พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย

๙๘. นิยตทุกะ

 
บ้านธัมมะ
วันที่  28 ก.พ. 2565
หมายเลข  42342
อ่าน  586

[เล่มที่ 89] พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕

พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๗

ปัฏฐาน ภาคที่ ๕

อนุโลมทุกปัฏฐาน (ต่อ)

๙๘. นิยตทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย 944

๑. เหตุปัจจัย 840/944

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย 945

๑. เหตุปัจจัย 841/945

๒. อารัมมณปัจจัย 842/945

๓. อธิปติปัจจัย 843/947

๔. อนันตรปัจจัย 844/949

๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย 950

๙. อุปนิสสยปัจจัย 845/950

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย 846/953

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ ๑๒. อาเสวนปัจจัย 953

๑๓. กัมมปัจจัย 847/954

๑๔. วิปากปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย 955

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 848/955

ปัจจนียนัย 956

การยกปัจจัยในปัจจนียะ 849/956

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 850/957

อนุโลมปัจจนียนัย 958

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปจจน ั ียะ 851/958

ปัจจนียานุโลมนัย 958

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 852/958

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย 944

๑. เหตุปัจจัย 840/944

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย 945

๑. เหตุปัจจัย 841/945

๒. อารัมมณปัจจัย 842/945

๓. อธิปติปัจจัย 843/947

๔. อนันตรปัจจัย 844/949

๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย 950

๙. อุปนิสสยปัจจัย 845/950

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย 846/953

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ ๑๒. อาเสวนปัจจัย 953

๑๓. กัมมปัจจัย 847/954

๑๔. วิปากปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย 955

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 848/955

ปัจจนียนัย 956

การยกปัจจัยในปัจจนียะ 849/956

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 850/957

อนุโลมปัจจนียนัย 958

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปจจน ั ียะ 851/958

ปัจจนียานุโลมนัย 958

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 852/958


อ่านหัวข้ออื่นๆ ... [เล่มที่ 89]


  ข้อความที่ 1  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 944

๙๘. นิยตทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๘๔๐] ๑. นิยตธรรม อาศัยนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุ ปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นนิยตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒

๒. อนิยตธรรม อาศัยอนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นนิยตธรรม พึงทำ ๕ วาระ

ปฏิจจวาระก็ดี สหชาตวาระก็ดี ปัจจยวาระก็ดี นิสสยวาระก็ดี สังสัฏฐวาระก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี พึงทำเหมือนนิยยานิกทุกะ ไม่มีแตกต่างกัน การจำแนกวาระต่างกัน

 
  ข้อความที่ 2  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 945

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๘๔๑] ๑. นิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่นิยตธรรม ด้วยอำนาจ ของเหตุปัจจัย

มี ๔ วาระ เหมือนกับนิยยานิกทุกะ ไม่มีแตกต่างกัน.

๒. อารัมมณปัจจัย

[๘๔๒] ๑. นิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วยอำนาจ ของอารัมมณปัจจัย

คือ พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรคแล้ว พิจารณามรรค, พิจารณา กิเลสที่ละแล้ว ที่เป็นนิยตธรรม, กิเลสทั้งหลายที่เกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน ฯลฯ พิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนิยตธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ

บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่เป็นนิยตธรรม ด้วย เจโตปริยญาณ

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ, แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ, แก่ยถากัมมูปคญาณ, แก่อนาคตังสญาณ, แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

๒. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วย อำนาจของอารัมมณปัจจัย

 
  ข้อความที่ 3  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 946

คือ บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ พิจารณา กุศลกรรมทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน ฯลฯ ออกจากฌาน พิจารณา ฌาน, ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภทานเป็นต้นนั้น ราคะที่ เป็นอนิยตธรรมย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัส ที่เป็นอนิยตธรรม ย่อมเกิดขึ้น. พระอริยะทั้งหลายพิจารณาผล, พิจารณานิพพาน.

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่อาวัชชนะ ด้วย อำนาจของอารัมมณปัจจัย.

พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว ที่เป็นอนิยตธรรม กิเลส ที่ข่มแล้ว รู้กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน ฯลฯ

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิยตธรรมโดยความ เป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุเป็นต้น นั้น ราคะที่เป็นอนิยตธรรม ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของ อารัมมณปัจจัย.

๓. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่นิยตธรรม ด้วยอำนาจ ของอารัมมณปัจจัย

คือ นิพพาน เป็นปัจจัยแก่มรรค ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่มาตุฆาตกรรม แก่ปิตุฆาตกรรม แก่ อรหันตฆาตกรรม แก่รุหิรุปปาทกรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 4  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 947

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม เกิดขึ้นแก่บุคคลผู้ยึดถือวัตถุใด วัตถุนั้นเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม ด้วยอำนาจของ อารัมมณปัจจัย.

๓. อธิปติปัจจัย

[๘๔๓] ๑. นิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่นิยตธรรม ด้วยอำนาจ ของอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๒. นิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วยอำนาจ ของอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่นแล้ว พิจารณา.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๓. นิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่นิยตธรรม และอนิยตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

 
  ข้อความที่ 5  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 948

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๔. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วย อำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ กระทำอุโบสถกรรมแล้ว กระทำ กุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา ย่อมยินดี ย่อม เพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำกุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่เป็นนิยตธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ

พิจารณากุศลที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ

พระอริยะทั้งหลายกระทำผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้ว พิจารณา กระทำนิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา.

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่ผล ด้วยอำนาจของ อธิปติปัจจัย.

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิยตธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ ราคะที่เป็น อนิยตธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

 
  ข้อความที่ 6  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 949

อธิปติธรรมที่เป็นอนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๕. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่นิยตธรรม ด้วยอำนาจ ของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่มรรค ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๔. อนันตรปัจจัย

[๘๔๔] ๑. นิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วยอำนาจ ของอนันตรปัจจัย

คือ มรรค เป็นปัจจัยแก่ผล ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วยอำนาจของ อนันตรปัจจัย.

๒. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วย อำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิยตธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิยตธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน, ผล เป็นปัจจัยแก่ผล, อนุโลม เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ เนวสัญญานาสัญญายตนะ ของบุคคลผู้ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 7  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 950

๓. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่นิยตธรรม ด้วยอำนาจ ของอนันตรปัจจัย

คือ โทมนัสที่เป็นอนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่โทมนัสที่เป็นนิยตธรรม.

มิจฉาทิฏฐิที่เป็นอนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่มิจฉาทิฏฐิที่เป็นนิยตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค, โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค ด้วย อำนาจของอนันตรปัจจัย.

๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ.

๙. อุปนิสสยปัจจัย

[๘๔๕] ๑. นิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่นิยตธรรม ด้วยอำนาจ ของอุปนิสสยปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

มาตุฆาตกรรม เป็นปัจจัยแก่มาตุฆาตกรรม แก่ปิตุฆาตกรรม แก่ อรหันตฆาตกรรม แก่รุหิรุปปาทกรรม แก่สังฆเภทกรรม แก่มิจฉาทิฏฐิ ที่เป็นนิยตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 8  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 951

พึงกระทำจักรนัย.

ปฐมมรรค เป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค, ทุติยมรรค เป็นปัจจัยแก่ ตติยมรรค, ตติยมรรค เป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรค ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๒. นิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วยอำนาจ ของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

ปลงชีวิตมารดา ฯลฯ ทำลายสงฆ์แล้ว ย่อมให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ กระทำอุโบสถกรรม ฯลฯ เพื่อลบล้างอกุศลกรรมนั้น.

พระอริยะทั้งหลายเข้าไปอาศัยมรรคแล้ว ยังสมาบัติที่ยังไม่เกิดขึ้นให้ เกิดขึ้น ย่อมเข้าสมาบัติที่เกิดขึ้นแล้ว ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ฐานาฐานโกสัลละ.

