พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย

๙๕. อรูปาวจรทุกะ

 
บ้านธัมมะ
วันที่  28 ก.พ. 2565
หมายเลข  42339
อ่าน  522

[เล่มที่ 89] พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕

พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๗

ปัฏฐาน ภาคที่ ๕

อนุโลมทุกปัฏฐาน (ต่อ)

๙๕. อรูปาวจรทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย 890

๑. เหตุปัจจัย 782/890

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 783/891

ปัจจนียนัย 891

๑. นเหตุปัจจัย 784/891

๒. นอารัมมณปัจจัย 892

๓. นอธิปติปัจจัย 785/892

๔. นอนันตรปัจจัย ฯลฯ ๗. นอุปนิสสยปัจจัย 893

๘. นปุเรชาตปัจจัย 786/893

๙. นปัจฉาชาตปัจจัย 894

๑๐. นอาเสวนปัจจัย 787/894

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 788/895

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย 896

๑. เหตุปัจจัย 789/896

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 790/897

ปัจจนียนัย 898
๑. นเหตุปัจจัย 791/898

๒. นอารัมมณปัจจัย 898

๓. นอธิปติปัจจัย 792/898

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 793/899

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย 900

๑. เหตุปัจจัย 794/900

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 795/900

ปัจจนียนัย 900

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 796/900

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย 901

๑. เหตุปัจจัย 797/901

๒. อารัมมณปัจจัย 798/902

๓. อธิปติปัจจัย 799/903

๔. อนันตรปัจจัย 800/906

๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย 907

๙. อุปนิสสยปัจจัย 801/907

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย 802/910

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ ๑๒. อาเสวนปัจจัย 911

๑๓. กัมมปัจจัย 803/911

๑๔. วิปากปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย 804/912

๒๐. วิปปยุตตปัจจัย 805/912

๒๑. อัตถิปัจจัย 806/913

๒๒. นัตถิปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย 915

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 807/915

ปัจจนียนัย 915

การยกปัจจัยในปัจจนียะ 808/915

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 809/917

อนุโลมปัจจนียนัย 917

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 810/917

ปัจจนียานุโลมนัย 918

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 811/918


อ่านหัวข้ออื่นๆ ... [เล่มที่ 89]


  ข้อความที่ 1  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 890

๙๕. อรูปาวจรทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๗๘๒] ๑. อรูปาวจรธรรม อาศัยอรูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอรูปาวจรธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒. ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม อาศัยอรูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอรูปาวจรธรรม.

๓. อรูปาวจรธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม อาศัยอรูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอรูปาวจรธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ อรูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

 
  ข้อความที่ 2  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 891

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่ อรูปาวจรธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

ฯลฯ มหาภูตรูป ๑.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม อาศัยอรูปาวจรธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอรูปาวจรธรรม และ มหาภูตรูปทั้งหลาย. ฯลฯ

การนับจํานวนวาระในอนุโลม

[๗๘๓] ในเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ ใน นิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๕ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๕ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.

ปัจจนียนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๗๘๔] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ อรูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

 
  ข้อความที่ 3  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 892

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

ฯลฯ เพราะนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ.

๓. นอธิปติปัจจัย

[๗๘๕] ๑. อรูปาวจรธรรม อาศัยอรูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย

คือ อธิปติธรรมที่เป็นอรูปาวจรธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็น อรูปาวจรธรรม ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอรูปาวจรธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ อรูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อรูปาวจร ธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

 
  ข้อความที่ 4  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 893

๔. นอนันตรปัจจัย ฯลฯ ๗. นอุปนิสสยปัจจัย

ฯลฯ เพราะนอนันตรปัจจัย ฯลฯ ฯลฯ เพราะนอุปนิสสยปัจจัย

๘. นปุเรชาตปัจจัย

[๗๘๖] ๑. อรูปาวจรธรรม อาศัยอรูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอรูปาวจรธรรม ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๒)

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ อรูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม อาศัยอรูปาวจรธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอรูปาวจรธรรม และ มหาภูตรูปทั้งหลาย.

 
  ข้อความที่ 5  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 894

๙. นปัจฉาชาตปัจจัย

ฯลฯ เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย.

๑๐. นอาเสวนปัจจัย

[๗๘๗] ๑. อรูปาวจรธรรม อาศัยอรูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะนอาเสวนปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอรูปาวจรธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม อาศัยอรูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะนอาเสวนปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอรูปาวจรธรรม-

๓. ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ อรูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะนอาเสวนปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม อาศัยอรูปาวจรธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะนอาเสวนปัจจัย

 
  ข้อความที่ 6  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 895

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอรูปาวจรธรรม และ มหาภูตรูปทั้งหลาย.

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ

[๗๘๘] ในนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๔ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ใน นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

การนับทั้งสองนัยนอกนี้ก็ดี สหชาตะวาระก็ดี พึงกระทำ.

