พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย

๗๗. สังกิลิฏฐทุกะ

 
บ้านธัมมะ
วันที่  28 ก.พ. 2565
หมายเลข  42321
อ่าน  384

[เล่มที่ 89] พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕

พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๗

ปัฏฐาน ภาคที่ ๕

อนุโลมทุกปัฏฐาน (ต่อ)

๗๗. สังกิลิฏฐทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย 569

๑. เหตุปัจจัย 511/569

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 512/570

ปัจจนียนัย 570

๑. นเหตุปัจจัย 513/570

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 514/571

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย 572

๑. เหตุปัจจัย 515/572

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 516/573

ปัจจนียนัย 574

๑. นเหตุปัจจัย 517/574

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 518/575

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย 576

๑. เหตุปัจจยั 519/576

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 520/576

ปัจจนียนัย 577

๑. นเหตุปัจจัย 521/577

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 522/577

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย 578

๑. เหตุปัจจัย 523/578

๒. อารัมมณปัจจัย 524/579

๓. อธิปติปัจจัย 525/580

๔. อนันตรปัจจัย 526/583

๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย 584

๙. อุปนิสสยปัจจัย 527/584

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย 528/586

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย 529/586

๑๒. อาเสวนปัจจัย 587

๑๓. กัมมปัจจัย 530/587

๑๔. วิปากปัจจัย 531/588

๑๕. อาหารปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย 532/588

๒๐. วิปปยุตตปัจจัย 533/589

๒๑. อัตถิปัจจัย 534/589

๒๒. นัตถิปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย 591

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 535/591

ปัจจนียนัย 592

การยกปัจจัยในปัจจนียะ 536/592

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 537/593

อนุโลมปัจจนียนัย 593

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 538/593

ปัจจนียานุโลมนัย 594

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 539/594


อ่านหัวข้ออื่นๆ ... [เล่มที่ 89]


  ข้อความที่ 1  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 569

๗๗. สังกิลิฏฐทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๕๑๑] ๑. สังกิลิฏฐธรรม อาศัยสังกิลิฏฐธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสังกิลิฏฐธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

๒. อสังกิลิฏฐธรรม อาศัยสังกิลิฏฐธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสังกิลิฏฐธรรม.

๓. สังกิลิฏฐธรรม และอสังกิลิฏฐธรรม อาศัยสังกิ- ลิฏฐธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสังกิลิฏฐ- ธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

๔. อสังกิลิฏฐธรรม อาศัยอสังกิลิฏฐธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอสังกิลิฏฐ- ธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัย หทยวัตถุ.

 
  ข้อความที่ 2  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 570

ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑.

๕. อสังกิลิฏฐธรรม อาศัยสังกิลิฏฐธรรม และอสังกิลิฏฐธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นสังกิลิฏฐธรรม และ มหาภูตรูปทั้งหลาย.

ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๕๑๒] ในเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ ใน นิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๕ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๕ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๕๑๓] ๑. สังกิลิฏฐธรรม อาศัยสังกิลิฏฐธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

 
  ข้อความที่ 3  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 571

๒. อสังกิลิฏฐธรรม อาศัยอสังกิลิฏฐธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอสังกิลิฏฐ- ธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ

[๕๑๔] ในนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันครปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ใน นอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ใน นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ใน โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

การนับทั้งสองนัยนอกนี้ก็ดี สหชาตวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.

 
  ข้อความที่ 4  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 572

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๕๑๕] ๑. สังกิลิฏฐธรรม อาศัยสังกิลิฏฐธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๑ - ๒ - ๓) เหมือนกับปฏิจจวาระ.

๔. อสังกิลิฏฐธรรม อาศัยอสังกิลิฏฐธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอสังกิลิฏฐ- ธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ตลอดถึงอัชฌัตติกมหาภูตรูป. ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอสังกิลิฏฐธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

๕. สังกิลิฏฐธรรม อาศัยอสังกิลิฏฐธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสังกิลิฏฐธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

๖. สังกิลิฏฐธรรม และอสังกิลิฏฐธรรม อาศัยอสังกิลิฏฐธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสังกิลิฏฐธรรม อาศัยหทยวัตถุ. จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๗. สังกิลิฏฐธรรม อาศัยสังกิลิฏฐธรรม และอสังกิลิฏฐธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

 
  ข้อความที่ 5  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 573

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสังกิลิฏฐธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

๘. อสังกิลิฏฐธรรม อาศัยสังกิลิฏฐธรรม และ อสังกิลิฏฐธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสังกิลิฏฐธรรม และ มหาภูตรูปทั้งหลาย.

