พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย

เหตุทุกเสกขติกะ (๑. เหตุทุกะ ๑๑. เสกขติกะ)

 
บ้านธัมมะ
วันที่  2 มี.ค. 2565
หมายเลข  42367
อ่าน  354

[เล่มที่ 90] พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๖

พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๗

ปัฏฐาน ภาคที่ ๖

อนุโลมทุกปัฏฐาน (ต่อ)

เหตุทุกเสกขติกะ

(๑. เหตุทุกะ ๑๑. เสกขติกะ)

เสกขบทปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย 165

๑. เหตุปัจจัย 489/165

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 490/165

ปัจจนียนัย 166

๑. นอธิปติปัจจัย 491/166

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 492/166

อนุโลมปัจจนียนัย 166

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 493/166

ปัจจนียานุโลมนัย 166

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 494/166

เสกขบทปัญหาวาระ

อนุโลมนัย 167

๑. เหตุปัจจัย 495/167

๒. อธิปติปัจจัย 496/167

๓. อนันตรปัจจัย 497/167

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 498/167

ปัจจนียนัย 168

การยกปัจจัยในปัจจนียะ 499/168

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 500/168

อนุโลมปัจจนียนัย 168

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 501/168

ปัจจนียานุโลมนยั 169

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 502/169

อเสกขบทปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย 169

๑. เหตุปัจจัย 503/169

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 504/169

ปัจจนียนัย 170

๑. นอธิปติปัจจัย 505/170

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 506/170

อนุโลมปัจจนียนัย 170

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 507/170

ปัจจนียานุโลมนัย 170

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 508/170

อเสกขบทปัญหาวาระ

อนุโลมนัย 171

๑. เหตุปัจจัย 509/171

๒. อธิปติปัจจัย 510/171

๓. อุปนิสสยปัจจัย 511/971

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 512/172

ปัจจนียนัย 172

การยกปัจจัยในปัจจนียะ 513/172

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 514/172

อนุโลมปัจจนียนัย 172

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 515/172

ปัจจนียานุโลมนัย 173

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 516/173

เนวเสกขานาเสกขบทปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย 173

๑. เหตุปัจจัย 517/173

การนับจานวนวาระในอนุโลม 518/174

ปัจจนียนัย 174

๑. นเหตุปัจจัย 519/174

๒. นอารัมมณปัจจัย 520/174

๓. นอธิปติปัจจัย 521/175

๘. นปุเรชาตปัจจัย 522/175

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 523/175

อนุโลมปัจจนียนัย 176

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 524/176

ปัจจนียานุโลมนัย 176

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 525/176

เนวเสกขานาเสกขบทปัญหาวาระ

๓. อธิปติปัจจัย 528/177

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย 529/177

การนับจํานวนวาระในอนุโลม 530/177

ปัจจนียนัย 178

การยกปัจจัยในปัจจนียะ 531/178

การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 532/178

อนุโลมปัจจนียนัย 178

การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 533/178

ปัจจนียานุโลมนัย 178

การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 534/178


อ่านหัวข้ออื่นๆ ... [เล่มที่ 90]


  ข้อความที่ 1  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 2 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๖ - หน้า 165

เหตุทุกเสกขติกะ

(๑. เหตุทุกะ ๑๑. เสกขติกะ)

เสกขบทปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๔๘๙] ๑. เสกขธรรมที่เป็นเหตุ อาศัยเสกขธรรมที่เป็นเหตุ เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๑ - ๒ - ๓)

๔. เสกขธรรมที่ไม่ใช่เหตุ อาศัยเสกขธรรมที่ไม่ใช่ เหตุ เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๔ - ๕ - ๖)

๗. เสกขธรรมที่เป็นเหตุ อาศัยเสกขธรรมที่เป็นเหตุ และเสกขธรรมที่ไม่ใช่เหตุ เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๗ - ๘ - ๙)

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๔๙๐] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ ใน นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

 
  ข้อความที่ 2  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 2 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๖ - หน้า 166

ปัจจนียนัย

๑. นอธิปติปัจจัย

[๔๙๑] ๑. เสกขธรรมที่เป็นเหตุ อาศัยเสกขธรรมที่เป็นเหตุ เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๔๙๒] ในนอธิปติปัจจัย มี ๖ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ใน นกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ.

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๔๙๓] เพราะเหตุปัจจัย ในนอธิปติปัจจัย มี ๖ วาระ ... ฯลฯ

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๔๙๔] เพราะนอธิปติปัจจัย ในเหตุปัจจัย มี ๖ วาระ ... ฯลฯ สหชาตวาระก็ดี ปัจจยวาระก็ดี นิสสยวาระก็ดี สังสัฏฐวาระก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี พึงให้พิสดารเหมือนปฏิจจวาระ.

 
  ข้อความที่ 3  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 2 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๖ - หน้า 167

เสกขบทปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑.เหตุปัจจัย

[๔๙๕] ๑. เสกขธรรมที่เป็นเหตุ เป็นปัจจัยแก่เสกขธรรม ที่เป็นเหตุ ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ.

