พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย

๘๓. ทัสสนทุกะ

 
บ้านธัมมะ
วันที่  28 ก.พ. 2565
หมายเลข  42327
อ่าน  357

[เล่มที่ 89] พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕

พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๗

ปัฏฐาน ภาคที่ ๕

อนุโลมทุกปัฏฐาน (ต่อ)

๘๓. ทัสสนทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย 614

๑. เหตุปัจจัย 562/614

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 563/615

ปัจจนียนัย 616

๑. นเหตุปัจจัย 564/616

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 565/616

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย 617

๑. เหตุปัจจัย 566/617

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 567/618

ปัจจนียนัย 619

๑. นเหตุปัจจัย 568/619

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 569/620

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย 621

๑. เหตุปัจจัย 570/621

ปัจจนียนัย 621

๑. นเหตุปัจจัย 572/621

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 573/622

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย 622

๑. เหตุปัจจัย 574/622

๒. อารัมมณปัจจัย 575/623

๓. อธิปติปัจจัย 576/626

๔. อนันตรปัจจัย 577/628

๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย 629

๙. อุปนิสสยปัจจัย 578/629

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย 579/632

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย 580/633

๑๒. อาเสวนปัจจัย 633

๑๓. กัมมปัจจัย 581/634

๑๔. วิปากปัจจัย 582/635

๑๕. อาหารปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย 635

๒๐. วิปปยุตตปัจจัย 583/635

๒๑. อัตถิปัจจัย 584/636

๒๒. นัตถิปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย 638

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 585/638

ปัจจนียนัย 639

การยกปัจจัยในปัจจนียะ 586/639

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 587/640

อนุโลมปัจจนียนัย 641

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 588/641

ปัจจนียานุโลมนัย 641

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 589/641


อ่านหัวข้ออื่นๆ ... [เล่มที่ 89]


  ข้อความที่ 1  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 614

๘๓. ทัสสนทุกะ (๑)

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๕๖๒] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัย ขันธ์ ๒.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัย ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม.

๓. ทัสสเนนปหาตัพพธรรมและธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยธรรม ที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย


๑. ม. ทัสสเนนปหาตัพพทุกะ.

 
  ข้อความที่ 2  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 615

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

๕. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัย ทัสสเนนปหาตัพพธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๕๖๓] ในเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ ใน อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ ใน นิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๕ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๕ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.

 
  ข้อความที่ 3  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 616

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๕๖๔] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย วิจิกิจ.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยธรรม ที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ซึ่งเป็น อเหตุกะ ฯลฯ

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์, โมหะ ที่สหรคต ด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๕๖๕] ในนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ. ในนสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ใน นอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

การนับทั้งสองนัยนอกนี้ก็ดี สหชาตวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.

 
  ข้อความที่ 4  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 617

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๕๖๖] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ ๔. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปทาตัพพธรรม อาศัยธรรม ที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒. ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ตลอดถึงอัชฌัตติกมหาภูตรูป, ขันธ์ทั้งหลายที่ ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

๕. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยหทยวัตถุ. ๖. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยหทยวัตถุ, จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

 
  ข้อความที่ 5  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 618

๗. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม และ หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

๘. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรมและธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๙. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม และ หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๕๖๗] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

 
  ข้อความที่ 6  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 619

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๕๖๘] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิกิจฉา อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคต ด้วยวิจิกิจฉา.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยธรรม ที่ไม่ใช่ทัสสเนนปทาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์. จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ.

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ อาศัย หทยวัตถุ.

โมหะ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย อุทธัจจะ.

โมหะ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยหทยวัตถุ.

๓. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา อาศัยหทยวัตถุ.

 
  ข้อความที่ 7  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 620

๔. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย วิจิกิจฉา และหทยวัตถุ.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๕๖๙] ในนเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัยมี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ใน นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

การนับทั้งสองนัยนอกนี้ก็ดี นิสสยวาระก็ดี พึงกระทำ.

