พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย

๘๙. สัปปีติกทุกะ

 
บ้านธัมมะ
วันที่  28 ก.พ. 2565
หมายเลข  42333
อ่าน  395

[เล่มที่ 89] พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕

พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๗

ปัฏฐาน ภาคที่ ๕

อนุโลมทุกปัฏฐาน (ต่อ)

๘๙. สัปปีติกทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนีนัย 749

๑. เหตุปัจจัย 672/749

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 673/750

ปัจจนียนัย 750

๑. นเหตุปัจจัย 674/750

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 675/753

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย 754

๑. เหตุปัจจัย 676/754

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 677/754

ปัจจนียนัย 754

๑. นเหตุปัจจัย 678/754

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 679/755

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย 756

๑. เหตุปัจจัย 680/756

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 681/756

ปัจจนียนัย 756

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 682/756

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย 757

๑. เหตุปัจจัย 683/757

๒. อารัมมณปัจจัย 684/758

๓. อธิปติปัจจัย 685/762

๔. อนันตรปัจจัย 686/766

๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย 770

๙. อุปนิสสยปัจจัย 687/770

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย 688/774

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย 689/776

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 690/777

ปัจจนียนัย 777

การยกปัจจัยในปัจจนียะ 691/777


อ่านหัวข้ออื่นๆ ... [เล่มที่ 89]


  ข้อความที่ 1  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 749

๘๙. สัปปีติกทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๖๗๒] ๑. สัปปีติกธรรม อาศัยสัปปีติกธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสัปปีติกธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒. ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. อัปปีติกธรรม อาศัยสัปปีติกธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย

คือ ปีติ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นสัปปีติกธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๓. สัปปีติกธรรม และอัปปีติกธรรม อาศัยสัปปีติกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓, ปีติ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น สัปปีติกธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๔. อัปปีติกธรรม อาศัยอัปปีติกธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย

 
  ข้อความที่ 2  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 750

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปีติกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒, จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยปีติ.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปีติกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

กฏัตตารูป อาศัยปีติ.

หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

หทยวัตถุ อาศัยปีติ, ปีติ อาศัยหทยวัตถุ.

มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

พึงทำสัปปีติกทุกะ เหมือนกับสวิตักกทุกะ ในที่ทั้งปวง.

ในปัจจัยทั้งปวง ปวัตติ ปฏิสนธิ มี ๙ วาระ.

การนับจํานวนวาระในอนุโลม

[๖๗๓] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ใน อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๖๗๔] ๑. สัปปีติกธรรม อาศัยสัปปีติกธรรม เกิดขึ้น เพราะ นเหตุปัจจัย

 
  ข้อความที่ 3  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 751

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสัปปีติกธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

๒. อัปปีติกธรรม อาศัยสัปปีติกธรรม เกิดขึ้น เพราะ นเหตุปัจจัย

คือ ปีติและจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ.

๓. สัปปีติกธรรม และอัปปีติกธรรม อาศัยสัปปีติกธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสัปปีติกธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

๔. อัปปีติกธรรม อาศัยอัปปีติกธรรม เกิดขึ้น เพราะ นเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปีติกธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยปีติ.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น อัปปีติกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๒.

หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

อาศัยมหาภูตรูป ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

 
  ข้อความที่ 4  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 752

๕. สัปปีติกธรรม อาศัยอัปปีติกธรรม เกิดขึ้น เพราะ นเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม อาศัยปีติ ซึ่งเป็นอเหตุกะ.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๖).

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยปีติ.

๗. สัปปีติกธรรม อาศัยสัปปีติกธรรม และอัปปีติกธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสัปปีติกธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ และปีติ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

๘. อัปปีติกธรรม อาศัยสัปปีติกธรรม และอัปปีติกธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม ซึ่ง เป็นอเหตุกะ และปีติ.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม ซึ่งเป็น อเหตุกะ และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๙. สัปปีติกธรรม และอัปปีติกธรรม อาศัยสัปปีติกธรรม และอัปปีติกธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสัปปีติกธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ และปีติ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสัปปีติกธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ และ ปีติ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

 
  ข้อความที่ 5  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 753

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม ซึ่งเป็น อเหตุกะ, ปีติ และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๖๗๕] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ใน นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ใน นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

การนับทั้งสองนัยนอกนี้ก็ดี สหชาตวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.

