๗๕. กิเลสทุกะ
[เล่มที่ 89] พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕
พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๗
ปัฏฐาน ภาคที่ ๕
อนุโลมทุกปัฏฐาน (ต่อ)
๗๕. กิเลสทุกะ
ปฏิจจวาระ
การนับจํานวนวาระในอนุโลม 480/535
๓. นอธิปติปัจจัย ฯลฯ ๗. นอุปนิสสยปัจจัย 537
๙. นปัจฉาชาตปัจจัย ๑๐. นอาเสวนปัจจัย 539
การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 485/539
ปัจจยวาระ
การนับจํานวนวาระในอนุโลม 487/543
การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 489/544
สังสัฏฐวาระ
การนับจํานวนวาระในอนุโลม 491/545
ปัจจนียนัย 525
๑. นเหตุปัจจัย 492/525
การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 493/546
ปัญหาวาระ
๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย 554
๑๕. อาหารปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย 559
๒๒. นัตถิปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย 564
การนับจํานวนวาระในอนุโลม 505/564
การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 507/567
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 508/567
การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 509/567
อ่านหัวข้ออื่นๆ ... [เล่มที่ 89]
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 533
๗๕. กิเลสทุกะ
ปฏิจจวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๔๗๙] ๑. ธรรมที่เป็นกิเลส อาศัยธรรมที่เป็นกิเลส เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ โมหะ ทิฏฐิ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อาศัยโลภะ.
โมหะ ทิฏฐิ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อาศัยโลภะ.
โมหะ มานะ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อาศัยโลภะ.
โมหะ มานะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อาศัยโลภะ.
โมหะ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อาศัยโลภะ.
โมหะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อาศัยโลภะ.
โมหะ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อาศัยโทสะ.
โมหะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อาศัยโทสะ.
โมหะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อาศัยวิจิกิจฉา.
โมหะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อาศัยอุทธัจจะ.
๒. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส อาศัยธรรมที่เป็นกิเลส เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยกิเลส.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 534
๓. ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส อาศัย ธรรมที่เป็นกิเลส เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ โมหะ ทิฏฐิ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ, สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยโลภะ.
พึงกระทำจักรนัย.
๔. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่กิเลส ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลายอาศัย หทยวัตถุ ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
๕. ธรรมที่เป็นกิเลส อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ กิเลสทั้งหลาย อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กิเลส.
๖. ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส อาศัย ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓, กิเลสทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่กิเลส ฯลฯ ขันธ์ ๒.
๗. ธรรมที่เป็นกิเลส อาศัยธรรมที่เป็นกิเลส และ ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 535
คือ โมหะ ทิฏฐิ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อาศัยโลภะ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย.
พึงกระทำจักรนัย.
๘. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส อาศัยธรรมที่เป็นกิเลส และ ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่กิเลส และ กิเลสทั้งหลาย ฯลฯ ขันธ์ ๒.
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยกิเลสธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.
๙. ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส อาศัย ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ โมหะ ทิฏฐิ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่กิเลส และโลภะ ฯลฯ ขันธ์ ๒.
พึงกระทำจักรนัย.
ฯลฯ
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๔๘๐] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 536
ปัจจนียนัย
๑. นเหตุปัจจัย
[๔๘๑] ๑. ธรรมที่เป็นกิเลส อาศัยธรรมที่เป็นกิเลส เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ โมหะ อาศัยวิจิกิจฉา, โมหะอาศัยอุทธัจจะ.
๒. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่กิเลส ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
อเหตุกปฏิสนธิขณะ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.
๓. ธรรมที่เป็นกิเลส อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.
๔. ธรรมที่เป็นกิเลส อาศัยธรรมที่เป็นกิเลส และ ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย วิจิกิจฉา และวิจิกิจฉา โมหะ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และอุทธัจจะ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 537
๒. นอารัมมณปัจจัย
[๔๘๒] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส อาศัยธรรมที่เป็นกิเลส เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยกิเลสทั้งหลาย.
