พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย

๗๓. อุปาทานอุปาทานสัมปยุตตทุกะ

 
บ้านธัมมะ
วันที่  28 ก.พ. 2565
หมายเลข  42317
อ่าน  330

[เล่มที่ 89] พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕

พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๗

ปัฏฐาน ภาคที่ ๕

อนุโลมทุกปัฏฐาน (ต่อ)

๗๓. อุปาทานอุปาทานสัมปยุตตทุกะ

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย 521

๑. เหตุปัจจัย 464/521

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย 523

๑. เหตุปัจจัย 465/523

๒. อารัมมณปัจจัย 466/525

๓. อธิปติปัจจัย 467/526

๔. อนันตรปัจจัย 468/526

๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย 469/527

๙. อุปนิสสยปัจจัย 470/527

๑๐. อาเสวนปัจจัย 528

๑๑. กัมมปัจจัย ฯลฯ ๒๐. อวิคตปัจจัย 471/528

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 472/528

ปัจจนียนัย 529

การยกปัจจัยในปัจจนียะ 473/529

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 474/530

อนุโลมปัจจนียนัย 530

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 475/530

ปัจจนียานุโลมนัย 530

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 476/530


อ่านหัวข้ออื่นๆ ... [เล่มที่ 89]


  ข้อความที่ 1  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 521

๗๓. อุปาทานอุปาทานสัมปยุตตทุกะ

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๔๖๘] ๑. ธรรมที่เป็นทั้งอุปาทาน และอุปาทานสัมปยุตตธรรม อาศัยธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ กามุปาทาน อาศัยทิฏฐุปาทาน.

พึงกระทำจักรนัย.

๒. ธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานสัมปยุตตะ แต่ไม่ใช่อุปาทานธรรม อาศัยธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยอุปาทานธรรมทั้งหลาย.

๓. ธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานสัมปยุตตธรรม และธรรมที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตะแต่ไม่ใช่อุปาทานธรรม อาศัยธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

 
  ข้อความที่ 2  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 522

คือ กามุปาทานและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยทิฏฐุปาทาน. พึงกระทำจักรนัย.

ฯลฯ อาศัยธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานสัมปยุตตะ แต่ไม่ใช่อุปาทานธรรม

ฯลฯ

หลักการจำแนกจำนวนวาระต่างกัน เหมือนอุปาทานทุกะ มี ๙ วาระ รูปไม่มี วาระทั้งหมด พึงให้พิสดารอย่างนี้ อรูปภูมิเท่านั้น.

 
  ข้อความที่ 3  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 523

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๔๖๕] ๑. ธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็น ปัจจัยแก่อุปาทานธรรม ที่เป็นสัมปยุตตธรรมทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

พึงถามถึงมูล (วาระที่ ๒)

เหตุทั้งหลายที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัย แก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

พึงถามถึงมูล (วาระที่ ๓)

เหตุทั้งหลายที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัย แก่สัมปยุตตขันธ์และอุปาทานธรรมทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๔. ธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานสัมปยุตตะแต่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตะแต่ไม่ใช่ อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตะแต่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรมทั้งหลาย ที่เป็นสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของ เหตุปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 4  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 524

พึงถามถึงมูล (วาระที่ ๕)

เหตุทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตะแต่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็น ปัจจัยแก่อุปาทานธรรมทั้งหลาย ที่เป็นสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตร ปัจจัย.

พึงถามถึงมูล (วาระที่ ๖)

เหตุทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตะ แต่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็น ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และอุปาทานธรรมทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๗. ธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานสัมปยุตตธรรม และธรรมที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตะ แต่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานสัมปยุตตธรรม และ ที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตะ แต่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรม ทั้งหลายที่เป็นสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

พึงถามถึงมูล (วาระที่ ๘)

เหตุทั้งหลายที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานสัมปยุตตธรรม และที่ เป็นอุปาทานสัมปยุตตะแต่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

พึงถามถึงมูล (วาระที่ ๙)

เหตุทั้งหลายที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานสัมปยุตตธรรม และที่ เป็นอุปาทานสัมปยุตตะ แต่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และอุปาทานธรรมทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 5  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 525

๒. อารัมมณปัจจัย

[๔๖๖] ๑. ธรรมที่เป็นอุปาทานและอุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานสัมปยุตตธรรม อำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ เพราะปรารภอุปาทานธรรมทั้งหลาย อุปาทานธรรมทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

พึงถามถึงมูล (วาระที่ ๒)

เพราะปรารภอุปาทานธรรมทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตะแต่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

พึงถามถึงมูล (วาระที่ ๓)

เพราะปรารภอุปาทานธรรมทั้งหลาย อุปาทานธรรมและสัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

๔. ธรรมที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตะแต่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตะแต่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตะแต่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตะแต่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ย่อม เกิดขึ้น พึงทำทั้ง ๓ วาระ. (วาระที่ ๔ - ๕ - ๖)

ในปัจจัยสงเคราะห์ ก็พึงกระทำทั้ง ๓ วาระ. (วาระที่ ๗ - ๘ - ๙)

 
  ข้อความที่ 6  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 526

๓. อธิปติปัจจัย

[๔๖๗] ๑. ธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ.

๔. ธรรมที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตะแต่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตะแต่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ มีทั้ง ๓ วาระ.

พึงกระทำอธิปติปัจจัยทั้งสอง ทั้ง ๓ วาระ (วาระที่ ๔ - ๕ - ๖) แม้ อธิปติปัจจัยที่เป็นปัจจัยสงเคราะห์ ก็มี ๓ วาระ. (วาระที่ ๗ - ๘ - ๙)

๔. อนันตรปัจจัย

[๔๖๘] ๑. ธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานสัมปยุตตธรรม ที่เกิด ก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

ทั้ง ๙ วาระ พึงกระทำอย่างนี้ อาวัชชนะก็ดี วุฏฐานะก็ดีไม่มี.

 
  ข้อความที่ 7  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 527

๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย

[๔๖๙] ธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานสัมปยุตตธรรม ด้วย อำนาจของสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ

๙. อุปนิสสยปัจจัย

[๔๗๐] ๑. ธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ มี ๓ วาระ

๔. ธรรมที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตะแต่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นอุปาทานสัมปยุตะแต่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตะแต่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตะแต่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วย อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ.

แม้ใน อุปนิสสยปัจจัย ที่เป็นปัจจัยสงเคราะห์ ก็มี ๓ วาระ.

 
  ข้อความที่ 8  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 528

๑๐. อาเสวนปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ.

๑๑. กัมมปัจจัย ฯลฯ ๒๐. อวิคตปัจจัย

[๔๗๑] ๑. ธรรมที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตะ แต่ไม่ใช่อุปาทาน ธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตะ แต่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย มี ๓ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๔๗๒] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ใน อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ

 
  ข้อความที่ 9  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 529

ในกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

ปัจจนียนัย

การยกปัจจัยในปัจจนียะ

[๔๗๓] ๑. ธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ สหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๒. ธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตะแต่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ สหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๓. ธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานสัมปยุตตธรรม และธรรมที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตะแต่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

พึงกระทํา ๙ วาระ อย่างนี้ ในมูลแห่งธรรมหนึ่งๆ มี ๓ วาระ.

 
  ข้อความที่ 10  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 530

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๔๗๔] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในโนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๔๗๕] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ... ใน นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ใน นมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๔๗๖] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ... ใน อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ.

พึงกระทำอนุโลมมาติกา.

อุปาทานอุปาทานสัมปยุตตทุกะ จบ