๙. สังกิลิฏฐธรรม และอสังกิลิฏฐธรรม อาศัย สังกิลิฏฐธรรม และอสังกิลิฏฐธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสังกิลิฏฐธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสังกิลิฏฐธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ฯลฯ

การนับจํานวนวาระในอนุโลม

[๕๑๖] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ ใน อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๔ วาระ ในนิสสยปัจจัยมี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๔ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๙ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

 
  ข้อความที่ 6  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 574

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๕๐๗] ๑. สังกิลิฏฐธรรม อาศัยสังกิลิฏฐธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

๒. อสังกิลิฏฐธรรม อาศัยอสังกิลิฏฐธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ฯลฯ ขันธ์ที่เป็นอสังกิลิฏฐธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ตลอด ถึงอสัญญสัตว์.

จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอสังกิลิฏฐธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ อาศัยหทยวัตถุ.

๓. สังกิลิฏฐธรรม อาศัยอสังกิลิฏฐธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัย หทยวัตถุ.

๔. สังกิลิฏฐธรรม อาศัยสังกิลิฏฐธรรม และอสังกิลิฏฐธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และหทยวัตถุ.

 
  ข้อความที่ 7  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 575

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ

[๕๑๘] ในนเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ใน นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ใน โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

การนับสองนัยนอกนี้ก็ดี นิสสยวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.

 
  ข้อความที่ 8  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 576

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๕๑๙] ๑. สังกิลิฏฐธรรม เจือกับสังกิลิฏฐธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นสังกิลิฏฐธรรม ฯลฯ เจือกับ ขันธ์ ๒.

๒. อสังกิลิฏฐธรรม เจือกับอสังกิลิฏฐธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอสังกิลิฏฐธรรม ฯลฯ เจือกับ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๕๒๐] ในเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๒ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ในวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.

 
  ข้อความที่ 9  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 577

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๕๒๑] ๑. สังกิลิฏฐธรรม เจือกับสังกิลิฏฐธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ เจือกับ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

๒. อสังกิลิฏฐธรรม เจือกับอสังกิลิฏฐธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอสังกิลิฏฐธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๕๒๒] ในนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ.

การนับทั้งสองนัยนอกนี้ก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.

 
  ข้อความที่ 10  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 578

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๕๒๓] ๑. สังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐธรรม ด้วย อำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๒. สังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐธรรม ด้วย อำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๓. สังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐธรรม และ อสังกิลิฏฐธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

๔. อสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย. ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

 
  ข้อความที่ 11  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 579

๒. อารัมมณปัจจัย

[๕๒๔] ๑. สังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐธรรม ด้วย อำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลย่อมยินดี เพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งราคะ เพราะปรารภราคะนั้น ราคะ ฯลฯ ทิฏฐิ วิจิกิจฉา อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น. บุคคลยินดี ซึ่งทิฏฐิ.

เหมือนกับกุสลติกะ.

เพราะปรารภวิจิกิจฉา เพราะปรารภอุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัส ย่อม เกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ

๒. สังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐธรรม ด้วย อำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ พระอริยะทั้งหลาย พิจารณากิเลสที่ละแล้ว กิเลสที่ข่มแล้ว กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน พิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็น สังกิลิฏฐธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ

บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่เป็นสังกิลิฏฐธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ, แก่ยถากัมมูปคญาณ, แก่อนาคตังสญาณ, แก่ อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

๓. อสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

 
  ข้อความที่ 12  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 580

คือ ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ กุศลกรรมที่เคย สั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ ออกจากฌาน.

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค แล้วพิจารณามรรค ฯลฯ เป็น ปัจจัยแก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น อสังกิลิฏฐธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ

เห็นรูปด้วยจักษุ ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

๔. อสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐธรรม ด้วย อำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือบุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ ออกจากฌาณ ฯลฯ

ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นอสังกิลิฏฐธรรม เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

๓. อธิปติปัจจัย

[๕๒๕] ๑. สังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐธรรม ด้วย อำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

 
  ข้อความที่ 13  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 581

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำราคะให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำราคะนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลกระทำทิฏฐิให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมยินดี ย่อม เพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำทิฏฐินั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ ย่อม เกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๒. อสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้ง หลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๓. สังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐธรรม และ อสังกิลิฏฐธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 14  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 582

๔. อสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ กุศลกรรมที่ได้สั่งสมไว้แล้ว ในกาลก่อน ฯลฯ ออกจากฌาน กระทำฌานนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา.

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่น แล้วพิจารณา ฯลฯ

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่ผล ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย. ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นอสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๕. อสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ กุศลกรรมที่สั่งสม ไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ

 
  ข้อความที่ 15  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 583

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอสังกิลิฏฐธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้น กระทำทานเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

๔. อนันตรปัจจัย

[๕๒๖] ๑. สังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐธรรม ด้วย อำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสังกิลิฏฐธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสังกิลิฏฐธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๒. สังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วย อำนาจของอนันตรปัจจัย.

