๙๑. สุขสหคตทุกะ
[เล่มที่ 89] พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕
พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๗
ปัฏฐาน ภาคที่ ๕
อนุโลมทุกปัฏฐาน (ต่อ)
๙๑. สุขสหคตทุกะ
ปฏิจจวาระ
การนับจํานวนวาระในอนุโลม 694/781
การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 696/783
ปัญหาวาระ
๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย 787
๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย ๑๒. อาเสวนปัจจัย 791
๑๔. วิปากปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย 792
การนับจํานวนวาระในอนุโลม 702/793
อ่านหัวข้ออื่นๆ ... [เล่มที่ 89]
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 781
๙๑. สุขสหคตทุกะ
ปฏิจจวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๖๙๓] ๑. สุขสหคตธรรม อาศัยสุขสหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสุขสหคตธรรม, ขันธ์ ๑ อาศัย ขันธ์ ๒.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
๒. ธรรมที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรมอาศัยสุขสหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ สุขและจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นสุขสหคตธรรม.
พึงยังสุขสหคตทุกะ ให้พิสดารเหมือนกับอนุโลมปฏิจจวาระ แห่งสัปปีติกทุกะ ฉะนั้น.
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๖๙๔] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๖ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 782
ปัจจนียนัย
๑. นเหตุปัจจัย
[๖๙๕] ๑. สุขสหคตธรรม อาศัยสุขสหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสุขสหคตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒.
พึงกระทำมูล (วาระที่ ๒)
สุข และ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสุขสหคตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ.
๒. สุขสหคตธรรม และธรรมที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม อาศัยสุขสหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ สุข และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสุขสหคตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒.
๓. ธรรมที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ สุขสหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๓ ที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒.
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยสุข ซึ่งเป็นอเหตุกะ.
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ ไม่ใช่สุขสหคตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.
หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 783
มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.
โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.
เหมือนนเหตุปัจจัยในสัปปีติกทุกะ ไม่มีแตกต่างกัน ปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ.
การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ
[๖๙๖] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจ- ฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๖ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ใน นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
แม้การนับทั้งสองนัยนอกนี้ ก็พึงกระทำอย่างนี้ แม้สหชาตวาระก็ เหมือนกับปฏิจจวาระ. ปวัตติก็ดี ปฏิสนธิก็ดี ในปัจจยวาระ พึงให้พิสดาร ส่วนหทยวัตถุ พึงให้พิสดารในปวัตติ เหมือนปัจจยวารปัจจนียะ ในสัปปีติกทุกะ โมหะ มี ๑ วาระ เท่านั้น เหมือนในสัปปีติกทุกะ.
นิสสยวาระก็ดี สังสัฏฐวาระก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี พึงกระทำเหมือน สัปปีติกทุกะ ฉะนั้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 784
ปัญหาวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๖๙๗] ๑. สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ.
ในอารัมมณปัจจัยก็ดี ในอธิปติปัจจัยก็ดี เหมือนกับสัปปีติกทุกะ ต่างกัน แต่คำว่า สุขะ ดังนี้
๔. อนันตรปัจจัย
[๖๙๘] ๑. สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสุขสหคตธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัย แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสุขสหคตธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
พึงกระทำมูล (วาระที่ ๒)
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสุขสหคตธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่สุข ที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย. จุติจิตที่เป็นสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 785
ภวังค์ที่เป็นสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะ.
กายวิญญาณที่เป็นสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากมโนธาตุ.
วิบากมโนวิญญาณธาตุ ที่เป็นสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่กิริยามโนวิญญาณธาตุ.
ภวังค์ที่เป็นสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ภวังค์ที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม.
กุศลและอกุศล ที่เป็นสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ที่ไม่ใช่ สุขสหคตธรรม.
กิริยา เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ.
ผล เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
พึงกระทำมูล (วาระที่ ๓)
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสุขสหคตธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นสุขสหคตธรรม ที่เกิดหลังๆ และสุข ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
๔. ธรรมที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสุขสหคตธรรม ที่เกิดก่อนๆ ฯลฯ
พึงกระทำมูล (วาระที่ ๕ - ๖)
ทั้งสามวาระ (วาระที่ ๔ - ๕ - ๖) เหมือนกับสัปปีติกทุกะ.
๗. สุขสหคตธรรม และธรรมที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 786
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสุขสหคตธรรม ที่เกิดก่อนๆ และสุข เป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสุขสหคตธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของ อนันตรปัจจัย.
พึงกระทำมูล (วาระที่ ๘)
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสุขสหคตธรรม ที่เกิดก่อนๆ และสุขเป็นปัจจัย แก่สุขที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
จุติจิตที่เป็นสุขสหคตธรรม และสุข เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่ไม่ใช่ สุขสหคตธรรม.
ภวังค์ที่เป็นสุขสหคตธรรม และสุข เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะ.
กายวิญญาณที่เป็นสุขสหคตธรรม และสุข เป็นปัจจัยแก่วิบากมโนธาตุ.
วิบากมโนวิญญาณธาตุ ที่เป็นสุขสหคตธรรม และสุข เป็นปัจจัย แก่กิริยามโนวิญญาณธาตุ.
