ธาตุวิภังคสูตร

 
chatchai.k
วันที่  22 พ.ค. 2564
หมายเลข  34259
อ่าน  947

[เล่มที่ 23] พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ เล่ม ๓ ภาค ๒ - หนาที่ 334 - 346

๑๐. ธาตุวิภังคสูตร

[๖๗๓] ขาพเจาไดสดับมาอยางนี้:- สมัยหนึ่ง พระผูมีพระภาคเจาเมื่อเสด็จจาริกไปในมคธชนบท ทรงแวะยังพระนครราชคฤห เสด็จเขาไปหานายชางหมอชื่อภัคควะยังที่อยู แลวตรัสดังนี้วา ดูกอนนายภัคควะ ถาไมเปนความหนักใจแกทาน เราจะขอพักอยูในโรงสักคืนหนึ่งเถิด. นายภัคควะทูลวา ขาแตทานผูเจริญ ขาพเจาไมมีความหนักใจเลย แตในโรงนี้มีบรรพชิตเขาไปอยูกอนแลว ถาบรรพชิตนั้น อนุญาต ก็นิมนตทานพักตามสบายเถิด.

[๖๗๔] ก็สมัยนั้นแล กุลบุตรชื่อปุกกุสาติ ออกจากเรือนบวชเปนบรรพชิตอุทิศพระผูมีพระภาคเจาดวยศรัทธา. ปุกกุสาติกุลบุตรนั้นเขาไปพักอยูในโรงของนายชางหมอนั้นกอนแลว. ครั้งนั้นแล พระผูมีพระภาคเจาเสด็จเขาไปหาทานปุกกุสาติยังที่พัก แลวตรัสกะทานปุกกุสาติดังนี้วา ดูกอนภิกษุ ถาไมเปนความหนักใจแกทาน เราจะขอพักอยูในโรงสักคืนหนึ่งเถิด. ทานปุกกุสาติ ตอบวา ดูกอนทานผูมีอายุ โรงชางหมอกวางขวาง นิมนตทานผูมีอายุพัก ตามสบายเถิด.

[๖๗๕] ลําดับนั้น พระผูมีพระภาคเจาเสด็จเขาไปสูโรงชางหมอแลว ทรงลาดสันถัดหญา ณ ที่ควรสวนขางหนึ่ง ประทับนั่งคูบัลลังกตั้งพระกายตรง ดํารงพระสติมั่นเฉพาะหนา พระองคประทับนั่งลวงเลยราตรีไปเปนอันมาก. แมทานปุกกุสาติก็นั่งลวงเลยราตรีไปเปนอันมากเหมือนกัน ครั้งนั้น พระผูมีพระภาคเจาทรงพระดําริดังนี้วา กุลบุตรนี้ประพฤตินาเลื่อมใสหนอ เราควรถามดูบาง. ตอนั้น พระองคจึงตรัสถามทานปุกกุสาติดังนี้วา ดูกอนภิกษุ ทานบวชอุทิศใครเลา หรือวาใครเปนศาสดาของทาน หรือทานชอบใจธรรมของใคร


  ความคิดเห็นที่ 1  
 
chatchai.k
วันที่ 22 พ.ค. 2564

[๖๗๖] ทานปุกกุสาติ ตอบวา ดูกอนทานผูมีอายุ มีพระสมณโคดมผูศากยบุตร เสด็จออกจากศากยราชสกุลทรงผนวชแลวก็พระโคดมผูมีพระภาคเจาพระองคนั้นแล มีกิตติศัพทงามฟุงไปอยางนี้วา แมเพราะเหตุดังนี้ พระผูมีพระภาคเจาพระองคนั้นเปนผูไกลจากกิเลส รูเองโดยชอบ ถึงพรอมดวยวิชชาและจรณะ ดําเนินไปดี รูแจงโลก เปนสารถีผูฝกบุรุษที่ควรฝกอยางหาคนอื่นยิ่งกวามิได เปนครูของเทวดาและมนุษยทั้งหลาย เปนผูตื่นแลว เปนผูแจกธรรม ดังนี้ ขาพเจาบวชอุทิศพระผูมีพระภาคเจาพระองคนั้น และพระผูมีพระภาคเจาพระองคนั้นเปนศาสดาของขาพเจา ขาพเจาชอบใจธรรมของพระผูมีพระภาคเจาพระองคนั้น.

พ. ดูกอนภิกษุ ก็เดี๋ยวนี้ พระผูมีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจาพระองคนั้น ประทับอยูที่ไหน.