๒. อธิปติปัจจัย

[๔๙๖] ๑. เสกขธรรมที่เป็นเหตุ เป็นปัจจัยแก่เสกขธรรม ที่เป็นเหตุ ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ มี ๓ วาระ.

๔. เสกขธรรมที่ไม่ใช่เหตุ เป็นปัจจัยแก่เสกขธรรม ที่ไม่ใช่เหตุ ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ มี ๓ วาระ.

๓. อนันตรปัจจัย

[๔๙๗] ๑. เสกขธรรมที่เป็นเหตุ เป็นปัจจัยแก่เสกขธรรม ที่เป็นเหตุ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๔๙๘] ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๖ วาระ ใน ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย

 
  ข้อความที่ 4  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 2 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๖ - หน้า 168

มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ใน อุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๙ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัตถิ- ปัจจัย มี ๙ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ ใน อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

การยกปัจจัยในปัจจนียะ

[๔๙๙] ๑. เสกขธรรมที่เป็นเหตุ เป็นปัจจัยแก่เสกขธรรม ที่เป็นเหตุ ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๕๐๐] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๕๐๑] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ.

 
  ข้อความที่ 5  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 2 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๖ - หน้า 169

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๕๐๒] เพราะนเหตุปัจจัย ในอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ อนุโลมนัยก็ดี ปัจจนียนัยก็ดี อนุโลมปัจจนียนัยก็ดี ปัจจนียานุโลมนัย แห่งปัญหาวาระในกุสลติกะ ท่านนับไว้อย่างไร พึงนับอย่างนั้น.

อเสกขบทปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๕๐๓] ๑. อเสกขธรรมที่เป็นเหตุ อาศัยอเสกขธรรมที่เป็น เหตุ เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๑ - ๒ - ๓)

๔. อเสกขธรรมที่ไม่ใช่เหตุ อาศัยอเสกขธรรมที่ ไม่ใช่เหตุ เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๔ - ๕ - ๖)

๗. อเสกขธรรมที่เป็นเหตุ อาศัยอเสกขธรรมที่เป็น เหตุ และอเสกขธรรมที่ไม่ใช่เหตุ เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๗ - ๘ - ๙)

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๕๐๔] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัยมี ๙ วาระ ใน อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี

 
  ข้อความที่ 6  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 2 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๖ - หน้า 170

๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ ใน ในนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ใน อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

นอธิปติปัจจัย

[๕๐๕] ๑. อเสกขธรรมที่เป็นเหตุ อาศัยอเสกขธรรมที่เป็น เหตุ เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๕๐๖] ในนอธิปติปัจจัย มี ๖ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ. ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ

อนุโลมปัจจนียนีย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๕๐๗] เพราะเหตุปัจจัย ในนอธิปติปัจจัย มี ๖ วาระ ... ฯลฯ

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๕๐๘] เพราะนอธิปติปัจจัย ในเหตุปัจจัย มี ๖ วาระ ... ฯลฯ

 
  ข้อความที่ 7  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 2 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๖ - หน้า 171

สหชาตวาระก็ดี ปัจจยวาระก็ดี นิสสยวาระก็ดี สังสัฏฐวาระก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี พึงให้พิสดารเหมือนปฏิจจวาระ.

อเสกขบทปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๕๐๙] ๑. อเสกขธรรมที่เป็นเหตุ เป็นปัจจัยแก่อเสกขธรรม ที่เป็นเหตุ ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ.

๒. อธิปติปัจจัย

[๕๑๐] ๑. อเสกขธรรมที่เป็นเหตุ เป็นปัจจัยแก่อเสกขธรรม ที่เป็นเหตุ ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ มี ๓ วาระ.

๔. อเสกขธรรมที่ไม่ใช่เหตุ เป็นปัจจัยแก่อเสกขธรรมที่ไม่ใช่เหตุ ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ มี ๓ วาระ.

๓. อุปนิสสยปัจจัย

[๕๑๑] ๑. อเสกขธรรมที่เป็นเหตุ เป็นปัจจัยแก่อเสกขธรรม ที่เป็นเหตุ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ

 
  ข้อความที่ 8  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 2 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๖ - หน้า 172

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๕๑๒] ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๖ วาระ ใน อนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ใน อุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๙ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

การยกปัจจัยในปัจจัยนียะ

[๕๑๓] ๑. อเสกขธรรมที่เป็นเหตุ เป็นปัจจัยแก่อเสกขธรรม ที่เป็นเหตุ ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๕๑๔] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๕๑๕] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ... ฯลฯ

 
  ข้อความที่ 9  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 2 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๖ - หน้า 173

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๕๑๖] เพราะนเหตุปัจจัย ในอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ... ฯลฯ อนุโลมนัยก็ดี ปัจจนียนัยก็ดี อนุโลมปัจจนียนัยก็ดี ปัจจนียานุโลมนัยก็ดี แห่งปัญหาวาระในกุสลติกะ ท่านนับไว้อย่างไร พึงนับอย่างนั้น.

เนวเสกขานาเสกขบทปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๕๑๗] ๑. เนวเสกขานาเสกขธรรมที่เป็นเหตุ อาศัยเนวเสกขานาเสกขธรรมที่เป็นเหตุ เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๑ - ๒ - ๓)

๔. เนวเสกขานาเสกขธรรมที่ไม่ใช่เหตุ อาศัยเนวเสกขานาเสกขธรรมที่ไม่ใช่เหตุ เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๔ - ๕ - ๖)

๗. เนวเสกขานาเสกขธรรมที่เป็นเหตุ อาศัยเนวเสกขานาเสกขธรรมที่เป็นเหตุ และเนวเสกขานาเสกขธรรมที่ไม่ใช่เหตุ เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๗ - ๘ - ๙)

 
  ข้อความที่ 10  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 2 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๖ - หน้า 174

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๕๑๘] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิปาก. ปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๕๑๙] ๑. เนวเสกขานาเสกขธรรมที่ไม่ใช่เหตุ อาศัยเนวเสกขานาเสกขธรรมที่ไม่ใช่เหตุ เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

๒. เนวเสกขานาเสกขธรรมที่เป็นเหตุ อาศัยเนวเสกขานาเสกขธรรมที่ไม่ใช่เหตุ เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

๒. นอารัมมณปัจจัย

[๕๒๐] ๑. เนวเสกขานาเสกขธรรมที่ไม่ใช่เหตุ อาศัยเนวเสกขานาธรรมที่เป็นเหตุ เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

๒. เนวเสกขานาเสกขธรรมที่ไม่ใช่เหตุ อาศัยเนวเสกขานาเสกขธรรมที่ไม่ใช่เหตุ เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

 
  ข้อความที่ 11  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 2 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๖ - หน้า 175

๓. เนวเสกขานาเสกขธรรมที่ไม่ใช่เหตุ อาศัยเนวเสกขานาเสกขธรรมที่เป็นเหตุ และเนวเสกขานาเสกขธรรมที่ไม่ใช่ เหตุ เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

๓. นอธิปติปัจจัย

[๕๒๑] ๑. เนวเสกขานาเสกขธรรมที่เป็นเหตุ อาศัยเนวเสกขานาเสกขธรรมที่เป็นเหตุ เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย

ฯลฯ

๘. นปุเรชาตปัจจัย

[๕๒๒] ๑. เนวเสกขานาเสกขธรรมที่เป็นเหตุ อาศัยเนวเสกขานาเสกขธรรมที่เป็นเหตุ เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๕๒๓] ในนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ใน นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ใน นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ใน โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

 
  ข้อความที่ 12  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 2 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๖ - หน้า 176

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๕๒๔] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ... ฯลฯ

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๕๒๕] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ ... ฯลฯ สหชาตวาระก็ดี ปัจจยวาระก็ดี นิสสยวาระก็ดี สังสัฏฐวาระก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี พึงให้พิสดารเหมือนปฏิจจวาระ.

เนวเสกขานาเสกขบทปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๕๒๖] ๑. เนวเสกขานาเสกขธรรมที่เป็นเหตุ เป็นปัจจัยแก่ เนวเสกขานาเสกขธรรมที่เป็นเหตุ ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ.

๒. อารัมมณปัจจัย

[๕๒๗] ๑. เนวเสกขานาเสกขธรรมที่เป็นเหตุ เป็นปัจจัยแก่ เนวเสกขานาเสกขธรรมที่เป็นเหตุ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ.

 
  ข้อความที่ 13  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 2 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๖ - หน้า 177

๓. อธิปติปัจจัย

[๕๒๘] ๑. เนวเสกขานาเสกขธรรมที่เป็นเหตุ เป็นปัจจัยแก่ เนวเสกขานาเสกขธรรมที่เป็นเหตุ ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ มี ๙ วาระ

ฯลฯ

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย

[๕๒๙] ๑. เนวเสกขานาเสกขธรรมที่ไม่ใช่เหตุ เป็นปัจจัย แก่เนวเสกขานาเสกขธรรมที่ไม่ใช่เหตุ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๕๓๐] นเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ใน อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ ใน นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ใน กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๙ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ใน อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

 
  ข้อความที่ 14  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 2 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๖ - หน้า 178

ปัจจนียนัย

การยกปัจจัยในปัจจนียะ

[๕๓๑] ๑. เนวเสกขาเสกขธรรมที่เป็นเหตุ เป็นปัจจัยแก่ เนวเสกขานาเสกขธรรมที่เป็นเหตุ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย.

ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๕๓๒] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

ฯลฯ

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๕๓๓] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ... ฯลฯ

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๕๓๔] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ... ฯลฯ อนุโลมนัยก็ดี ปัจจนียนัยก็ดี อนุโลมปัจจนียนัยก็ดี ปัจจนียานุโลมนัยก็ดี แห่งปัญหาวาระ ในกุสลติกะ ท่านนับไว้อย่างไร พึงนับอย่างนั้น

เหตุทุกเสกขติกะ จบ