ภวังค์ที่เป็นสุขสหคตธรรม และสุข เป็นปัจจัยแก่ภวังค์ที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม.
กุศลและอกุศล ที่เป็นสุขสหคตธรรม และสุข เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม.
กิริยา เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ.
ผล เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
พึงกระทำมูล (วาระที่ ๙)
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 787
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสุขสหคตธรรม ที่เกิดก่อนๆ และสุขเป็นปัจจัย แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสุขสหคตธรรม ที่เกิดหลังๆ และสุข ด้วยอำนาจของ อนันตรปัจจัย.
๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย
๙. อุปนิสสยปัจจัย
[๖๙๙] ๑. สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม ด้วย อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ.
๔. ธรรมที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม แล้วให้ทานด้วยจิต ที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม. ยังศีล ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิด ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 788
บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะ ความปรารถนา สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย อุตุ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ สุข แล้วให้ทานด้วยจิตที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม ฯลฯ ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.
ศรัทธาที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม ฯลฯ เสนาสนะ และสุข เป็นปัจจัย แก่ศรัทธาที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม ฯลฯ แก่ปัญญา แก่ราคะ แก่โทสะ แก่ ความปรารถนา แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ และแก่สุข ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
๕. ธรรมที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม แล้วให้ทานด้วยจิต ที่เป็นสุขสหคตธรรม ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิด ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.
บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะ ความปรารถนา สุขทางกาย ฯลฯ เสนาสนะ สุข แล้วให้ทานด้วยจิตที่เป็น สุขสหคตธรรม ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิด ถือเอาของที่เขามิได้ให้ ด้วยจิตที่เป็น สุขสหคตธรรม มุสาวาท ฯลฯ ปิสุณาวาท ฯลฯ สัมผัปปลาปวาท ฯลฯ ตัด ช่องย่องเบา ฯลฯ ลอบขึ้นไปลักทรัพย์ ฯลฯ ปล้นบ้านหลังหนึ่ง ฯลฯ ปล้นตาม ทาง ฯลฯ ทำผิดในภริยาผู้อื่น ฯลฯ ฆ่าคนในหมู่บ้าน ฯลฯ ฆ่าคนในนิคม ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 789
ศรัทธาที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม ฯลฯ เสนาสนะและสุข เป็นปัจจัยแก่ ศรัทธาที่เป็นสุขสหคตธรรม ฯลฯ แก่ปัญญา แก่ราคะ แก่โมหะ แก่มานะ แก่ทิฏฐิ แก่ความปรารถนา แก่สุขทางกาย แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ ด้วย อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
๖. ธรรมที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม และธรรมที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม แล้วให้ทานด้วยจิต ที่เป็นสุขสหคตธรรม มีอธิบายเหมือนข้อความตามบาลี ตอนที่ ๒ ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.
บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม ฯลฯ เสนาสนะ สุข แล้ว ให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิด ถือเอาของที่เขามิได้ให้ด้วยจิตที่เป็นสุขสหคตธรรม ฯลฯ
ศรัทธาที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม ฯลฯ เสนาสนะ และสุข เป็นปัจจัยแก่ ศรัทธาที่เป็นสุขสหคตธรรม ฯลฯ แก่ความปรารถนา แก่สุขทางกาย แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ และแก่สุข ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
๗. สุขสหคตธรรม และธรรมที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 790
๑๐. ปุเรชาตปัจจัย
[๗๐๐] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ด้วยจิตที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะ ปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฯลฯ
โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม และสุข ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
๒. ธรรมที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ด้วยจิตที่เป็นสุขสหคตธรรม ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 791
ปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่เป็นสุขสหคตธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อม เกิดขึ้น.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจ ของปุเรชาตปัจจัย.
๓. ธรรมที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม และธรรมที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของ ปุเรชาตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ด้วยจิตที่เป็นสุขสหคตธรรม ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะ ปรารภจักษุเป็นต้นนั้น สุขและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสุขสหคตธรรม และสุข ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ ๑๒. อาเสวนปัจจัย
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ.
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 792
๑๓. กัมมปัจจัย
[๗๐๑] ๑. สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม ด้วย อำนาจของกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
กัมมปัจจัย แบ่งเป็น ๖ วาระ พึงกระทำให้เป็นทั้งสหชาตะ และ นานาขณิกะ ๔ วาระ, ให้เป็นนานาขณิกะ ๒ วาระ.
๑๔. วิปากปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย มี ๔ วาระ
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย มี ๙ วาระ
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย มี ๙ วาระ
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย มี ๔ วาระ
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 793
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๗๐๒] ในเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ ใน นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ใน กัมมปัจจัย มี ๖ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๔ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๙ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๙ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๔ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.
ปัจจนียวิภังค์ก็ดี การนับก็ดี พึงทำเหมือนสัปปีติกทุกะ ด้วยประการ ฉะนี้ แม้ถ้ามีความสงสัย พึงดูอนุโลมวาระ แล้วนับ.
สุขสหคตทุกะ จบ