๒. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กิเลส.
ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ตลอดถึงอสัญญสัตว์.
๓. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส อาศัยธรรมที่เป็นกิเลส และ ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยทั้งกิเลส และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยกิเลส และมหาภูตรูปทั้งหลาย.
๓. อธิปติปัจจัย ฯลฯ ๗. นอุปนิสสยปัจจัย
ฯลฯ เพราะนอธิปติปัจจัย
ฯลฯ เพราะนอนันตรปัจจัย
ฯลฯ เพราะนสมนันตรปัจจัย
ฯลฯ เพราะนอัญญมัญญปัจจัย
ฯลฯ เพราะนอุปนิสสยปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 538
๘. นปุเรชาตปัจจัย
[๔๘๓] ๑. ธรรมที่เป็นกิเลส อาศัยธรรมที่เป็นกิเลส เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ โมหะ ทิฏฐิ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อาศัยโลภะ
โมหะ ทิฏฐิ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อาศัยโลภะ.
โมหะ มานะ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อาศัยโลภะ.
โมหะ มานะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อาศัยโลภะ.
โมหะ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อาศัยโลภะ.
โมหะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อาศัยโลภะ.
โมหะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อาศัยวิจิกิจฉา.
โมหะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อาศัยอุทธัจจะ.
ในอรูปภูมิ ที่มีโทสะเป็นมูล ไม่มี.
๒. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส อาศัยธรรมที่เป็นกิเลส เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยกิเลสทั้งหลาย.
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยกิเลสทั้งหลาย.
วาระทั้ง ๙ พึงกระทำอย่างนี้.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 539
๙. ปัจฉาชาตปัจจัย ๑๐. นอาเสวนปัจจัย
ฯลฯ เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย
ฯลฯ เพราะนอาเสวนปัจจัย
๑๑. นกัมมปัจจัย
[๔๘๔] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส อาศัยธรรมที่เป็นกิเลสเกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย
คือ สัมปยุตตเจตนา อาศัยกิเลสทั้งหลาย.
๒. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย
คือ สัมปยุตตเจตนา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กิเลส.
พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
๓. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส อาศัยธรรมที่เป็นกิเลส และ ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย
คือ สัมปยุตตเจตนา อาศัยกิเลส และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย.
ปัจจัยทั้งปวง พึงกระทำอย่างนี้.
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๔๘๕] ในนเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 540
มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ใน นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
การนับทั้งสองนัยนอกนี้ก็ดี สหชาตวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 541
ปัจจยวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๔๘๖] ๑. ธรรมที่เป็นกิเลส อาศัยธรรมที่เป็นกิเลส เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.
๔. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่กิเลส ตลอดถึงอัชฌัตติกมหาภูตรูป. ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กิเลส อาศัยหทยวัตถุ.
๕. ธรรมที่เป็นกิเลส อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ กิเลสทั้งหลาย อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กิเลส. กิเลสทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.
๖. ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส อาศัย ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓, กิเลสทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่กิเลส ฯลฯ ขันธ์ ๒.
กิเลสทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
กิเลส และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 542
๗. ธรรมที่เป็นกิเลส อาศัยธรรมที่เป็นกิเลส และ ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ โมหะ ทิฏฐิ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อาศัยโลภะ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย.
พึงกระทำจักรนัย.
กิเลสทั้งหลาย อาศัยโลภะ และหทยวัตถุ
๘. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส อาศัยธรรมที่เป็นกิเลส และ ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่กิเลสและ กิเลส ฯลฯ ขันธ์ ๒.
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยกิเลสและมหาภูตรูปทั้งหลาย.
ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กิเลส อาศัยกิเลสทั้งหลาย และหทยวัตถุ.
๙. ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส อาศัย ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ โมหะ ทิฏฐิ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่กิเลส และโลภะ ฯลฯ ขันธ์ ๒.