 
  ข้อความที่ 6  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 754

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๖๗๖] ๑. สัปปีติกธรรม อาศัยสัปปีติกธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย ฯลฯ

ปวัตติ ปฏิสนธิ เหมือนกับอนุโลมปัจจยวาระ ในสวิตักกทุกะ มี ๙ วาระ บริบูรณ์. ปีติ ไม่มีแตกต่างกัน.

การนับจํานวนวาระในอนุโลม

[๖๗๗] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๖๗๘] ๑. สัปปีติกธรรม อาศัยสัปปีติกธรรม เกิดขึ้น เพราะ นเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.

๒. อัปปีติกธรรม อาศัยอัปปีติกธรรม เกิดขึ้น เพราะ นเหตุปัจจัย

พึงทำปวัตติ ปฏิสนธิ เหมือนกับปฏิจจวาระตลอดถึงอสัญญสัตว์.

 
  ข้อความที่ 7  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 755

จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปีติกธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ และปีติ อาศัย หทยวัตถุ.

โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และหทยวัตถุ.

มี ๙ วาระ เหมือนกับอนุโลม, เป็นปวัตติเท่านั้น, ปฏิสนธิ ไม่มี, โมหะ มี ๑ นัยเท่านั้น.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๖๗๙] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

การนับทั้งสองนัยนอกนี้ก็ดี นิสสยวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.

 
  ข้อความที่ 8  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 756

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๖๘๐] ๑. สัปปีติกธรรม เจือกับสัปปีติกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๖๘๑] ในเหตุปัจจัย มี ๖ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๖ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๖ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๖ วาระ.

ปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๖๘๒] ในนเหตุปัจจัย มี ๖ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๖ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๖ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๖ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๖ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ.

การนับทั้งสองนัยนอกนี้ก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.

 
  ข้อความที่ 9  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 757

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๖๘๓] ๑. สัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปีติกธรรม ด้วย อำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. สัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปีติกธรรม ด้วย อำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๓)

เหตุทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย, ปีติ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๕. อัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปีติกธรรม ด้วย อำนาจของเหตุปัจจัย

 
  ข้อความที่ 10  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 758

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. อารัมมณปัจจัย

[๖๘๔] ๑. สัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปีติกธรรม ด้วย อำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นสัปปีติกธรรม ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นสัปปีติกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๒)

เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น อัปปีติกธรรม และปีติ ย่อมเกิดขึ้น.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๓)

เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น สัปปีติกธรรม และปีติ ย่อมเกิดขึ้น.

๔. อัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปีติกธรรม ด้วย อำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลให้ทาน ด้วยจิตที่เป็นอัปปีติกธรรม ศีล ฯลฯ กระทำ อุโบสถกรรมแล้ว พิจารณาด้วยจิตที่เป็นอัปปีติกธรรมแล้ว ย่อมยินดี ย่อม เพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภกุศลกรรมนั้น ราคะที่เป็นอัปปีติกธรรม ย่อม เกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น วิจิกิจฉา ย่อมเกิดขึ้น โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

 
  ข้อความที่ 11  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 759

บุคคลออกจากฌานที่เป็นอัปปีติกธรรม ฯลฯ ออกจากมรรค ฯลฯ ออกจากผล แล้วพิจารณาผล ด้วยจิตที่เป็นอัปปีติกธรรม.

พระอริยะทั้งหลาย พิจารณานิพพาน ด้วยจิตที่เป็นอัปปีติกธรรม.

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภูที่เป็นอัปปีติกธรรม, แก่โวทาน, แก่ มรรค, แก่ผล แก่อาวัชชนะ, และแก่ปีติ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

พระอริยะทั้งหลาย พิจารณากิเลสที่ละแล้ว ที่เป็นอัปปีติกธรรม กิเลส ที่ข่มแล้ว ฯลฯ กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน ฯลฯ ด้วยจิตที่เป็น อัปปีติกธรรม.

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปีติก-- ธรรม และปีติ ด้วยจิตที่เป็นอัปปีติกธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะ ที่เป็น อัปปีติกธรรม ย่อมเกิดขึ้น โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฯลฯ

โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ และแก่ปีติ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปีติกธรรม และปีติ ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นอัปปีติกธรรม และปีติ ย่อมเกิดขึ้น.