ปุ. ดูกอนทานผูมีอายุ มีพระนครชื่อวาสาวัตถีอยูในชนบททางทิศเหนือ เดี่ยวนี้ พระผูมีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจาพระองคนั้น ประทับอยูที่นั่น.

พ. ดูกอนภิกษุ ก็ทานเคยเห็นพระผูมีพระภาคเจาพระองคนั้นหรือ และทานเห็นแลวจะรูจักไหม.

ปุ. ดูกอนผูมีอายุ ขาพเจาไมเคยเห็นพระผูมีพระภาคเจาพระองคนั้นเลย ถึงเห็นแลวก็ไมรูจัก .

[๖๗๗] ลําดับนั้น พระผูมีพระภาคเจาไดมีพระดําริดังนี้วา กุลบุตรนี้บวชอุทิศเรา เราควรจะแสดงธรรมแกเขา. แตนั้น พระองคจึงตรัสเรียกทานปุกกุสาติวา ดูกอนภิกษุ เราจักแสดงธรรมแกทาน ทานจงฟังธรรมนั้น จงใสใจใหดี เราจักกลาวตอไป ทานปุกกุสาติทูลรับพระผูมีพระภาคเจาวา ชอบแลว ทานผูมีอายุ

 
  ความคิดเห็นที่ 2  
 
chatchai.k
วันที่ 22 พ.ค. 2564

[๖๗๖] พระผูมีพระภาคเจาจึงไดตรัสดังนี้วา ดูกอนภิกษุ คนเรานี้ มีธาตุ ๖ มีแดนสัมผัส ๖ มีความหนวงนึกของใจ ๑๘ มีธรรมที่ควรตั้งไวในใจ ๔ อันเปนธรรมที่ผูตั้งอยูแลว ไมมีกิเลสเครื่องสําคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมมเปนไป ก็เมื่อกิเลสเครื่องสําคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมมไมเปนไปอยู บัณฑิตจะเรียกเขาวามุนีผูสงบแลว ไมพึงประมาทปญญา พึงตามรักษาสัจจะ พึงเพิ่มพูนจาคะ พึงศึกษาสันติเทานั้น นี้อุเทศแหงธาตุวิภังคหก.

[๖๗๙] ก็ขอที่เรากลาวดังนี้วา ดูกอนภิกษุ คนเรานี้มีธาตุ ๖ นั้น เราอาศัยอะไรกลาวแลว. ดูกอนภิกษุ ธาตุนี้มี ๖ อยางนี้ คือ ปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ อากาสธาตุ วิญญาณธาตุ. ขอที่เรากลาวดังนี้วา ดูกอนภิกษุ คนเรานี้มีธาตุ ๖ นั้น เราอาศัยธาตุดังนี้ กลาวแลว .

[๖๘๐] ก็ขอที่เรากลาวดังนี้วา ดูกอนภิกษุ คนเรานี้มีแดนสัมผัส ๖ นั้นเราอาศัยอะไรกลาวแลว. คือ จักษุ โสต ฆานะ ชิวหา กาย มโน เปนแดนสัมผัส. ขอที่เรากลาวดังนี้วา ดูกอนภิกษุ คนเรานี้มีแดนสัมผัส. นั่น เราอาศัยอายตนะนี้ กลาวแลว.

[๖๘๑] ก็ขอที่เรากลาวดังนี้วา ดูกอนภิกษุ คนเรานี้มีความหนวงนึกของใจ ๑๘ นั้น เราอาศัยอะไรกลาวแลว. คือ บุคคลเห็นรูปดวยจักษุแลว ยอมหนวงนึกรูปเปนที่ตั้งแหงโสมนัส หนวงนึกรูปเปนที่ตั้งแหงโทมนัส หนวงนึกรูปเปนที่ตั้งแหงอุเบกขา ฟงเสียงดวยโสตแลว ... ดมกลิ่นดวยฆานะแลว ... ลิ้มรสดวยชิวหาแลว ... ถูกตองโผฏฐัพพะดวยกายแลว ... รูธรรมารมณดวยมโนแลว ยอมหนวงนึกธรรมารมณเปนที่ตั้งแหงโสมนัส หนวงนึกธรรมารมณเปนที่ตั้งแหงโทมนัส หนวงนึกธรรมารมณเปนที่ตั้งแหงอุเบกขา นี้เปนการหนวงนึกโสมนัส ๖ หนวงนึกโทมนัส ๖ หนวงนึกอุเบกขา ๖. ขอที่เรากลาวดังนี้วา ดูกอนภิกษุ คนเรานี้มีความหนวงนึกของใจ ๑๘ นั่น เราอาศัยความหนวงนึกนี้ กลาวแลว