 
  ข้อความที่ 8  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 621

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๕๗๐] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เจือกับทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย ฯลฯ ๒. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เจือกับ ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๕๗๑] ในเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๕๗๒] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เจือกับทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา เจือกับขันธ์ทั้งหลายที่สหรคต ด้วยวิจิกิจฉา.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เจือกับธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย ฯลฯ

 
  ข้อความที่ 9  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 622

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๕๗๓] ในนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ ใน นปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ.

การนับทั้งสองนัยนอกนี้ก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้

 
  ข้อความที่ 10  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 623

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๕๗๔] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ. ๔. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย แก่ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

คือ เหตุทั้งหลายที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย. ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. อารัมมณปัจจัย

[๕๗๕] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เพราะปรารภราคะนั้น ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ โทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งทิฏฐิที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เพราะปรารภทิฏฐินั้น ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ย่อม

 
  ข้อความที่ 11  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 624

เกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ โทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น. เพราะปรารภวิจิกิจฉา วิจิกิจฉา ย่อมเกิดขึ้น, ทิฏฐิ ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น

เพราะปรารภโทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม โทมนัสที่เป็น ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น, วิจิกิจฉา ย่อม เกิดขึ้น.

๒. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลส ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม แล้ว ฯลฯ กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน. เห็นแจ้งซึ่งขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม โดยความ เป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ

รู้แจ้งซึ่งจิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วย อำนาจของอารัมมณปัจจัย.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย แก่ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

 
  ข้อความที่ 12  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 625

คือ ให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ กระทำอุโบสถกรรม แล้วพิจารณากุศลกรรมนั้น ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภกุศลกรรมนั้น ราคะ ที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น โทมนัสที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

พิจารณากุศลกรรมที่ได้สั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค แล้วพิจารณามรรค ฯลฯ เป็นปัจจัย แก่ผล แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว ที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม พิจารณากิเลสที่ข่มแล้ว พิจารณากิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วใน กาลก่อน.

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ ทัสสเนนปหาตัพพธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อม เพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัสที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย แก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

 
  ข้อความที่ 13  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 626

คือให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ กุศลกรรมที่เคยสั่งสม ไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิด เพลินยิ่ง ซึ่งขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เพราะปรารภจักษุ เป็นต้นนั้น ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ โทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

๓. อธิปติปัจจัย

[๕๗๖] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำราคะ ที่เป็น ทัสสเนนปหาตัพพธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำราคะนั้น ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำทิฏฐิให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่น ฯลฯ

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 14  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 627

๒. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๓. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วย อำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย แก่ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ กุศลกรรมที่ได้ สั่งสมไว้ในกาลก่อน ฯลฯ ออกจากฌานแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งฌาน เพราะกระทำทานเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่ ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรคแล้ว กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่น ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ผล ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น

 
  ข้อความที่ 15  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 628

ครั้นกระทำจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะที่ไม่ใช่ ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรมเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย แก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลให้ทาน ฯลฯ ฌาน ฯลฯ

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรมให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่น ครั้นกระทำทานเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

๔. อนันตรปัจจัย

[๕๗๗] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วย อำนาจของอนันตรปัจจัย.

๒. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

 
  ข้อความที่ 16  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 629

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏ- ฐานะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๓)

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ที่เกิดก่อนๆ ฯลฯ เป็น ปัจจัยแก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๔)

อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ

๙. อุปนิสสยปัจจัย

[๕๗๘] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม แล้วฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

 
  ข้อความที่ 17  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 630

บุคคลเข้าไปอาศัยโทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ โมหะ ฯลฯ ทิฏฐิ ฯลฯ ความปรารถนา แล้วฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัย แก่ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ แก่ความปรารถนา ด้วยอำนาจ ของอุปนิสสยปัจจัย.

๒. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม แล้วให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิด.

บุคคลเข้าไปอาศัยโทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ โมหะ ฯลฯ ทิฏฐิ ฯลฯ ความปรารถนา แล้วให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.

ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัย แก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ปัญญา แก่ราคะที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม แก่โทสะ แก่โมหะ แก่มานะ แก่ความปรารถนา แก่สุขทางกาย แก่ผลสมาบัติ ด้วย อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย แก่ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

 
  ข้อความที่ 18  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 631

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้วให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิด ก่อมานะ.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม โทสะ โมหะ มานะ ความปรารถนา สุขทางกาย ฯลฯ เสนาสนะแล้วให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิด ก่อมานะ.

ศรัทธา ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ สุขทางกาย ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ปัญญา ฯลฯ แก่ราคะที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ แก่ความ ปรารถนา แก่สุขทางกาย แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย แก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธา ฯลฯ ถือทิฏฐิ.

เข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ เข้าไปอาศัยราคะที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ โทสะ โมหะ มานะ ความปรารถนา สุขทางกาย ฯลฯ เสนาสนะ แล้วฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

 
  ข้อความที่ 19  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 632

ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม แก่โทสะ แก่โมหะ แก่ทิฏฐิ แก่ความปรารถนา ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย.

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย

[๕๗๙] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย แก่ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่ไม่ ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัสที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กาย วิญญาณ.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ.

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 20  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 633

๒. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย แก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ โทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ย่อม เกิดขึ้น.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย

[๕๘๐] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย แก่ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ

๑๒. อาเสวนปัจจัย

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ.

 
  ข้อความที่ 21  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 634

๑๓. กัมมปัจจัย

[๕๘๑] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๒. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ และ กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๓. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปาตัพพธรรม ด้วย อำนาจของกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย แก่ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

 
  ข้อความที่ 22  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 635

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ และ กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๑๔. วิปากปัจจัย

[๕๘๒] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย แก่ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ

๑๕. อาหารปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย มี ๔ วาระ.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย มี ๔ วาระ.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย มี ๔ วาระ.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย มี ๔ วาระ.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ.

๒๐. วิปปยุตตปัจจัย

[๕๘๓] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

 
  ข้อความที่ 23  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 636

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย แก่ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

๓. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย แก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๒๑. อัตถิปัจจัย

[๕๘๔] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย เหมือนกับปฏิจจวาระ.

๒. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

๓. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วย อำนาจของอัตถิปัจจัย เหมือนกับปฏิจจวาระ.

 
  ข้อความที่ 24  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 637

๔. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย แก่ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอํานาจของอัตถิปัจจัย

มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และ อินทริยะ ฯลฯ

๕. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย แก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอํานาจของอัตถิปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

พิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ

ที่ย่อไว้เหมือนกับปุเรชาตปัจจัย.

๖. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วย อํานาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรมและหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๓ ด้วยอํานาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

๗. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอํานาจของอัตถิปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และรวมกับ อินทริยะ

 
  ข้อความที่ 25  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 638

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรมที่เกิดภายหลัง และกวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อินทริยะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรมที่เกิดภายหลัง และรูปชีวิ- ตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

๒๒. นัตถิปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนัตถิปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิคตปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๕๘๕] ในเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ

 
  ข้อความที่ 26  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 639

ในกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๔ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๔ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๔ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๔ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.

ปัจจนียนัย

การยกปัจจัยในปัจจนียะ

[๕๘๖] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย อำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๒. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็น ปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๓. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วย อำนาจของสหชาตปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย แก่ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณ-

 
  ข้อความที่ 27  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 640

ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ กัมมปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย อำนาจของอินทริยปัจจัย.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย แก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๖. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรมเป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจ ของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

๗. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ ปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๕๘๗] ในนเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในนสมนันตร-

 
  ข้อความที่ 28  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 641

ปัจจัย มี ๗ วาระ ในนสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ ในนนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ฯลฯ ในนมัคคปัจจัย มี ๗ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๔ วาระ ในโนอัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ.

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๕๘๘] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ ... ใน นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๔ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ใน นวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๕๘๙] เพราะเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ ใน อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ พึงกระทำอนุโลมมาติกา ในอวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.

ทัสสนทุกะ จบ