานธรรมทั้งหลาย ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรมทั้งหลาย ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๒)

อุปาทานธรรมทั้งหลาย ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ ใช่อุปาทานธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๓)

อุปาทานธรรมทั้งหลาย ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรมทั้ง หลายที่เกิดหลังๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 22  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 450

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัย แก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู ฯลฯ แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของ อนันตรปัจจัย.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรมเป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรมทั้งหลาย ด้วยอำนาจของ อนันตรปัจจัย.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ อุปาทานธรรมทั้งหลาย ที่เกิดหลังๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจ ของอนันตรปัจจัย.

อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๗. อุปาทานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

 
  ข้อความที่ 23  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 451

คือ อุปาทานธรรมทั้งหลาย ที่เกิดก่อนๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรมทั้งหลาย ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๘)

อุปาทานธรรมทั้งหลาย ที่เกิดก่อนๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของ อนันตรปัจจัย.

อุปาทานธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๙)

อุปาทานธรรมทั้งหลาย ที่เกิดก่อนๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรมทั้งหลาย ที่เกิดหลังๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย เหมือนกับ ปัจจยวาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย เหมือน กับ ปฏิจจวาระ.

 
  ข้อความที่ 24  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 452

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย เหมือนกับ ปัจจยวาระ.

๙. อุปนิสสยปัจจัย

[๔๑๑] ๑. อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรม ด้วย อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ.

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

อุปาทานธรรมทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรมทั้งหลาย ด้วย อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ.

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลอาศัยศรัทธา แล้วให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิด ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.

ศีล ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ บุคคล เข้าไปอาศัยเสนาสนะแล้ว ถือเอาของที่เจ้าของมิได้ให้.

 
  ข้อความที่ 25  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 453

มุสาวาท ฯลฯ ปิสุณาวาจา ฯลฯ ให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิด ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.

บุคคลเข้าไปอาศัย ศีล ฯลฯ ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ เข้า ไปอาศัยเสนาสนะ แล้วให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มีอย่างเดียว

คือ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้ว ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ เสนาสนะ ฯลฯ อทินนาทาน ฯลฯ มุสาวาท ฯลฯ ปิสุณาวาจา ฯลฯ ผรุสวาจา ฯลฯ สัมผัปปลาปะ ฯลฯ ตัดช่อง ย่องเบา ฯลฯ ลอบขึ้นไปลักทรัพย์ ฯลฯ ปล้นบ้านหลังหนึ่ง ฯลฯ ปล้นตามทาง ฯลฯ ผิดในภริยาผู้อื่น ฯลฯ ฆ่าคนในหมู่บ้าน ฯลฯ ฆ่าคนในนิคม ฯลฯ

ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรมทั้งหลาย ด้วย อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๖).

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธา แล้วก่อมานะ ถือทิฏฐิ.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ เสนาสนะ แล้วถือเอาสิ่งของที่เจ้าของ มิได้ให้.

 
  ข้อความที่ 26  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 454

มุสาวาท ฯลฯ ปิสุณาวาท ฯลฯ ผรุสวาจา ฯลฯ สัมผัปปลาปะ ฯลฯ ตัดช่องย่องเบา ฯลฯ ลอบขึ้นไปลักทรัพย์ ฯลฯ ปล้นบ้านหลังหนึ่ง ฯลฯ ปล้น ตามทาง ฯลฯ ภริยาผู้อื่น ฯลฯ ฆ่าคนในหมู่บ้าน ฯลฯ ฆ่าคนในนิคม ฯลฯ

ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๗. อุปาทานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็นปกตูปนิสสยะ มี ๓ วาระ (วาระที่ ๗ - ๘ - ๙).

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย

[๔๑๒] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

พิจารณาจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น ปัจจัยแก่กายวิญญาณ.

 
  ข้อความที่ 27  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 455

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วย อำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน ธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

พิจารณาจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ ย่อมยินดี เพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรมทั้งหลาย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรมเป็นปัจจัยแก่อุปาทาน ธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

พิจารณาจักษุ ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งหทยวัตถุ เพราะ ปรารภจักษุเป็นต้นนั้น อุปาทานธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

 
  ข้อความที่ 28  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 456

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย

[๔๑๓] ๑. อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ

๓. อุปาทานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาต ปัจจัย ฯลฯ

๑๒. อาเสวนปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.

๑๓. กัมมปัจจัย

[๔๑๔] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 29  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 457

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ และกฏัตตารูป ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน ธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นอุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน ธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอุปาทานธรรมทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๑๔. วิปากปัจจัย

[๔๑๕] ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย

คือ ขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ฯลฯ มี ๑ วาระ.