 
  ข้อความที่ 12  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 760

๕. อัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปีติกธรรม ด้วย อำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลให้ทานด้วยจิตที่เป็นอัปปีติกธรรม ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ แล้วพิจารณาด้วยจิตที่เป็นสัปปีติกธรรม ย่อมยินดี ย่อม เพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภกุศลกรรมนั้น ราคะที่เป็นสัปปีติกธรรม ย่อม เกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลออกจากฌานที่เป็นอัปปีติกธรรม ฯลฯ ออกจากมรรค ฯลฯ ออกจากผล แล้วพิจารณาผล ด้วยจิตที่เป็นสัปปีติกธรรม.

พระอริยะทั้งหลาย พิจารณานิพพาน ด้วยจิตที่เป็นสัปปีติกธรรม.

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู ที่เป็นสัปปีติกธรรม, แก่โวทาน, แก่ มรรค, แก่ผล ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

พระอริยะทั้งหลาย พิจารณากิเลสที่ละแล้ว ที่เป็นอัปปีติกธรรม กิเลส ที่ข่มแล้ว ฯลฯ กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน ฯลฯ ด้วยจิตที่เป็น สัปปีติกธรรม.

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปีติกธรรม และปีติ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ด้วยจิตที่เป็นสัปปีติกธรรม ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่เป็นสัปปีติกธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปีติกธรรม และปีติ ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นสัปปีติกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

 
  ข้อความที่ 13  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 761

๖. อัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปีติกธรรม และ อัปปีติกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลให้ทานด้วยจิตที่เป็นอัปปีติกธรรม ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ แล้วพิจารณาด้วยจิตที่เป็นสัปปีติกธรรม ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภกุศลกรรมนั้น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม และปีติ ย่อม เกิดขึ้น.

บุคคลออกจากฌานที่เป็นอัปปีติกธรรม ฯลฯ พระอริยะทั้งหลายออก จากมรรค ฯลฯ ออกจากผลแล้ว พิจารณาผล ด้วยจิตที่เป็นสัปปีติกธรรม.

พระอริยะทั้งหลาย พิจารณานิพพานด้วยจิตที่เป็นสัปปีติกธรรม.

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, ที่เป็นสัปปีติกธรรม แก่โวทาน, แก่ มรรค, แก่ผล, และแก่ปีติ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว ที่เป็นอัปปีติกธรรม, กิเลส ที่ข่มแล้ว ฯลฯ กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน ฯลฯ ด้วยจิตที่เป็น สัปปีติกธรรม.

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม และปีติ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ด้วยจิตที่เป็นสัปปีติกธรรม ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่เป็น สัปปีติกธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปีติกธรรม และปีติ ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นสัปปีติกธรรม และปีติ ย่อมเกิดขึ้น.

 
  ข้อความที่ 14  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 762

๗. สัปปีติกธรรม และอัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัปปีติกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม และปีติ ขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม ย่อมเกิดขึ้น. พึงกระทำมูล (วาระที่ ๘)

เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม และปีติ ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นอัปปีติกธรรม และปีติ ย่อมเกิดขึ้น.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๙)

เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม และปีติ ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นสัปปีติกธรรม และปีติ ย่อมเกิดขึ้น.

๓. อธิปติปัจจัย

[๖๘๕] ๑. สัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปีติกธรรม ด้วย อำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรมให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นสัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 15  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 763

๒. สัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปีติกธรรม ด้วย อำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรมให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปีติกธรรม และปีติ ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นสัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติ และจิตตสมุฏฐาน รูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๓. สัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปีติกธรรม และ อัปปีติกธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรมให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม และปีติ ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นสัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย, ปีติ และจิตตสมุฏกฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๔. อัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปีติกธรรม ด้วย อำนาจของอธิปติปัจจัย

 
  ข้อความที่ 16  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 764

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลให้ทานด้วยจิตที่เป็นอัปปีติกธรรม ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ กระทำกุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ด้วยจิตที่เป็นอัปปีติกธรรมแล้ว พิจารณา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำกุศลกรรม นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่เป็นอัปปีติกธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลออกจากฌานที่เป็นอัปปีติกธรรม ฯลฯ ออกจากมรรค ฯลฯ ออกจากผล กระทำผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ด้วยจิตที่เป็นอัปปีติกธรรมแล้ว พิจารณา.

พระอริยะทั้งหลาย กระทำนิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ด้วย จิตที่เป็นอัปปีติกธรรมแล้ว พิจารณา.