 
  ข้อความที่ 7  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 896

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๗๘๙] ๑. อรูปาวจรธรรม อาศัยอรูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ. ๔. ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ อรูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม ฯลฯ ตลอดถึง อัชฌัตติกมหาภูตรูป.

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

๕. อรูปาวจรธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอรูปาวจรธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

๖. อรูปาวจรธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๗. อรูปาวจรธรรม อาศัยอรูปาวจรธรรม และธรรม ที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอรูปาวจรธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

 
  ข้อความที่ 8  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 897

๘. ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม อาศัยอรูปาวจรธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอรูปาวจรธรรม และ มหาภูตรูปทั้งหลาย.

๙. อรูปาวจรธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม อาศัยอรูปาวจรธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอรูปาวจรธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอรูปาวจรธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๗๙๐] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ ใน อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๔ วาระ ใน นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๔ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

 
  ข้อความที่ 9  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 898

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๗๙๑] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ อรูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ.

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ อาศัยหทยวัตถุ.

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

๒. นอารัมมณปัจจัย

ฯลฯ เพราะนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ.

๓. นอธิปติปัจจัย

[๗๙๒] ๑. อรูปาวจรธรรม อาศัยอรูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย

คือ อธิปติธรรมที่เป็นอรูปาวจรธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็น อรูปาวจรธรรม ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอรูปาวจรธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

 
  ข้อความที่ 10  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 899

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม อาศัยธรรมมที่ไม่ใช่ อรูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ,

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๗๙๓] ในนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ใน นอาเสวนปัจจัย มี ๔ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ใน นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนอัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ใน โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

การนับทั้งสองนัยนอกนี้ก็ดี นิสสยวาระก็ดี พึงกระทำ.

 
  ข้อความที่ 11  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 900

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๗๙๔] ๑. อรูปาวจรธรรม เจือกับอรูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอรูปาวจรธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม เจือกับธรรมที่ไม่ใช่ อรูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๗๙๕] ในเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.

ปัจจนียนัย

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ

[๗๙๖] ในนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ.

การนับทั้งสองนัยนอกนี้ก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.

 
  ข้อความที่ 12  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 901

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๗๙๗] ๑. อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่อรูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๒)

เหตุทั้งหลายที่เป็นอรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๓)

เหตุทั้งหลายที่เป็นอรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

 
  ข้อความที่ 13  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 902

๒. อารัมมณปัจจัย

[๗๙๘] ๑. อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่อรูปวจรธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ ด้วยอำนาจ ของอารัมมณปัจจัย, อากิญจัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

๒. อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลพิจารณาอากาสานัญจายตนะ, วิญญาณัญจายตนะ ฯลฯ อากิญจัญญายตนะ ฯลฯ พิจารณาเนวสัญญานาสัญญายตนะ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นอรูปาวจรธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่เป็นอรูปาวจรธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ, แก่ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ, แก่ยถากัมมูปคญาณ, แก่อนาคตังสญาณ, แก่ อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ กระทำอุโบสถกรรมแล้ว พิจารณา ซึ่งกุศลกรรมนั้น ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภกุศลกรรมนั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

 
  ข้อความที่ 14  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 903

พิจารณากุศลกรรมที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ ออกจาก ฌาน ฯลฯ

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค, พิจารณามรรค, พิจารณาผล, พิจารณานิพพาน.

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่มรรค, แก่ผล, แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว, กิเลสที่ข่มแล้ว ฯลฯ กิเลส ทั้งหลายที่เกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน ฯลฯ

พิจารณาจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ, ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ, แก่ยถากัมมูปคญาณ, แก่อนาคตังสญาณ, แก่ อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

๓. อธิปติปัจจัย

[๗๙๙] ๑. อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่อรูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

 
  ข้อความที่ 15  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 904

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นอรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๒. อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลกระทำอากาสานัญจายตนะให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา ฯลฯ กระทำเนวสัญญานาสัญญายตนะให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้ว พิจารณา.

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ ใช่อรูปาวจรธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำขันธ์นั้นให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นอรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๓)

อธิปติธรรมที่เป็นอรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

 
  ข้อความที่ 16  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 905

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ กระทำอุโบสถกรรมแล้ว กระทำ กุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา ย่อมยินดี ย่อม เพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำกุศสกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ

พิจารณากุศลกรรมที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ ออกจาก ฌาน ฯลฯ

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่นแล้ว พิจารณา ฯลฯ พิจารณาผล ฯลฯ พิจารณานิพพาน.

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่มรรค, แก่ผล ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำ จักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 17  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 906

๔. อนันตรปัจจัย

[๘๐๐] ๑. อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่อรูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอรูปาวจรธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอรูปาวจรธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๒. อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ จุติจิตที่เป็นอรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่ไม่ใช่ อรูปาวจรธรรม.

ภวังค์ที่เป็นอรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะ.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่ไม่ใช่ อรูปาวจรธรรม.

