อัชฌัตตติกเหตุทุกะ (๒๐. อัชฌัตตติกะ ๑. เหตุทุกะ)
[เล่มที่ 90] พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๖
พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๗
ปัฏฐาน ภาคที่ ๖
และ อรรถกถา
อนุโลมติกทุกปัฏฐาน
อัชฌัตตติกเหตุทุกะ
(๒๐. อัชฌัตตติกะ ๑. เหตุทุกะ)
อ่านหัวข้ออื่นๆ ... [เล่มที่ 90]
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๖ - หน้า 869
อัชฌัตตติกเหตุทุกะ
(๒๐. อัชฌัตตติกะ ๑. เหตุทุกะ)
เหตุบทปฏิจจวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๔๑๖] ๑. เหตุธรรมที่เป็นอัชฌัตตธรรม อาศัยเหตุธรรม ที่เป็นอัชฌัตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
๒. เหตุธรรมที่เป็นพหิทธาธรรม อาศัยเหตุธรรม ที่เป็นพหิทธาธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๔๑๗] ในเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
ปัจจนียนัย
[๔๑๘] ในนอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ.
สหชาตวาระก็ดี ฯลฯ สัมปยุตตวาระก็ดี เหมือนกับปฏิจจวาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๖ - หน้า 870
เหตุบทปัญหาวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๔๑๙] ๑. เหตุธรรมที่เป็นอัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุ- ธรรมที่เป็นอัชฌัตตธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
๒. เหตุธรรมที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุ- ธรรมที่เป็นพหิทธาธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
๒. อารัมมณปัจจัย
[๔๒๐] ๑. เหตุธรรมที่เป็นอัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุ- ธรรมที่เป็นอัชฌัตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
๒. เหตุธรรมที่เป็นอัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุ- ธรรมที่เป็นพหิทธาธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
๓. เหตุธรรมที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุ- ธรรมที่เป็นพหิทธาธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
๔. เหตุธรรมที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุ- ธรรมที่เป็นอัชฌัตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
๓. อธิปติปัจจัย
[๔๒๑] ๑. เหตุธรรมที่เป็นอัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุ- ธรรมที่เป็นอัชฌัตตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๖ - หน้า 871
๒. เหตุธรรมที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุ- ธรรมที่เป็นพหิทธาธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
๔. อนันตรปัจจัย
[๔๒๒] ๑. เหตุธรรมที่เป็นอัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุ- ธรรมที่เป็นอัชฌัตตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
๒. เหตุธรรมที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุ- ธรรมที่เป็นพหิทธาธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๔๒๓] ในเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ ใน นิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
ปัจจนียนัย
[๔๒๔] ในนเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ ฯลฯ
อนุโลมปัจจนียนัย
[๔๒๕] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ ... ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๖ - หน้า 872
ปัจจนียานุโลมนัย
[๔๒๖] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ ... ฯลฯ
แม้ปัญหาวาระในกุสลติกะฉันใด พึงให้พิสดารฉันนั้น.
นเหตุบทปฏิจจวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๔๒๗] ๑. นเหตุธรรมที่เป็นอัชฌัตตธรรม อาศัยนเหตุธรรม ที่เป็นอัชฌัตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
๒. นเหตุธรรมที่เป็นพหิทธาธรรม อาศัยนเหตุธรรม ที่เป็นพหิทธาธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๔๒๘] ในเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
ปัจจนียนัย
[๔๒๙] ในนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ.
สหชาตวาระก็ดี ฯลฯ สัมปยุตตวาระก็ดี เหมือนกับปฏิจจวาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๖ - หน้า 873
นเหตุบทปัญหาวาระ
อนุโลมนัย
๑. อารัมมณปัจจัย
[๔๓๐] ๑. นเหตุธรรมที่เป็นอัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ นเหตุธรรมที่เป็นอัชฌัตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
๒. นเหตุธรรมที่เป็นอัชณัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ นเหตุธรรมที่เป็นพหิทธาธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
๓. นเหตุธรรมที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่ นเหตุธรรมที่เป็นพหิทธาธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
๔. นเหตุธรรมที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่ นเหตุธรรมที่เป็นอัชฌัตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๔๓๑] ในอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ ฯลฯ ใน อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
ปัจจนียนัย
[๔๓๒] ในนเหตุปัจจัย มี ๖ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๖ วาระ ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๖ - หน้า 874
อนุโลมปัจจนียนัย
[๔๓๓] เพราะอารัมมณปัจจัย ในเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ ... ฯลฯ
ปัจจนียานุโลมนัย
[๔๓๔] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ ... ฯลฯ
แม้ปัญหาวาระในกุสลติกะฉันใด พึงให้พิสดารฉันนั้น.
อัชฌัตตติกเหตุทุกะ จบ