 
  ความคิดเห็นที่ 3  
 
chatchai.k
วันที่ 22 พ.ค. 2564

[๖๘๒] ก็ขอที่เรากลาวดังนี้วา ดูกอนภิกษุ คนเรานี้มีธรรมที่ควรตั้งไวในใจ ๔ นั่น เราอาศัยอะไรกลาวแลว. คือ มีปญญาเปนธรรมควรตั้งไวในใจ มีสัจจะเปนธรรมควรตั้งไวในใจ มีจาคะเปนธรรมควรตั้งไวในใจ มีอุปสมะเปนธรรมควรตั้งไวในใจ ขอที่เรากลาวดังนี้วา ดูกอนภิกษุ คนเรานี้ มีธรรมที่ควรตั้งไวในใจ ๔ นั้น เราอาศัยธรรมที่ควรตั้งไวในใจนี้ กลาวแลว.

[๖๘๓] ก็ขอที่เรากลาวดังนี้วา ไมพึงประมาทปญญา พึงตามรักษาสัจจะ พึงเพิ่มพูนจาคะ พึงศึกษาสันติเทานั้น นั่น เราอาศัยอะไรกลาวแลว. ดูกอนภิกษุ อยางไรเลา ชื่อวาไมประมาทปญญา. ดูกอนภิกษุ ธาตุนี้มี ๖ คือ ปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ อากาสธาตุ วิญญาณธาตุ.

[๖๘๔] ดูกอนภิกษุ ก็ปฐวีธาตุเปนไฉน คือ ปฐวีธาตุภายในก็มี ภายนอกก็มี. ก็ปฐวีธาตุภายในเปนไฉน. ไดแกสิ่งที่แขนแข็ง กําหนดไดมีในตน อาศัยตน คือ ผม ขน เล็บ ฟน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก เยื่อในกระดูก มาม หัวใจ ตับ พังผืด ไต ปอด ไสใหญ ไสนอย อาหารใหม อาหารเกา หรือแมสิ่งอื่นไมวาชนิดไรๆ ที่แขนแข็ง กําหนดได มีในตน อาศัยตน นี้เรียกวาปฐวีธาตุภายใน. ก็ปฐวีธาตุทั้งภายในและภายนอก นี้แล เปนปฐวีธาตุ ทั้งนั้น. พึงเห็นปฐวีธาตุนั้น ดวยปญญาชอบตามความเปนจริงอยางนี้วา นั่นไมใชของเรา นั่นไมใชเรา นั่นไมใชอัตตาของเรา ครั้นเห็นแลวจะเบื่อหนายปฐวีธาตุ และจะใหจิตคลายกําหนัดปฐวีธาตุได

 
  ความคิดเห็นที่ 4  
 
chatchai.k
วันที่ 22 พ.ค. 2564

[๖๘๕] ดูกอนภิกษุ ก็อาโปธาตุเปนไฉน. คืออาโปธาตุภายในก็มี ภายนอกก็มี. ก็อาโปธาตุภายใน เปนไฉน. ไดแกสิ่งที่เอิบอาบ ซึมซาบไป กําหนดได มีในตน อาศัยตน คือ ดี เสลด น้ําเหลือง เลือด เหงื่อ มันขน น้ําตา เปลวมัน น้ําลาย น้ํามูก ไขขอ มูตร หรือแมสิ่งอื่นไมวาชนิดไรๆ ที่เอิบอาบซึมซาบไป กําหนดได มีในตน อาศัยตน นี้เรียกวา อาโปธาตุภายใน. ก็อาโปธาตุทั้งภายในและภายนอก นี้แล เปนอาโปธาตุทั้งนั้น. พึงเห็นอาโปธาตุนั้น ดวยปญญาชอบตามความเปนจริงอยางนี้วา นั่นไมใชของเรา นั่นไมใชเรา นั่นไมใชอัตตาของเรา. ครั้นเห็นแลว จะเบื่อหนายอาโปธาตุ และจะใหจิตคลายกําหนัดอาโปธาตุได.

