เหตุทุกสนิทัสสนสัปปฏิฆติกะ (๑. เหตุทุกะ ๒๒. สนิทัสสนสัปปฏิฆติกะ)
[เล่มที่ 90] พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๖
พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๗
ปัฏฐาน ภาคที่ ๖
อนุโลมทุกปัฏฐาน (ต่อ)
เหตุทุกสนิทัสสนสัปปฏิฆติกะ
(๑. เหตุทุกะ ๒๒. สนิทัสสนสัปปฏิฆติกะ)
อนิทัสสนสัปปฏิฆบทปฏิจจวาระ
๑. เหตุปัจจัย ฯลฯ ๑๘. อวิคตปัจจัย 869/282
การนับจํานวนวาระในอนุโลม 870/283
อนิทัสสนสัปปฏิฆบทปัญหาวาระ
๑. สหชาตปัจจัย ฯลฯ ๕. อวิคตปัจจัย 872/283
อนิทัสสนอัปปฏิฆบทปฏิจจวาระ
การนับจํานวนวาระในอนุโลม 874/284
การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 878/285
การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 879/286
การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 880/286
อนิทัสสนอัปปฏิฆบทปัญหาวาระ
การนับจํานวนวาระในอนุโลม 884/287
การนับจํานวนวาระในปัจจนียะ 886/288
การนับจํานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ 887/288
การนับจํานวนวาระในปัจจนียานุโลม 888/289
อ่านหัวข้ออื่นๆ ... [เล่มที่ 90]
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๖ - หน้า 282
เหตุทุกสนิทัสสนสัปปฏิฆติกะ
(๑. เหตุทุกะ ๒๒. สนิทัสสนสัปปฏิฆติกะ)
นิทัสสนสัปปฏิฆบทปฏิจจวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย ฯลฯ ๑๔. อวิคตปัจจัย
[๘๖๙] ๑. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรมที่ไม่ใช่เหตุ อาศัยอนิ- ทัสสนสัปปฏิฆธรรมที่ไม่ใช่เหตุ เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
ฯลฯ เพราะอธิปติปัจจัย
ฯลฯ เพราะสหชาตปัจจัย
ฯลฯ เพราะอัญญมัญญปัจจัย
ฯลฯ เพราะนิสสยปัจจัยฯลฯ เพราะกัมมปัจจัย
ฯลฯ เพราะวิปากปัจจัย
ฯลฯ เพราะอาหารปัจจัย
ฯลฯ เพราะอินทริยปัจจัย
ฯลฯ เพราะฌานปัจจัย
ฯลฯ เพราะมัคคปัจจัย
ฯลฯ เพราะวิปปยุตตปัจจัย
ฯลฯ เพราะอัตถิปัจจัย
ฯลฯ เพราะอวิคตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๖ - หน้า 283
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๘๗๐] ในเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๑ วาระ ใน สหชาตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๑ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๑ วาระ ในกัมมปัจจัย ๑ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ.
ปัจจนียนัย
๑. นเหตุปัจจัย
[๘๗๑] ในนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ. ในนอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๑ วาระ พึงใส่ให้เต็มทุกปัจจัย ฯลฯ ในโนวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ.
อนิทัสสนสัปปฏิฆบทปัญหาวาระ
อนุโลมนัย
๑. สหชาติปัจจัย ฯลฯ ๕. อวิคตปัจจัย
[๘๗๒] ๑. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรมที่ไม่ใช่เหตุ เป็นปัจจัยแก่ อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรมที่ไม่ใช่เหตุ ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๖ - หน้า 284
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย
ทุกปัจจัย มี ๑ วาระ.