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภูที่เป็นอัปปีติกธรรม แก่โวทาน, แก่ มรรค, แก่ผล ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปีติกธรรม และปีติให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ด้วย จิตที่เป็นอัปปีติกธรรม ครั้นกระทำจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่นแล้ว ราคะที่เป็นอัปปีติกธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ

เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปีติกธรรม และปีติให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปีติกธรรม และปีติ ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

 
  ข้อความที่ 17  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 765

อธิปติธรรมที่เป็นอัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๕. อัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปีติกธรรม ด้วย อำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลให้ทานด้วยจิตที่เป็นอัปปีติกธรรม ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ

อธิปติ ฯลฯ นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภูที่เป็นสัปปีติกธรรม แก่ โวทาน แก่มรรค แก่ผล ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปีติกธรรม และปีติให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ด้วย จิตที่เป็นสัปปีติกธรรม ครั้นกระทำจักษุเป็นต้นนั้น ให้เป็นอารมณ์อย่างหนัก แน่นแล้ว ราคะที่เป็นสัปปีติกธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ

เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปีติกธรรม และปีติให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

๖. อัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปีติกธรรม และ อัปปีติกธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลให้ทาน ด้วยจิตที่เป็นอัปปีติกธรรม ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม แล้วพิจารณาด้วยจิตที่เป็นสัปปีติกธรรม.

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภูที่เป็นสัปปีติกธรรม แก่โวทาน แก่ มรรค แก่ผล และแก่ปีติ ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 18  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 766

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปีติกธรรม และปีติให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ด้วย จิตที่เป็นอัปปีติกธรรม ครั้นกระทำจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่นแล้ว ราคะที่เป็นสัปปีติกธรรม ย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปีติกธรรม และปีติให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม และปีติ ย่อมเกิดขึ้น.

๗. สัปปีติกธรรม และอัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัปปีติกธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

คือ เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม และปีติให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๘)

เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม และปีติให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปีติกธรรม และปีติ ย่อมเกิดขึ้น.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๙)

เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม และปีติให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม และปีติ ย่อมเกิดขึ้น.

๔. อนันตรปัจจัย

[๖๘๖] ๑. สัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปีติกธรรม ด้วย อำนาจของอนันตรปัจจัย

 
  ข้อความที่ 19  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 767

คือ ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นสัปปีติกธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นสัปปีติกธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พึงกระทำมูล. (วาระที่ ๒)

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ปีติ ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

จุติจิต ที่เป็นสัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิต ที่เป็นอัปปีติกธรรม.

ภวังค์ ที่เป็นสัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะ.

ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นสัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ที่เป็นอัปปีติกธรรม.

วิบากมโนวิญญาณธาตุ ที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่กิริยามโนวิญญาณธาตุ.

ภวังค์ ที่เป็นสัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภวังค์ ที่เป็นอัปปีติกธรรม.

กุศลและอกุศล ที่เป็นสัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ที่เป็นอัปปีติกธรรม.

กิริยา เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ.

ผล เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พึงกระทำมูล. (วาระที่ ๓)

ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นสัปปีติกธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลาย ที่เป็นสัปปีติกธรรม ที่เกิดหลังๆ และปีติ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 20  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 768

๔. อัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปีติกธรรม ด้วย อำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ปีติ ที่เกิดก่อนๆ ที่เป็นอัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติ ที่เกิด หลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปีติกธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นอัปปีติกธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่ผลสมาบัติ ที่เป็นอัปปีติกธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พึงกระทำมูล. (วาระที่ ๕)

ปีติ ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นสัปปีติกธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

จุติจิต ที่เป็นอัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิต ที่เป็นสัปปีติกธรรม.

อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นสัปปีติกธรรม.

ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นอัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ที่เป็นสัปปีติกธรรม.

วิบากมโนธาตุ เป็นปัจจัยแก่วิบากมโนวิญญาณธาตุ ที่เป็นสัปปีติกธรรม.

ภวังค์ ที่เป็นอัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภวังค์ ที่เป็นสัปปีติกธรรม.

กุศลและอกุศล ที่เป็นอัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ที่เป็นสัปปีติกธรรม.

กิริยา เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ.