พึงกระทำจักรนัย.
โมหะ ทิฏฐิ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ และสัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย อาศัยโลภะ และหทยวัตถุ.
พึงกระทำจักรนัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 543
๒. อารัมมณปัจจัย
ในอารัมมณปัจจัย ในธรรมที่ไม่ใช่กิเลสเป็นมูล พึงกระทำ ปัญจวิญญาณ.
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๔๘๗] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ใน อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.
ปัจจนียนัย
๑. นเหตุปัจจัย
[๔๘๘] ๑. ธรรมที่เป็นกิเลส อาศัยธรรมที่เป็นกิเลส เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา อาศัยวิจิกิจฉา, โมหะที่สหรคต ด้วยอุทธัจจะ อาศัยอุทธัจจะ.
๒. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์
จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ
ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กิเลส ซึ่งเป็นอเหตุกะ อาศัยหทยวัตถุ.
๓. ธรรมที่เป็นกิเลส อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เกิด ขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 544
คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และหทยวัตถุ.
๔. ธรรมที่เป็นกิเลส อาศัยธรรมที่เป็นกิเลส และ ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา อาศัยวิจิกิจฉา สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย และหทยวัตถุ.
โมหะ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยอุทธัจจะ, สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และหทยวัตถุ.
ฯลฯ
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๔๘๙] ในนเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
การนับทั้งสองนัยนอกนี้ก็ดี นิสสยวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 545
สังสัฏฐวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๔๙๐] ๑. ธรรมที่เป็นกิเลส เจือกับธรรมที่เป็นกิเลส เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ โมหะ ทิฏฐิ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ เจือกับโลภะ.
พึงกระทำจักรนัย.
พึงกระทำ ๙ วาระอย่างนี้.
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๔๙๑] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.
ปัจจนียนัย
๑. นเหตุปัจจัย
[๔๙๒] ๑. ธรรมที่เป็นกิเลส เจือกับธรรมที่เป็นกิเลส เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
พึงกระทำ นเหตุปัจจัย ๔ วาระอย่างนี้.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 546
การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ
[๔๙๓] ในนเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ.
การนับทั้งสองนัยนอกนี้ก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 547
ปัญหาวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๔๙๔] ๑. ธรรมที่เป็นกิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นกิเลส เป็นปัจจัยแก่กิเลสทั้งหลายที่เป็น สัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
พึงถามถึงมูล (วาระที่ ๒)
เหตุทั้งหลายที่เป็นกิเลส เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
พึงถามถึงมูล (วาระที่ ๓)
เหตุทั้งหลายที่เป็นกิเลส เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์, กิเลสและ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
๔. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ กิเลส ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุทั้งหลายที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 548
๒. อารัมมณปัจจัย
[๔๙๕] ๑. ธรรมที่เป็นกิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ เพราะปรารภกิเลสทั้งหลาย กิเลสทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.
พึงถามถึงมูล (วาระที่ ๒)
เพราะปรารภกิเลสทั้งหลาย ธรรมที่ไม่ใช่กิเลสทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.
พึงถามถึงมูล (วาระที่ ๓)
เพราะปรารภกิเลสทั้งหลาย กิเลสและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ย่อม เกิดขึ้น.
๔. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ กิเลส ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ พิจารณา กุศลที่สั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ ออกจากฌาน แล้วพิจารณาฌาน ย่อม ยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภทานเป็นต้น ราคะ ฯลฯ ทิฏฐิ วิจิกิจฉา อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ผล แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ กิเลส โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ ฯลฯ เป็นปัจจัย แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 549
๕. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือบุคคลให้ทาน ฯลฯ ออกจากฌานแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลิน ยิ่ง ซึ่งฌาน เพราะปรารภกุศลกรรมนั้น ราคะ ฯลฯ ทิฏฐิ วิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ เมื่อฌานเสื่อมไป โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น แก่บุคคลผู้เดือดร้อนใจ.
บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กิเลส เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัส ฯลฯ
๖. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือบุคคลให้ทาน ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ จักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กิเลส เพราะ ปรารภทานเป็นต้นนั้น กิเลส และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.
๗. ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๗ - ๘ - ๙)
๓. อธิปติปัจจัย
[๔๙๖] ๑. ธรรมที่เป็นกิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 550
เพราะกระทำกิเลสทั้งหลายให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น กิเลสทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.
มี ๓ วาระ เป็นอารัมมณาธิปติ อย่างเดียว.
๔. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ กิเลส ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรมแล้ว ทำกุศลกรรม นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะ กระทำกุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.
กุศลกรรมที่ได้สั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ออกจากฌาน ฯลฯ
พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่น ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ผล ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กิเลสให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำ จักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 551
๕. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
ทาน ฯลฯ ฌาน ฯลฯ
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กิเลสให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้น กระทำจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่กิเลสทั้งหลาย ที่เป็นสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
๖. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
ทาน ฯลฯ ฌาน ฯลฯ
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กิเลสให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำ ทานเป็นต้นนั้น ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว กิเลสและสัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 552
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ กิเลสและ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
๗. ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๗ - ๘ - ๙)
เป็น อารัมมณาธิปติ อย่างเดียว.
๔. อนันตรปัจจัย
[๔๙๗] ๑. ธรรมที่เป็นกิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ กิเลสทั้งหลาย ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่กิเลสทั้งหลาย ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
พึงถามถึงมูล (วาระที่ ๒)
กิเลสทั้งหลาย ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ กิเลส ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
กิเลสทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
พึงถามถึงมูล (วาระที่ ๓)
กิเลสทั้งหลาย ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่กิเลสทั้งหลาย ที่เกิดหลังๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 553
๔. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ กิเลส ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กิเลส ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กิเลส ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
พึงถามถึงมูล (วาระที่ ๕)
ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กิเลส ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่กิเลสทั้งหลาย ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่กิเลสทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
พึงถามถึงมูล (วาระที่ ๖)
ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กิเลส ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่กิเลส ที่เกิด หลังๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่กิเลส และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วย อำนาจของอนันตรปัจจัย.
๗. ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ กิเลสทั้งหลาย ที่เกิดก่อนๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็น ปัจจัยแก่กิเลสทั้งหลาย ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
พึงถามถึงมูล (วาระที่ ๘)
กิเลสทั้งหลาย ที่เกิดก่อนๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัย แก่ธรรมทั้งหลายที่ไม่ใช่กิเลส ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 554
กิเลสและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วยอำนาจ ของอนันตรปัจจัย
พึงถามถึงมูล (วาระที่ ๙)
กิเลส ที่เกิดก่อนๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่กิเลส ที่เกิดหลังๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของปัจจัย.
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย
[๔๙๘] ๑. ธรรมที่เป็นกิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
กิเลสทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่กิเลสทั้งหลาย มี ๓ วาระ.
๔. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ กิเลส ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 555
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้วให้ทาน ก่อมานะ ถือทิฏฐิ. ศีล ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะ โทสะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ ความ ปรารถนา สุขทางกาย ฯลฯ บุคคลเข้าไปอาศัยเสนาสนะ แล้วให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์.
ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
๕. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้ว ก่อมานะ ถือทิฏฐิ
บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ เสนาสนะ แล้วฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์
ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่กิเลสทั้งหลาย ด้วยอำนาจ ของอุปนิสสยปัจจัย.
๖. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 556
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้ว ก่อมานะ ถือทิฏฐิ
บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ เสนาสนะ แล้วฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.
ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่กิเลส และสัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
๗. ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ. (วาระที่ ๗ - ๘ - ๙)
๑๐. ปุเรชาตปัจจัย
[๔๙๙] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ กิเลส ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ โดยความเป็นของไม่ เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ, ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.
รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัย แก่กายวิญญาณ
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กิเลส ด้วยอำนาจของ ปุเรชาตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 557
๒. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลย่อมพิจารณาซึ่งจักษุ ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่ง หทยวัตถุ ฯลฯ เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัส ย่อม เกิดขึ้น.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่กิเลสทั้งหลาย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
๓. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ เพราะ ปรารภจักษุเป็นต้นนั้น กิเลสและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่กิเลส และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจ ของปุเรชาตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 558
๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย
[๕๐๐] ๑. ธรรมที่เป็นกิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ
๒. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ กิเลส ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ
๓. ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ
๑๒. อาเสวนปัจจัย
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอํานาจของอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ.
๑๓. กัมมปัจจัย
[๕๐๑] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ กิเลส ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
เจตนาที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 559
๒. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่กิเลสทั้งหลาย ด้วยอำนาจ ของกัมมปัจจัย.
๓. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์, กิเลสและ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
๑๔. วิปากปัจจัย
[๕๐๒] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ กิเลส ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ.
๑๕. อาหารปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ.
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ.
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย มี ๓ วาระ.
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ.
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 560
๒๐. วิปปยุตตปัจจัย
[๕๐๓] ๑. ธรรมที่เป็นกิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ
๒. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ กิเลส ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ
๓. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่กิเลสทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
๔. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่กิเลสและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจ ของวิปปยุตตปัจจัย.
๕. ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ ที่ย่อไว้พึงให้พิสดาร.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 561
๒๑. อัตถิปัจจัย
[๕๐๔] ๑. ธรรมที่เป็นกิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.
๒. ธรรมที่เป็นกิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ
๓. ธรรมที่เป็นกิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย เหมือนกับปฏิจจวาระ.
๔. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ กิเลส ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และ อินทริยะ ฯลฯ
๕. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ เหมือนกับสหชาตปัจจัย.
ที่เป็น ปุเรชาตะ เหมือนกับปุเรชาตปัจจัย.
๖. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 562
ที่เป็น สหชาตะ เหมือนกับสหชาตปัจจัย.
ที่เป็น ปุเรชาตะ เหมือนกับปุเรชาตปัจจัย.
๗. ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
โลภะ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่โมหะ ทิฏฐิ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
โลภะ และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่โมหะ ทิฏฐิ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
พึงกระทำจักรนัย.
๘. ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ, สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และรวมกับ อินทริยะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่กิเลส และกิเลส เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย, ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 563
กิเลส และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอํานาจของอัตถิปัจจัย
ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่
กิเลสทั้งหลาย และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กิเลส ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
กิเลส และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่
กิเลส, สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และกวฬีการาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อินทริยะ ได้แก่
กิเลส, สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายและรูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่ กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
๙. ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส ด้วยอำนาจของ อัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 564
ขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่กิเลส และโลภะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓, จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย และแก่โมหะ ทิฏฐิ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย, ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่
โลภะ และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่โมหะ ทิฏฐิ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
๒๒. นัตถิปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนัตถิปัจจัย
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิคตปัจจัย
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๕๐๕] ในเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ใน อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ใ นสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ ใน นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ใน กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 565
ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.
ปัจจนียนัย
การยกปัจจัยในปัจจนียะ
[๕๐๖] ๑. ธรรมที่เป็นกิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
๒. ธรรมที่เป็นกิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย อำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
๓. ธรรมที่เป็นกิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
๔. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ กิเลส ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ สหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาต-
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 566
ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ ของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
๕. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย อำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
๖. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
๗. ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
๘. ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
๙. ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส ด้วยอำนาจของ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 567
อารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ
[๕๐๗] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในโนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๕๐๘] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ ... ใน นอธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๔ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ใน นวิปปยุตตปัจจัย มี ๔ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ.
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๕๐๙] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ... ใน อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ พึงกระทำอนุโลมมาติกา ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.
กิเลสทุกะ จบ