พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย

๘๕. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกทุกะ

 
บ้านธัมมะ
วันที่  28 ก.พ. 2565
หมายเลข  42329
อ่าน  372

[เล่มที่ 89] พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕

พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๗

ปัฏฐาน ภาคที่ ๕

อนุโลมทุกปัฏฐาน (ต่อ)

๘๕. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย 656

๑. เหตุปัจจัย 602/656

๒. อารัมมณปัจจัย 603/658

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 604/660

ปัจจนียนัย 660

๑. นเหตุปัจจัย 605/660

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 606/661

อนุโลมปัจจนียนัย 661

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 607/661

ปัจจนียานุโลมนัย 662

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 608/662

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย 663

๑. เหตุปัจจัย 609/663

๒. อารัมมณปัจจัย 610/665

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 611/667

ปัจจนียนัย 667

๑. นเหตุปัจจัย 612/667

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 613/668

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย 669

๑. เหตุปัจจัย 614/669

๒. อารัมมณปัจจัย 615/670

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 616/670

ปัจจนียนัย 671

๑. นเหตุปัจจัย 617/671

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 618/671

อนุโลมปัจจนียนัย 672

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 619/672

ปัจจนียานุโลมนัย 672

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 620/672

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย 673

๑. เหตุปัจจัย 621/673

๒. อารัมมณปัจจัย 622/674

๓. อธิปติปัจจัย 623/677

๔. อนันตรปัจจัย 624/679

๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย 682

๙. อุปนิสสยปัจจัย 625/682

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย 626/685

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย 627/687

๑๒. อาเสวนปัจจัย 687

๑๓. กัมมปัจจัย 628/687

๑๔. วิปากปัจจัย ฯลฯ ๒๐. วิปปยุตตปัจจัย 689

๒๑. อัตถิปัจจัย 629/689

๒๒. นัตถิปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย 691

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 630/691

ปัจจนียนัย 692

การยกปัจจัยในปัจจนียะ 631/692

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 632/694

อนุโลมปัจจนียนัย 695

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 633/695

ปัจจนียานุโลมนัย 695

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 634/695


อ่านหัวข้ออื่นๆ ... [เล่มที่ 89]


  ข้อความที่ 1  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 656

๘๕. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๖๐๒] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒. ๒. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัย ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม

๓. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัย ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

 
  ข้อความที่ 2  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 657

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยโมหะ ที่ สหรคตด้วยวิจิกิจฉา. ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ตลอดถึงอัชฌัตติกมหาภูตรูป.

๕. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา.

๖. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปทาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยโมหะที่สหรคต ด้วยวิจิกิจฉา.

๗. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

๘. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัย ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

 
  ข้อความที่ 3  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 658

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย. จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ.

๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุ ปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วย วิจิกิจฉา และโมหะ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

๒. อารัมมณปัจจัย

[๖๐๓] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัย ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย วิจิกิจฉา

 
  ข้อความที่ 4  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 659

๓. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และโมหะ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ฯลฯ ขันธ์ ๒.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัย ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๕. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัย โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา.

๖. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ฯลฯ

 
  ข้อความที่ 5  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 660

การนับจํานวนวาระในอนุโลม

[๖๐๘] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๖ วาระ ใน อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๖ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๖ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ ใน นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๖ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๖ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ใน วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๙ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๙ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๙ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๖ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๖ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๖๐๕] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัย ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย วิจิกิจฉา.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัย ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

 
  ข้อความที่ 6  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 661

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

โมหะ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ

[๖๐๖] ในนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ใน นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ใน โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๖๐๗] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ... ใน นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ฯลฯ ใน นวิปปยุตตปัจจัย มี ๔ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

 
  ข้อความที่ 7  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 662

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๖๐๘] เพราะเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ ... ใน อนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ ในวิปากปัจจัย ๑ วาระ ฯลฯ ในมัคคปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.

สหชาตวาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.

 
  ข้อความที่ 8  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 663

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๖๐๙] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัย ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ตลอดถึงอัชฌัตติกมหาภูตรูป. ขันธ์ทั้งหลาย ที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

๓. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยหทยวัตถุ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา.

๔. ทัสสเนนปทาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

 
  ข้อความที่ 9  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 664

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยโมหะ ที่สหรคต ด้วยวิจิกิจฉา.

๕. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒. ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัย ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และ โมหะ.

๗. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุ- ปัจจัย

 
  ข้อความที่ 10  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 665

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

๒. อารัมมณปัจจัย

[๖๑๐] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัย ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

เหมือนกับปฏิจจวาระ ฯลฯ อาศัยหทยวัตถุ ฯลฯ มี ๓ วาระ.

ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ ขันธ์ ทั้งหลายที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา อาศัยหทยวัตถุ.

๓. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

 
  ข้อความที่ 11  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 666

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยหทยวัตถุ, สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา.

๔. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ อาศัยหทยวัตถุ.

๕. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเทตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัย ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย วิจิกิจฉา และหทยวัตถุ.

๗. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ อารัมมณปัจจัย

 
  ข้อความที่ 12  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 667

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒

ขันธ์ ๓ และโมหะ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และ หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

การนับจํานวนวาระในอนุโลม

[๖๑๑] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๖๑๒] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัย ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย วิจิกิจฉา.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัย ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุ- ปัจจัย

คือ ฯลฯ อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ซึ่งเป็น อเหตุกะ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัยกายาตนะ.

 
  ข้อความที่ 13  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 668

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ อาศัยหทยวัตถุ.

โมหะ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย อุทธัจจะและหทยวัตถุ.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัย ธรรมที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย วิจิกิจฉา และหทยวัตถุ. ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๖๑๓] ในนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ใน นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ในนฌาน ปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

การนับทั้งสองนัยนอกนี้ก็ดี นิสสยวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.

 
  ข้อความที่ 14  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 669

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๖๑๔] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เจือกับทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑. ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เจือ กับธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุ- ปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๓. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เจือกับธรรมที่ไม่ ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เจือกับ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา. ๔. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เจือกับทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

 
  ข้อความที่ 15  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 670

๒. อารัมมณปัจจัย

[๖๑๕] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เจือกับทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เจือ กับธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ อารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

๓. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เจือกับธรรมที่ ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย เหมือนกับปฏิจจวาระ.

๔. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เจือกับทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย เหมือนกับปฏิจจวาระ.

ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๖๑๖] ในเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๖ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๖ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๖ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๖ วาระ.

 
  ข้อความที่ 16  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 671

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๖๑๗] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เจือ กับทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา เจือกับขันธ์ทั้งหลายที่สหรคต ด้วยวิจิกิจฉา.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เจือ กับธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้นเพราะนเหตุ ปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ โมหะ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ เจือกับ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

ปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๖๑๘] ในนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๖ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๖ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๖ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ.

 
  ข้อความที่ 17  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 672

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๖๑๙] เพราะเหตุปัจจัย ในนอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ... ในนปุเรชาตปัจจัยมี ๔ วาระ ฯลฯ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๔ วาระ.

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๖๒๐] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ ... ใน อนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระฯสฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.

สัมปยุตตวาระ เหมือนกับ สังสัฏฐวาระ.

 
  ข้อความที่ 18  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 673

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๖๒๑] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย. พึงกระทำมูล (วาระที่ ๒)

เหตุทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๓)

เหตุทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของ เหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 19  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 674

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๕)

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๖) โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๒. อารัมมณปัจจัย

[๖๒๒] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น. พึงกระทำมูล (วาระที่ ๒)

เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และโมหะ ย่อมเกิดขึ้น

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๓)

เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ย่อมเกิดขึ้น.

 
  ข้อความที่ 20  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 675

๔. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอํานาจของ อารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ กระทำอุโบสถกรรมแล้วพิจารณา กุศลกรรมนั้น ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภกุศลกรรมนั้น ราคะที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น, อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัสที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

กุศลกรรมที่ได้สั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค แล้วพิจารณามรรค ฯลฯ เป็น ปัจจัยแก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว ที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ กิเลสที่ข่มแล้ว ฯลฯ รู้กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาล ก่อน.

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และโมหะ โดยความเป็นของไม่เที่ยงฯฯะฯ ย่อม ยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัสที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ แก่โมหะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 21  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 676

๕. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น ปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลให้ทานแล้ว ฯลฯ ฌาน ฯลฯ

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ ทั้งหลายที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ โทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น ปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ เพราะปรารภจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และโมหะ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ย่อมเกิดขึ้น.

๗. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น. พึงกระทำมูล (วาระที่ ๘)

เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ขันธ์ ทั้งหลายที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และโมหะ ย่อมเกิดขึ้น.

 
  ข้อความที่ 22  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 677

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๙)

เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ.

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ย่อมเกิดขึ้น.