[๖๘๖] ดูกอนภิกษุ ก็เตโชธาตุเปนไฉน. คือ เตโชธาตุภายในก็มี ภายนอกก็มี. ก็เตโชธาตุภายในเปนไฉน. ไดแกสิ่งที่อบอุน ถึงความเรารอน กําหนดได มีในตน อาศัยตน คือ ธาตุที่เปนเครื่องยังกายใหอบอุน ยังกายใหทรุดโทรม ยังกายใหกระวนกระวาย และธาตุที่เปนเหตุใหของที่กิน ที่ดื่ม ที่เคี้ยว ที่ลิ้มแลวถึงความยอยไปดวยดี หรือแมสิ่งอื่นไมวาชนิดไรๆ ที่อบอุน ถึงความเรารอนกําหนดได มีในตน อาศัยตน นี้เรียกวา เตโชธาตุ ภายใน. ก็เตโชธาตุทั้งภายในและภายนอกนี้แล เปนเตโชธาตุทั้งนั้น. พึงเห็นเตโชธาตุนั้นดวยปญญาชอบตามความเปนจริงอยางนี้วา นั่นไมใชของเรา นั่นไมใชเรา นั่นไมใชอัตตาของเรา ครั้นเห็นแลว จะเบื่อหนายเตโชธาตุ และจะใหจิตคลายกําหนัดเตโชธาตุได.

[๖๘๗] ดูกอนภิกษุ ก็วาโยธาตุเปนไฉน. คือ วาโยธาตุภายในก็มี ภายนอกก็มี. ก็วาโยธาตุภายในเปนไฉน. ไดแกสิ่งที่พัดผันไป กําหนดได มีในตน อาศัยตน คือ ลมพัดขึ้นเบื้องบน ลมพัดลงเบื้องต่ํา ลมในทอง ลมในลําไส ลมแลนไปตามอวัยวะนอยใหญ ลมหายใจออก ลมหายใจเขา หรือแมสิ่งอื่นไมวาชนิดไรๆ ที่พัดผันไป กําหนดได มีในตน อาศัยตน นี้เรียกวาวาโยธาตุภายใน. ก็วาโยธาตุทั้งภายในและภายนอก นี้แล เปนวาโยธาตุทั้งนั้น . พึงเห็นวาโยธาตุนั้น ดวยปญญาชอบตามความเปนจริงอยางนี้วา นั่นไมใชของเรา นั่นไมใชเรา นั่นไมใชอัตตาของเรา ครั้นเห็นแลว จะเบื่อหนายวาโยธาตุ และจะใหจิตคลายกําหนัดวาโยธาตุได

 
  ความคิดเห็นที่ 5  
 
chatchai.k
วันที่ 22 พ.ค. 2564

[๖๘๘] ดูกอนภิกษุ ก็อากาสธาตุเปนไฉน คือ อากาสธาตุภายในก็มี ภายนอกก็มี ก็อากาสธาตุภายในเปนไฉน. ไดแกสิ่งที่วาง ปรุโปรง กําหนดได มีในตน อาศัยตน คือ ชองหู ชองจมูก ชองปากซึ่งเปนทางใหกลืนของที่กิน ที่ดม ที่เคี้ยว ที่ลิ้ม. เปนที่ตั้งของที่กิน ที่ดื่ม ที่เคี้ยว ที่ลิ้ม และเปนทางระบายของที่กิน ที่ดม ที่เคี้ยว ที่ลิ้มแลวออกทางเบื้องลาง หรือแมสิ่งอื่น ไมวาชนิดไรๆ ที่วาง ปรุโปรง กําหนดได มีในตน อาศัยตน นี้เรียกวา อากาสธาตุภายใน. ก็อากาสธาตุทั้งภายในและภายนอก นี้แล เปนอากาสธาตุ ทั้งนั้น. พึงเห็นอากาสธาตุนั้นดวยปญญาชอบตามความเปนจริงอยางนี้วา นั้นไมใชของเรา นั่นไมใชเรา นั้นไมใชอัตตาของเรา. ครั้นเห็นแลว จะเบื่อหนายอากาสธาตุ และจะใหจิตคลายกําหนัดอากาสธาตุได.