อนิทัสสนอัปปฏิฆบทปฏิจจวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๘๗๓] ๑. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรมที่เป็นเหตุ อาศัยอนิ- ทัสสนอัปปฏิฆธรรมที่เป็นเหตุ เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๑ - ๒ - ๓)
๔. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรมที่ไม่ใช่เหตุ อาศัยอนิ- ทัสสนอัปปฏิฆธรรมที่ไม่ใช่เหตุ เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๔ - ๕ - ๖)
๗. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรมที่เป็นเหตุ อาศัยอนิ- ทัสสนอัปปฏิฆธรรมที่เป็นเหตุ และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรมที่ไม่ใช่ เหตุ เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๗ - ๘ - ๙)
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๘๗๔] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๖ - หน้า 285
ปัจจนียนัย
๑. นเหตุปัจจัย
[๘๗๕] ๑. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรมที่ไม่ใช่เหตุ อาศัยอนิ- ทัสสนอัปปฏิฆธรรมที่ไม่ใช่เหตุ เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
๒. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรมที่เป็นเหตุ อาศัยอนิ- ทัสสนอัปปฏิฆธรรมที่ไม่ใช่เหตุ เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
๒. นอารัมมณปัจจัย
[๘๗๖] ๑. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรมที่ไม่ใช่เหตุ อาศัยอนิ- ทัสสนอัปปฏิฆธรรมที่เป็นเหตุ เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ.
๓. นอธิปติปัจจัย
[๘๗๗] ๑. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรมที่เป็นเหตุ อาศัยอนิ- ทัสสนอัปปฏิฆธรรมที่เป็นเหตุ เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย ฯลฯ
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๘๗๘] ในนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ใน นวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ. ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๖ - หน้า 286
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๘๗๙] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ... ฯลฯ
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๘๘๐] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ ... ฯลฯ สหชาตวาระก็ดี ปัจจยวาระก็ดี นิสสยวาระก็ดี สังสัฏฐวาระก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี พึงให้พิสดารเหมือนปฏิจจวาระ.
อนิทัสสนอัปปฏิฆบทปัญหาวาระ
[๘๘๑] ๑. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรมที่เป็นเหตุ เป็นปัจจัยแก่ อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรมที่เป็นเหตุ ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ.
๒. อารัมมณปัจจัย
[๘๘๒] ๑. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรมที่เป็นเหตุ เป็นปัจจัยแก่ อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรมที่เป็นเหตุ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๖ - หน้า 287
๓. อธิปติปัจจัย
[๘๘๓] ๑. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรมที่เป็นเหตุ เป็นปัจจัยแก่ อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรมที่เป็นเหตุ ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และสหชาตาธิปติ มี ๓ วาระ (วาระที่ ๑ - ๒ - ๓)
๔. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรมที่ไม่ใช่เหตุ เป็นปัจจัยแก่ อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรมที่ไม่ใช่เหตุ ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และสหชาตาธิปติ มี ๓ วาระ (วาระที่ ๔ - ๕ - ๖)
๗. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรมที่เป็นเหตุ และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรมที่ไม่ใช่เหตุ เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรมที่เป็น เหตุ ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ มี ๓ วาระ (วารที่ ๗ - ๘ - ๙)
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๘๘๔] ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ใน อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในกัมมปัจจัย มี
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๖ - หน้า 288
๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๙ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ใน สัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.
ปัจจนียนัย
การยกปัจจัยในปัจจนียะ
[๘๘๕] ๑. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรมที่เป็นเหตุ เป็นปัจจัยแก่ อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรมที่เป็นเหตุ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๘๘๖] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ
ฯลฯ
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๘๘๗] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ... ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๖ - หน้า 289
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๘๘๘] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ... ฯลฯ อนุโลมนัยก็ดี ปัจจนียนัยก็ดี อนุโลมปัจจนียนัยก็ดี ปัจจนียานุ- โลมนัยก็ดี แห่งปัญหาวาระในกุสลติกะ ท่านนับอย่างไร พึงนับอย่างนั้น.