๓. อสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอสังกิลิฏฐธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัย แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอสังกิลิฏฐธรรม ที่เกิดหลังๆ ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ผล สมาบัติ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๔. อสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

 
  ข้อความที่ 16  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 584

คือ อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสังกิลิฏฐธรรม ด้วย อำนาจของอนันตรปัจจัย.

๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ.

๙. อุปนิสสยปัจจัย

[๕๒๗] ๑. สังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐธรรม ด้วย อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลเข้าไปอาศัยราคะ แล้วฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

บุคคลเข้าไปอาศัยโทสะ ฯลฯ ความปรารถนา แล้วฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ราคะ ฯลฯ แก่ความ ปรารถนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 17  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 585

๒. สังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยราคะแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.

ราคะ ฯลฯ ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่ศรัทธา แก่ปัญญา แก่สุข ทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๓. อสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้วให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย อุตุ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ แล้วให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.

ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๔. อสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

 
  ข้อความที่ 18  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 586

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้ว ฯลฯ ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย อุตุ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ราคะ ฯลฯ แก่ความปรารถนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย

[๕๒๘] ๑. อสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ ฯลฯ

๒. อสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ ฯลฯ

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย

[๕๒๙] ๑. สังกิลิฏฐธรรมเป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐธรรม ด้วย อำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ

๒. อสังกิลิฏฐธรรมเป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐธรรมด้วย อำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ

 
  ข้อความที่ 19  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 587

๑๒. อาเสวนปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ.

๑๓. กัมมปัจจัย

[๕๓๐] ๑. สังกิลิฏฐธรรมเป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐธรรม ด้วย อำนาจของกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๒. สังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ และกฏัตตารูป ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

พึงถามถึงมูล (วาระที่ ๓)

เจตนาที่เป็นสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 20  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 588

๔. อสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นอสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นอสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ และกฏัตตารูป ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๑๔. วิปากปัจจัย

[๕๓๑] อสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐธรรม ด้วย อำนาจของวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ.

๑๕. อาหารปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย

[๕๓๒] ๑. สังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐธรรม ด้วย อำนาจของอาหารปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย

 
  ข้อความที่ 21  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 589

๒๐. วิปปยุตตปัจจัย

[๕๓๓] ๑. สังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

๒. อสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

๓. อสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสังกิลิฏฐธรรม ด้วยอำนาจ ของวิปปยุตตปัจจัย.

๒๑. อัตถิปัจจัย

[๕๓๔] ๑. สังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐธรรม ด้วย อำนาจของอัตถิปัจจัย

๒. สังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

๓. สังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐธรรม อสังกิลิฏฐธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย เหมือนกับปฏิจจวาระ

 
  ข้อความที่ 22  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 590

๔. อสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และ อินทริยะ

๕. อสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ

๖. สังกิลิฏฐธรรม และอสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัย แก่อสังกิลิฏฐธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่เป็นสังกิลิฏฐธรรม และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

๗. สังกิลิฏฐธรรม และอสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัย แก่อสังกิลิฏฐธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และรวมกับ อินทริยะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสังกิลิฏฐธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัย แก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่

 
  ข้อความที่ 23  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 591

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสังกิลิฏฐธรรม ที่เกิดภายหลัง และกวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อินทริยะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสังกิลิฏฐธรรม ที่เกิดภายหลัง และรูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

๒๒. นัตถิปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนัตถิปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิคตปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๕๓๕] ในเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๘ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ ใน นิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ ใน กัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๔ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๔ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๔ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๔ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัตถิ- ปัจจัย มี ๗ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ ใน อวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.

 
  ข้อความที่ 24  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 592

ปัจจนียนัย

การยกปัจจัยในปัจจนียะ

[๕๓๖] ๑. สังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐธรรม ด้วย อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๒. สังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐธรรม ด้วย อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ ปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๓. สังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐธรรม และ อสังกิลิฏฐธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.

๔. อสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย อำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

๕. อสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐธรรม ด้วย อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 25  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 593

๖. สังกิลิฏฐธรรม และอสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่ สังกิลิฏธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ ของปุเรชาตปัจจัย.

๗. สังกิลิฏฐธรรม และอสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัย แก่อสังกิลิฏฐธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย อำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๕๓๗] ในนเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในนสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ ในนนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ใน นปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ฯลฯ ในนมัคคปัจจัย มี ๗ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๔ วาระ ในโนอัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ ในโนอวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ.

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๕๓๘] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ ... ใน นอธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในสมนันตร-

 
  ข้อความที่ 26  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 594

ปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ.

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๕๓๙] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ ... ใน อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ พึงกระทำอนุโลมมาติกา ในอวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.

สังกิลิฏฐทุกะ จบ