พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย

สัปปฏิฆทุกกุสลติกะ (๑๐. สัปปฏิฆทุกะ ๑. กุสลติกะ)

 
บ้านธัมมะ
วันที่  3 มี.ค. 2565
หมายเลข  42393
อ่าน  324

[เล่มที่ 90] พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๖

พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๗

ปัฏฐาน ภาคที่ ๖

อนุโลมทุกปัฏฐาน (ต่อ)

สัปปฏิฆทุกกุสลติกะ

(๑๐. สัปปฏิฆทุกะ ๑. กุสลติกะ)

กุศลบทปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย 1097/359

อกุศลบทปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย 1099/359

อัพยากตบทปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย 1101/360

ปัจจนียนัย 1104/361

อัพยากตบทปัญหาวาระ

อนุโลมนัย 1106/361

ปัจจนียนัย 1108/362

อนุโลมปัจจนียนัย 1110/363

ปัจจนียานุโลมนัย 1111/363


อ่านหัวข้ออื่นๆ ... [เล่มที่ 90]


  ข้อความที่ 1  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 3 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๖ - หน้า 359

สัปปฏิฆทุกกุสลติกะ

(๑๐. สัปปฏิฆทุกะ ๑. กุสลติกะ)

กุศลบทปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๑๐๙๗] ๑. กุศลธรรมที่เป็นอัปปฏิฆธรรม อาศัยกุศลธรรม ที่เป็นอัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๑๐๙๘] ในเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ในวิปปยุคตปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ. แม้ในสหชาตวาระ ฯลฯ ปัญหาวาระ ก็มี ๑ วาระ ทุกปัจจัย.

อกุศลบทปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๑๐๙๙] ๑. อกุศลธรรมที่เป็นอัปปฏิฆธรรม อาศัยอกุศลธรรมที่เป็นอัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

 
  ข้อความที่ 2  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 3 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๖ - หน้า 360

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๑๑๐๐] ในเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ. แม้ในปัญหาวาระ ก็มี ๑ วาระ ทุกปัจจัย.

อัพยากตบทปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๑๑๐๑] ๑. อัพยากตธรรมที่เป็นสัปปฏิฆธรรม อาศัย อัพยากตธรรมที่เป็นสัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

๒. อัพยากตธรรมที่เป็นอัปปฏิฆธรรม อาศัย อัพยากตธรรมที่เป็นสัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

๓. อัพยากตธรรมที่เป็นสัปปฏิฆธรรมและอัพยากตธรรมที่เป็นอัปปฏิฆธรรม อาศัยอัพยากตธรรมที่เป็นสัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ.

๒. อารัมมณปัจจัย

[๑๑๐๒] ๑. อัพยากตธรรมที่เป็นอัปปฏิฆธรรม อาศัย อัพยากตธรรมที่เป็นอัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

 
  ข้อความที่ 3  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 3 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๖ - หน้า 361

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๑๐๐๓] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

นเหตุปัจจัย

[๑๑๐๔] ๑. อัพยากตธรรมที่เป็นสัปปฏิฆธรรม อาศัย อัพยากตธรรมที่เป็นสัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๑๑๐๕] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั่วไป มี ๙ วาระ ใน โนวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

อัพยากตบทปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๑๑๐๖] ๑. อัพยากตธรรมที่เป็นอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่ อัพยากตธรรมที่เป็นอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

 
  ข้อความที่ 4  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 3 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๖ - หน้า 362

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๑๑๐๗] ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ ใน นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ ในกัมม * ปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๕ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๔ วาระ ในอัตถิ- ปัจจัย มี ๙ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ ใน อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

การยกปัจจัยในปัจจนียะ

[๑๑๐๘] ๑. อัพยากตธรรมที่เป็นสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่ อัพยากตธรรมที่เป็นสัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๑๑๐๙] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

ฯลฯ

 
  ข้อความที่ 5  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 3 มี.ค. 2565

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๖ - หน้า 363

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๑๑๑๐] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ... ฯลฯ

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๑๑๑๑] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ ... ฯลฯ อนุโลมนัยก็ดี ปัจจนียนัยก็ดี อนุโลมปัจจนียนัยก็ดี ปัจจนียานุโลมนัยก็ดี แห่งปัญหาวาระ ในกุสลติกะ ท่านนับไว้อย่างไร พึงนับอย่างนั้น.

สัปปฏิฆทุกกุสลิกะ จบ