เหตุทุกสนิทัสสนสัปปฏิฆติกะ จบ
อรรถกถาทุกติกปัฏฐาน
ใน ทุกติกปัฏฐาน พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแต่งเทศนาโดยสังเขป ด้วยอำนาจการยกเฉพาะปัญหาขึ้น อย่างนี้ว่า เหตุ กุสลํ ธมฺมํ ปฏิจฺจ เหตุ กุสโล ธมฺโม อุปฺปปชฺชติ เหตุปจฺจยา ผู้ศึกษาควรกล่าวความ พิสดาร โดยนัยว่า อโทสเหตุ อโมหเหตุ อาศัยกุศลเหตุ คืออโลภะเป็นต้น ความพิสดารนั้นแม้จะไม่ได้กล่าวไว้ ก็อาจทราบได้ โดยนัยที่แสดงไว้แล้วใน หนหลัง เพราะฉะนั้น จึงไม่ตรัสปัจจัยสักอย่างหนึ่งไว้ แม้ในบทเดียว. ก็เทศนาที่แสดงไว้โดยย่อนั้น พึงทราบว่าเทศนานั้นทรงแสดงอย่างนี้.
จริงอยู่ พระองค์ทรงเชื่อมกุศลบท กับเหตุทุกะ แล้วแสดงปัจจัย ที่ได้อยู่ทั้งหมด ด้วยอำนาจอนุโลมและปัจจนียนัย ในปฏิจจวาระ ไม่ทรงแสดง อนุโลมปัจจนียนัย และปัจจนียานุโลมนัย และสหชาตวาระเป็นต้น แล้ว ตรัสว่า ทั้งหมดควรขยายให้พิสดารเหมือนปฏิจจวาระนั่นแหละ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๖ - หน้า 290
แม้ใน ปัญหาวาระ พระองค์ไม่ทรงวิสัชนาปัญหา ทรงยกปัจจัย อย่างเดียว แล้วทรงแสดงปัจจัยที่ได้อยู่ด้วยอำนาจอนุโลมปัจจนียนัยเท่านั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่าผู้ศึกษาพึงเชื่อมแม้อกุสลาพยากตบท กับเหตุทุกะ แล้วแสดงไข เหตุกุสลทุกติกะ เหมือนอย่างกุศลบท. ต่อจากนั้นทรง แสดงทุกติกะ ๒๑ มีเหตุเวทนาทุกติกะเป็นต้น โดยนัยว่า เหตุํ สุขาย เวทนาย สมฺปยุตฺตํ ธมฺมํ เป็นต้น. ก็เพราะเหตุที่เห็นได้กระทบได้ หรือเห็นไม่ได้กระทบได้ ย่อมไม่มี เพราะฉะนั้นจึงไม่ทรงเชื่อมสนิทัสสนสัปปฏิฆะและอนิทัสสนสัปปฏิฆบทกับเหตุบท. ทรงเชื่อมติกะ ๒๒ ที่มี ได้กับเหตุทุกะ ดังอธิบายมาแล้ว ทรงเชื่อมติกะเหล่านั้นกับทุกะทั้งหมด มี สเหตุกทุกะเป็นต้น มีสรณทุกะเป็นที่สุดอีก.
ในทุกะเหล่านั้น บทใดๆ ไม่ประกอบร่วมกับบทใดๆ บทนั้นๆ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ในบาลีนั้นเองว่ามีไม่ได้ ในอธิการนี้. พระผู้มีพระภาคเจ้าประกอบติกะ ๒๒ กับทุกะ ๑ แล้วประกอบติกะ ๒๒ กับทุกะบท ที่ได้อยู่ใน ๑๐๐ ทุกะ ตามลำดับ คือติกะ ๒๒ ติกะ กับทุกะอื่น ติกะ ๒๒ ติกะ กับทุกะอื่นอีก พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงถือเอาติกะ ๒๒ ติกะ ดังว่ามานี้ แล้วผนวกเข้าใน ๑๐๐ ทุกะ แสดงปัฏฐานชื่อว่า ทุกติกปัฏฐาน ในทุกติกปัฏฐานนั้น ในฐานะใดๆ ทรงแสดงนัยแล้วทำการย่อไว้ในบาลี ผู้ศึกษา พึงทราบความพิสดารแห่งบาลีนั้น ตามสมควรแก่นัยที่ทรงแสดงไว้ในฐานะ นั้นๆ แล.
อรรถกถาทุกติกปัฏฐาน จบ