เนวสัญญานาสัญญายตนะ ของบุคคลผู้ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัยแก่ ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัย แก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, อนุโลม เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 18  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 907

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่อรูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ จุติจิตที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่ไม่ใช่ อรูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็น อรูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

บริกรรมแห่งอากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่อากาสานัญจายตนะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

บริกรรมแห่งวิญญาณัญจายตนะ ฯลฯ บริกรรมแห่งอากิญจัญญายตนะ ฯลฯ บริกรรมแห่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ.

๙. อุปนิสสยปัจจัย

[๘๐๑] ๑. อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่อรูปาวจรธรรม ด้วย อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

 
  ข้อความที่ 19  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 908

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย, วิญญาณัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่อากิญจัญญายตนะ, อากิญจัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสย ปัจจัย.

๒. รูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นอรูปาวจรธรรม แล้วให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ยังฌานที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม ยังวิปัสสนา ยังมรรค ยังอภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ที่เป็นอรูปาวจรธรรม ฯลฯ ปัญญา แล้วให้ ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.

ศรัทธาที่เป็นอรูปาวจรธรรม ฯลฯ ปัญญา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่ ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม ฯลฯ แก่ปัญญา แก่ราคะ แก่ความปรารถนา แก่สุข ทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของของอุปนิสสยปัจจัย

 
  ข้อความที่ 20  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 909

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธา ที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรมแล้ว ให้ทาน ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ยังฌานที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม ยังวิปัสสนา ยังมรรค ยังอภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม ฯลฯ ปัญญา ราคะ ความปรารถนา สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย อุตุ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ แล้วให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

ศรัทธาที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม แก่ความปรารถนา แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่อรูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บริกรรมแห่งอากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่อากาสานัญจายตนะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ บริกรรมแห่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 21  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 910

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย

[๘๐๒] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

พิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น ปัจจัยแก่กายวิญญาณ.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ หทยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่อรูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอรูปาวจรธรรม ด้วย อำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 22  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 911

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย ๑๒. อาเสวนปัจจัย

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ.

๑๓. กัมมปัจจัย

[๘๐๓] ๑. อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่อรูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ ฯลฯ

๒. อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นอรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๓)

เจตนาที่เป็นอรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ฯลฯ

 
  ข้อความที่ 23  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 912

๑๔. วิปากปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย

[๘๐๔] ๑. อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่อรูปาวจรธรรม ด้วย อำนาจของวิปากปัจจัย

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย มี ๔ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย มี ๔ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย มี ๔ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย มี ๔ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ.

๒๐. วิปปยุตตปัจจัย

[๘๐๕] ๑. อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

๓. ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่อรูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

 
  ข้อความที่ 24  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 913

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอรูปาวจรธรรม ด้วย อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๒๑. อัตถิปัจจัย

[๘๐๖] ๑. อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่อรูปาวจรธรรม ด้วย อำนาจของอัตถิปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตะ ฯลฯ

๒. อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

๓. อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่อรูปาวจรธรรม และ ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตะ ฯลฯ

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และ อินทริยะ ฯลฯ

๕. ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่อรูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

 
  ข้อความที่ 25  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 914

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอรูปาวจรธรรม ด้วย อํานาจของอัตถิปัจจัย.

๖. อรูปาวจรธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่อรูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่เป็นอรูปาวจรธรรม และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอํานาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

๗. อรูปาวจรธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และรวมกับ อินทริยะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอรูปาวจรธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็น ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอรูปาวจรธรรม ที่เกิดภายหลัง และกพฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อินทริยะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอรูปาวจรธรรม ที่เกิดภายหลัง และรูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 26  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 915

๒๒. นัตถิปัจจัย ฯลฯ ๒๔. วิคตปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอํานาจของนัตถิปัจจัย.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิคตปัจจัย.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๘๐๗] ในเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ใน อธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ ใน นิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๔ วาระ ใน อินทริยปัจจัย มี ๔ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๔ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๔ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.

ปัจจนียนัย

การยกปัจจัยในปัจจนียะ

[๘๐๘] ๑. อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่อรูปาวจรธรรม ด้วย อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย,

 
  ข้อความที่ 27  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 916

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ กัมมปัจจัย.

๒. อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจองอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ สหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

๓. อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่อรูปาวจรธรรม และ ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม ที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ ของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่อรูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ ปุเรชาตปัจจัย.

๖. อรูปาวจรธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่อรูปาวจรธรรม.

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ

 
  ข้อความที่ 28  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 917

๗. อรูปาวจรธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม.

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และรวมกับ อินทริยะ

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๘๐๙] ในนเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในนสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ ในนนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ใน นปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๔ วาระ ในโนอัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ ในโนอวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ.

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๘๑๐] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ ... ใน อธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ ฯลฯ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ใน โนนัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ.

 
  ข้อความที่ 29  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 918

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๘๑๑] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ... ใน อธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ อนุโลมมาติกาพึงให้พิสดาร ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.

อรูปาวจรทุกะ จบ

 
หัวข้อถัดไป
หัวข้อก่อนหน้า

หน้าบัญชีเรื่อง