มรรค เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๓. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วยอำนาจ ของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

 
  ข้อความที่ 9  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 952

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธา ที่เป็นอนิยตธรรม ย่อมให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ยังฌาน ฯลฯ ยังวิปัสสนา ฯลฯ ยังอภิญญา ฯลฯ ยัง สมาบัติให้เกิดขึ้น ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ที่เป็นอนิยตธรรม ฯลฯ ปัญญา ราคะ ความ ปรารถนา สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย ฯลฯ เสนาสนะ ให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติ ให้เกิดขึ้น ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ฆ่าคนในนิคม ฯลฯ

ศรัทธาที่เป็นอนิยตธรรม ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็น อนิยตธรรม ฯลฯ แก่ความปรารถนา แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย แก่ผล สมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๔. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่นิยตธรรม ด้วยอำนาจ ของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยราคะที่เป็นอนิยตธรรมแล้ว ปลงชีวิตมารดา ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

บุคคลเข้าไปอาศัยโทมนัสที่เป็นอนิยตธรรม ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ปลงชีวิตมารดา ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

ราคะที่เป็นอนิยตธรรม โทมนัส ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ มาตุฆาตกรรม ฯลฯ แก่สังฆเภทกรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

 
  ข้อความที่ 10  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 953

บริกรรมแห่งปฐมมรรค เป็นปัจจัยแก่ปฐมมรรค ฯลฯ บริกรรม แห่งจตุตถมรรค เป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรค ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย

[๘๔๖] ๑. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วยอำนาจ ของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

๒. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่นิยตธรรม ด้วยอำนาจ ของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่มาตุฆาตกรรม แก่ปิตุฆาตกรรม แก่ อรหันตฆาตกรรม แก่รุหิรุปปาทกรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนิยตธรรม ด้วยอำนาจ ของปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ.

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ ๑๒. อาเสวนปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ.

 
  ข้อความที่ 11  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 954

๑๓. กัมมปัจจัย

[๘๔๗] ๑. นิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่นิยตธรรม ด้วยอำนาจ ของกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๒. นิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วยอำนาจ ของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วย อำนาจของกัมมปัจจัย.

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ และกฏัตตารูป ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๓)

เจตนาที่เป็นนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏ- ฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๔. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วยอำนาจ ของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ ฯลฯ

 
  ข้อความที่ 12  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 955

๑๔. วิปากปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย มี ๔ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย มี ๔ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย มี ๔ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย มี ๔ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ.

เหมือนกับอรูปทุกะ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ.

เหมือนกับอรูปาวจรทุกะ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนัตถิปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิคตปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๘๔๘] ในเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๒

 
  ข้อความที่ 13  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 956

วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๔ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๔ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๔ วาระ ใน มัคคปัจจัย มี ๔ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.

ปัจจนียนัย

การยกปัจจัยในปัจจนียะ

[๘๔๙] ๑. นิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่นิยตธรรม ด้วยอำนาจ ของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๒. นิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วยอำนาจ ของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็น ปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ ปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย. ๓. นิยตธรรม เป็นปัจจัย แก่นิยตธรรม และอนิยตธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.

๔. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วย อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ ปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย

 
  ข้อความที่ 14  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 957

ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย. เป็นปัจจัย ด้วยอํานาจของอินทริยปัจจัย.

๕. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่นิยตธรรม ด้วยอำนาจ ของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็น ปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๖. นิยตธรรม และอนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่นิยตธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ ปุเรชาตปัจจัย.

๗. นิยตธรรม และอนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม.

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ, ปัจฉาชาตะ, รวมกับ อาหาระ, และรวมกับ อินทริยะ

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๘๕๐] ในนเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในนสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ ในนนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ฯลฯ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๔ วาระ ในโนอัตถิปัจจัย มี ๔

 
  ข้อความที่ 15  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้า 958

วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ ในโนอวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ.

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๘๕๑] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ ใน นอธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ ฯลฯ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ.

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๘๕๒] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ใน อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ อนุโลมมาติกาพึงให้พิสดาร ในอวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.

นิยตทุกะ จบ

 
หัวข้อถัดไป
หัวข้อก่อนหน้า

หน้าบัญชีเรื่อง