๓. อธิปติปัจจัย

[๖๒๓] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรมให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อม เกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๒. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 23  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 678

๓. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

๔. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของ อธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ กระทำอุโบสถกรรมแล้ว กระทำ กุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา ย่อมยินดี ย่อม เพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำกุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

พิจารณากุศลกรรมที่ได้สั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ จากฌาน ฯลฯ

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่น ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ผล ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 24  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 679

ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนัก แน่น ครั้นกระทำจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น ปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

ฯลฯ ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ กระทำอุโบสถกรรม ฯลฯ ฌาน ฯลฯ

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ ทั้งหลายที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำทานเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

๔. อนันตรปัจจัย

[๖๒๔] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 25  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 680

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๒)

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏ- ฐานะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๓)

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดหลังๆ และโมหะ ด้วยอำนาจของ อนันตรปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของ อนันตรปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็น ปัจจัยแก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๕)

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

 
  ข้อความที่ 26  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 681

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๖)

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดหลังๆ และโมหะ ด้วยอำนาจของ อนันตรปัจจัย,

อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และ โมหะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๗. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดก่อนๆ และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของ อนันตรปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๘)

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดก่อนๆ และโมหะ เป็น ปัจจัยแก่โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๙)

 
  ข้อความที่ 27  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 682

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดก่อนๆ และโมหะ เป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดหลังๆ และโมหะ ด้วย อำนาจของอนันตรปัจจัย

๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย มี ๖วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ.

๙. อุปนิสสยปัจจัย

[๖๒๕] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

ใน ๒ อย่างที่เหลือ เป็นอนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๒)

 
  ข้อความที่ 28  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 683

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และโมหะ ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๓)

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้วให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิด ก่อมานะ.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา ราคะที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม โทสะ โมหะ มานะ ความปรารถนา สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย ฯลฯ เสนาสนะ แล้วให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.

ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา แก่ปัญญา แก่ราคะ ที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ แก่ความปรารถนา แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 29  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 684

๕. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น ปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธา ฯลฯ ถือทิฏฐิ.

บุคคลเข้าไปอาศัย ศีล ฯลฯ ปัญญา ราคะที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม โทสะ โมหะ มานะ ความปรารถนา สุขทางกาย ทุกข์- ทางกาย ฯลฯ เสนาสนะ แล้วฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม แก่โทสะ แก่โมหะ แก่ทิฏฐิ แก่ความปรารถนา ด้วยอำนาจ ของอุปนิสสยปัจจัย.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น ปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

ศรัทธา ฯลฯ ปัญญา ราคะที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม โทสะ โมหะ มานะ ความปรารถนา สุขทางกาย ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัย

 
  ข้อความที่ 30  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 685

แก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๗. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกจฉา และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๘)

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และโมหะ ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๙)

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย

[๖๒๖] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของ ปุเรชาตปัจจัย

 
  ข้อความที่ 31  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 686

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่ ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัสที่ ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฯลฯ.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ฯลฯ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุธรรม เป็น ปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ เพราะ ปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ฯลฯ

๓. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น ปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนน ปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

 
  ข้อความที่ 32  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 687

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

พิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ เพราะปรารภหทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่ สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ฯลฯ

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย

[๖๒๗] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของ ปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ

๓. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ

๑๒. อาเสวนปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย

๑๓. กัมมปัจจัย

[๖๒๘] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

 
  ข้อความที่ 33  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 688

คือ เจตนาที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๒)

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน รูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๓. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของ กัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

 
  ข้อความที่ 34  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 689

เจตนาที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๑๔. วิปากปัจจัย ฯลฯ ๒๐. วิปปยุตตปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ.

๒๑. อัตถิปัจจัย

[๖๒๙] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๑ - ๒ - ๓)

 
  ข้อความที่ 35  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 690

๔. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของ อัตถิปัจจัย

มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และ อินทริยะ ฯลฯ

๕. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น ปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ ฯลฯ

๖. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น ปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

๗. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ฯลฯ

ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และหทยวัตถุ เป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ

 
  ข้อความที่ 36  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 691

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ

๘. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และ อินทริยะ ฯลฯ

๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจ ของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

๒๒. อัตถิปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนัตถิปัจจัย.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิคตปัจจัย.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๖๓๐] ในเหตุปัจจัย มี ๖ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย

 
  ข้อความที่ 37  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 692

มี ๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๔ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๔ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๔ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๔ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

การยกปัจจัยในปัจจนียะ

[๖๓๑] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๒. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 38  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 693

๓. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ สหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของ อารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอํานาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย อำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็น ปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น ปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ ของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น ปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย อำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 39  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 694

๗. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ สหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๘. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย อำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจ ของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็น ปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ

[๖๓๒] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในโนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

 
  ข้อความที่ 40  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 695

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๖๓๓] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๖ วาระ ... ใน นอธิปติปัจจัย มี ๖ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๖ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๖ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๖ วาระ ฯลฯ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๖ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๖ วาระ.

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๖๓๔] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ... ใน อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ อนุโลมมาติกา พึงให้พิสดาร ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกทุกะ จบ