 
  ข้อความที่ 21  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 769

ผลเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

เนวสัญญานาสัญญายตนะของบุคคลผู้ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัยแก่ ผลสมาบัติที่เป็นสัปปีติกธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๖. อัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปีติกธรรม และ อัปปีติกธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ปีติ ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นสัปปีติกธรรม ที่เกิดหลังๆ และปีติ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๗. สัปปีติกธรรม และอัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัปปีติกธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นสัปปีติกธรรม ที่เกิดก่อนๆ และปีติ เป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นสัปปีติกธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของ อนันตรปัจจัย

๘. สัปปีติกธรรม และอัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่ อัปปีติกธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นสัปปีติกธรรม ที่เกิดก่อนๆ และปีติ เป็น ปัจจัยแก่ปีติ ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

จุติจิต ที่เป็นสัปปีติกธรรม และปีติ เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิต ที่เป็น อัปปีติกธรรม.

ภวังค์ที่เป็นสัปปีติกธรรม และปีติ เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะ.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม และปีติ เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ที่ เป็นอัปปีติกธรรม.

วิบากมโนวิญญาณธาตุ ที่เป็นสัปปีติกธรรม และปีติ เป็นปัจจัยแก่ กิริยามโนวิญญาณธาตุ.

 
  ข้อความที่ 22  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 770

ภวังค์ที่เป็นสัปปีติกธรรม และปีติ เป็นปัจจัยแก่ภวังค์ ที่เป็น อัปปีติกธรรม.

กุศลและอกุศล ที่เป็นอัปปีติกธรรม และปีติ เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ที่เป็นอัปปีติกธรรม.

กิริยาและปีติ เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ, ผลและปีติ เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๙. สัปปีติกธรรม และอัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัปปีติกธรรม และอัปปีติกธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นสัปปีติกธรรม ที่เกิดก่อนๆ และปีติ เป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นสัปปีติกธรรม ที่เกิดหลังๆ และปีติ ด้วยอำนาจ ของอนันตรปัจจัย.

๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ.

๙. อุปนิสสยปัจจัย

[๖๘๗] ๑. สัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปีติกธรรม ด้วย อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

 
  ข้อความที่ 23  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 771

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น สัปปีติกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น อัปปีติกธรรม และปีติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๓)

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น สัปปีติกธรรม และปีติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๔. อัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปีติกธรรม ด้วย อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นอัปปีติกธรรม แล้วให้ทาน ด้วยจิต ที่เป็นอัปปีติกธรรม ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ยังฌานที่เป็นอัปปีติกธรรม วิปัสสนา มรรค อภิญญา ฯลฯ สมาบัติให้เกิด ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นอัปปีติกธรรม ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ อภิญญา ราคะ โทสะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ ความปรารถนา สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย

 
  ข้อความที่ 24  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 772

อุตุ โภชนะ เสนาสนะ ปีติ แล้วให้ทาน ด้วยจิตที่เป็นอัปปีติกธรรม ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิด ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

ศรัทธาที่เป็นอัปปีติกธรรม ฯลฯ เสนาสนะ และปีติ เป็นปัจจัยแก่ ศรัทธาที่เป็นอัปปีติกธรรม แก่ความปรารถนา แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ ทางกาย แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ และแก่ปีติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๕. อัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปีติกธรรม ด้วย อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยปัจจัย ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นอัปปีติกธรรม แล้วให้ทาน ด้วยจิต ที่เป็นสัปปีติกธรรม ฯลฯ ออกจากฌานที่เป็นอัปปีติกธรรม ฯลฯ ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นอัปปีติกธรรม ฯลฯ เสนาสนะ ปีติ แล้ว ให้ทานด้วยจิตที่เป็นสัปปีติกธรรม ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิด.

บุคคลกระทำอทินนาทาน ด้วยจิตที่เป็นสัปปีติกธรรม ฯลฯ มุสาวาท ฯลฯ ปิสุณาวาท ฯลฯ สัมผัปปลาปวาท ฯลฯ ตัดช่องย่องเบา ฯลฯ ลอบขึ้น ไปลักทรัพย์ ฯลฯ ปล้นบ้านหลังหนึ่ง ฯลฯ ปล้นตามทาง ฯลฯ ทำผิดใน ภริยาผู้อื่น ฯลฯ ฆ่าคนในหมู่บ้าน ฯลฯ ฆ่าคนในนิคม ฯลฯ

ศรัทธาที่เป็นอัปปีติกธรรม ฯลฯ เสนาสนะ และปีติ เป็นปัจจัยแก่ ศรัทธาที่เป็นสัปปีติกธรรม ฯลฯ แก่ปัญญา แก่ราคะ แก่โมหะ แก่มานะ

 
  ข้อความที่ 25  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 773

แก่ทิฏฐิ แก่ความปรารถนา แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย.