๑๕. อาหารปัจจัย

[๔๑๖] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย

มี ๓ วาระ ได้แก่ กวฬีการาหาร อย่างเดียว.

 
  ข้อความที่ 30  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 458

๑๖. อินทริยปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ

คือ รูปชีวิตินทรีย์ อย่างเดียว.

๑๗. ฌานปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย มี ๓ วาระ.

๑๘. มัคคปัจจัย

[๔๑๗] ๑. อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรม ด้วย อำนาจของมัคคปัจจัย

คือ องค์มรรคทั้งหลาย ที่เป็นอุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน ธรรมทั้งหลายที่เป็นสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย.

พึงกระทำเป็น ๙ วาระ โดยเหตุนี้.

๑๙. สัมปยุตตปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ.

๒๑. อัตถิปัจจัย

[๔๑๘] ๑. อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาน ธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

 
  ข้อความที่ 31  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 459

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

อุปาทานธรรมทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วย อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

อุปาทานธรรมทั้งหลาย ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ สหชาตะ ฯลฯ

๓. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรมทั้งหลาย ด้วยอำนาจของ วิปปยุตตปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 32  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 460

๕. อุปาทานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

อุปาทานธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

อุปาทานธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัย แก่กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๒๑. อัตถิปัจจัย

[๔๑๙] ๑. อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรม ด้วย อำนาจของอัตถิปัจจัย.

คือ กามุปาทาน เป็นปัจจัยแก่ทิฏฐุปาทาน ด้วยอำนาจของอัตถิ ปัจจัย. ฯลฯ.

พึงกระทำจักรนัย

๒. อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

 
  ข้อความที่ 33  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 461

อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

อุปาทานธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วย อำนาจของอัตถิปัจจัย.

๓. อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรม และ ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ เหมือนกับ ปฏิจจวาระ.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และ อินทริยะ ฯลฯ พึงให้พิสดาร.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ เหมือนกับ สหชาตปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ เหมือนกับ ปุเรชาตปัจจัย.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิ- ปัจจัย

 
  ข้อความที่ 34  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 462

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ พึงจำแนก เหมือนกับ สหชาตปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ พึงจำแนก เหมือนกับ ปุเรชาตปัจจัย.

๗. อุปาทานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ทิฏฐุปาทาน และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่กามุปาทาน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

พึงกระทำจักรนัย.

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ทิฏฐุปาทาน และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่กามุปาทาน ด้วยอํานาจของ อัตถิปัจจัย.

พึงกระทำจักรนัย.

๘. อุปาทานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ, สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ, ปัจฉาชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และรวมกับ อินทริยะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

 
  ข้อความที่ 35  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 463

ขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม และอุปาทานธรรมทั้งหลาย เป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่ อุปาทานธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่

อุปาทานธรรม และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่ไม่ใช่ อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

อุปาทานธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัย แก่กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่

อุปาทานธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ที่เกิดภายหลัง และ กวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อินทริยะ ได้แก่

อุปาทานธรรม สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และรูปชีวิตินทรีย์ เป็น ปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

๙. อุปาทานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วย อำนาจของอัตถิปัจจัย

 
  ข้อความที่ 36  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 464

มี ๒ อย่าง

คือ ที่เป็น สหชาตะ และ สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม และทิฏฐุปาทาน เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓, และกามุปาทาน และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

พึงกระทำจักรนัย

ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่

ทิฏฐุปาทาน และหทยวัตถุ ที่เกิดก่อน เป็นปัจจัยแก่กามุปาทาน และ

สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

พึงกระทำจักรนัย

[๔๒๐] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ ใน นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

 
  ข้อความที่ 37  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 465

ปัจจนียนัย

การยกปัจจัยในปัจจนียะ

[๔๒๑] ๑. อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่ อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๒. อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของ สหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

๓. อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรม และ ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ ของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 38  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 466

๕. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ ของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็น ปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรมเป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๗. อุปาทานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๘. อุปาทานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ ของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

๙. อุปาทานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วย อํานาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 39  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 467

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๔๒๒] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ฯลฯ ในโนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๔๒๓] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ... ใน นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๔๒๔] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ... ใน อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ พึงกระทําอนุโลมมาติกา ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

อุปาทานทุกะ จบ

 
หัวข้อถัดไป
หัวข้อก่อนหน้า

หน้าบัญชีเรื่อง