๖. อัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปีติกธรรม และ อัปปีติกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

เป็น อุปนิสสยปัจจัย ทั้ง ๓ นัย คือ

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัธาที่เป็นอัปปีติกธรรม แล้วให้ทานด้วยจิต ที่เป็นสัปปีติกธรรม ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิด ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นอัปปีติกธรรม ฯลฯ เสนาสนะ ปีติ แล้ว ให้ทานด้วยจิตที่เป็นสัปปีติกธรรม ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิด ถือเอาของที่เขา ไม่ได้ให้ ด้วยจิตที่เป็นสัปปีติกธรรม.

เหมือนวาระที่ ๒

บุคคลกระทำการฆ่าคนในนิคม. ศรัทธาที่เป็นอัปปีติกธรรม ฯลฯ เสนาสนะ และปีติ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นสัปปีติกธรรม ฯลฯ แก่ปัญญา แก่ราคะ แก่โมหะ แก่มานะ แก่ทิฏฐิ แก่ความปรารถนา แก่มรรค แก่ ผลสมาบัติ และแก่ปีติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๗. สัปปีติกธรรม และอัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัปปีติกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

เป็น อุปนิสสยปัจจัย ทั้ง ๓ นัย คือ

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม และปีติ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นสัปปีติกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๘)

 
  ข้อความที่ 26  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 774

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม และปีติ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นอัปปีติกธรรม และปีติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๙)

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม และปีติ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นสัปปีติกธรรม และปีติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย

[๖๘๘] ๑. อัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปีติกธรรม ด้วย อำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ด้วยจิตที่เป็นอัปปีติกธรรม ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะ ปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่เป็นอัปปีติกธรรม ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น ปีติ ย่อมเกิดขึ้น.

เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัย แก่กายวิญญาณ.

 
  ข้อความที่ 27  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 775

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปีติกธรรม และแก่ ปีติ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๒. อัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปีติกธรรม ด้วย อำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ด้วยจิตที่เป็นสัปปีติกธรรม ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะ ปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่เป็นสัปปีติกธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม ด้วย อำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๓. อัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปีติกธรรม และ อัปปีติกธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ด้วยจิตที่เป็นสัปปีติกธรรม ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะ ปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ปีติและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

 
  ข้อความที่ 28  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 776

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม และปีติ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย

[๖๘๙] ๑. สัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปีติกธรรม ด้วย อำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอํานาจของอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย มี ๖ วาระ.

พึงกระทำทั้งสหชาตะ นานาขณิกะ นานาขณิกะ มี ๒ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย มี ๔ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย มี ๔ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย มี ๔ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ

พึงกระทำเหมือนกับสวิตักกทุกะ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

 
  ข้อความที่ 29  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 777

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๖๙๐] ในเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ใน อัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ใน อาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๖ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๔ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๔ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๙ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๔ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

การยกปัจจัยในปัจจนียะ

[๖๙๑] ๑. สัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปีติกธรรม ด้วย อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ กัมมปัจจัย.

๒. สัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปีติกธรรม ด้วย อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย,

 
  ข้อความที่ 30  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 778

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ ปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๓. สัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปีติกธรรม และ อัปปีติกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ ของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็น ปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๔. อัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปีติกธรรม ด้วย อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ ปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอํานาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

๕. อัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปีติกธรรม ด้วย อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ ปุเรชาตปัจจัย.

๖. อัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปีติกธรรม และ อัปปีติกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ ของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็น ปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 31  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 779

๗. สัปปีติกธรรม และอัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัปปีติกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ ของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๘. สัปปีติกธรรม และอัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่ อัปปีติกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ ของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็น ปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

๙. สัปปีติกธรรม และอัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัปปีติกธรรมและอัปปีติกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย.

แม้การนับในปัจจนียวิภังค์ ก็เหมือนกับสวิตักกทุกะ ถ้าหากมีไม่ เสมอกัน พึงพิจารณาอนุโลมนี้ ตามสมควรแล้วพึงนับ การนับทั้งสองนัย นอกนี้ก็พึงนับเช่นนี้.

สัปปีติกทุกะ จบ

 
หัวข้อถัดไป
หัวข้อก่อนหน้า

หน้าบัญชีเรื่อง