[๖๘๙] ตอนั้น สิ่งที่จะเหลืออยูอีกก็คือวิญญาณอันบริสุทธิ์ผุดผอง บุคคลยอมรูอะไรๆ ไดดวยวิญญาณนั้น คือ รูชัดวา สุขบาง ทุกขบาง ไมทุกขไมสุขบาง. ดูกอนภิกษุ เพราะอาศัยผัสสะเปนที่ตั้งแหงสุขเวทนา ยอมเกิดสุขเวทนา. บุคคลนั้นเมื่อเสวยสุขเวทนา ยอมรูชัดวา กําลังเสวยสุขเวทนาอยู เพราะผัสสะเปนที่ตั้งแหงสุขเวทนานั้นแลดับไป ยอมรูชัดวา ความเสวยอารมณที่เกิดแตผัสสะนั้น คือตัวสุขเวทนาอันเกิดเพราะอาศัยผัสสะเปนที่ตั้งแหงสุขเวทนา ยอมดับ ยอมเขาไปสงบ เพราะอาศัยผัสสะเปนที่ตั้งแหงทุกขเวทนา ยอมเกิดทุกขเวทนา. บุคคลนั้น เมื่อเสวยทุกขเวทนา ยอมรูชัดวา กําลังเสวยทุกขเวทนาอยู เพราะผัสสะเปนที่ตั้งแหงทุกขเวทนานั้นแลดับไป ยอมรูชัดวา ความเสวยอารมณที่เกิดแตผัสสะนั้น คือตัวทุกขเวทนาอันเกิดเพราะอาศัยผัสสะเปนที่ตั้งแหงทุกขเวทนา ยอมดับ ยอมเขาไปสงบ เพราะอาศัยผัสสะเปนที่ตั้งแหงอทุกขมสุขเวทนา ยอมเกิดอทุกขมสุขเวทนา บุคคลนั้น เมื่อเสวยอทุกขมสุขเวทนา ยอมรูชัดวา กําลังเสวยอทุกขมสุขเวทนาอยู เพราะผัสสะเปนที่ตั้งแหงอทุกขมสุขเวทนานั้นแลดับไป ยอมรูชัดวาความเสวยอารมณที่เกิดแตผัสสะนั้น คือตัวอทุกขมสุขเวทนาอันเกิดเพราะอาศัยผัสสะเปนที่ตั้งแหงอทุกขมสุขเวทนา ยอมดับ ยอมเขาไปสงบ

 
  ความคิดเห็นที่ 6  
 
chatchai.k
วันที่ 22 พ.ค. 2564

[๖๙๐] ดูกอนภิกษุ เปรียบเหมือนเกิดความรอน เกิดไฟได เพราะไมสองทอนประชุมสีกัน ความรอนที่เกิดแตไมสองทอนนั้น ยอมดับ ยอมเขาไปสงบ เพราะไมสองทอนนั้นเองแยกกันไปเสียคนละทาง แมฉันใด ดูกอนภิกษุ ฉันนั้นเหมือนกันแล เพราะอาศัยผัสสะเปนที่ตั้งแหงสุขเวทนา ยอมเกิดสุขเวทนา. บุคคลนั้น เมื่อเสวยสุขเวทนา ยอมรูชัดวา กําลังเสวยสุขเวทนาอยู เพราะผัสสะเปนที่ตั้งแหงสุขเวทนานั้นแลดับไป ยอมรูชัดวา ความเสวยอารมณที่เกิดแตผัสสะนั้น คือตัวสุขเวทนาอันเกิดเพราะอาศัยผัสสะเปนที่ตั้งแหงสุขเวทนา ยอมดับ ยอมเขาไปสงบ เพราะอาศัยผัสสะเปนที่ตั้งแหงทุกขเวทนา ยอมเกิดทุกขเวทนา บุคคลนั้นเมื่อเสวยทุกขเวทนา ยอมรูชัดวา กําลังเสวยทุกขเวทนาอยู เพราะผัสสะเปนที่ตั้งแหงทุกขเวทนานั้นแลดับไป ยอมรูชัดวา ความเสวยอารมณที่เกิดแตผัสสะนั้น คือตัวทุกขเวทนาอันเกิดเพราะอาศัยผัสสะเปนที่ตั้งแหงทุกขเวทนา ยอมดับ ยอมเขาไปสงบ. เพราะอาศัยผัสสะเปนที่ตั้งแหงอทุกขมสุขเวทนา ยอมเกิดอทุกขมสุขเวทนา. บุคคลนั้น เมื่อเสวยอทุกขมสุขเวทนา ยอมรูชัดวา กําลังเสวยอทุกขมสุขเวทนาอยู เพราะผัสสะเปนที่ตั้งแหงอทุกขมสุขเวทนานั้นแลดับไป ยอมรูชัดวา ความเสวยอารมณที่เกิดแตผัสสะนั้น คือตัวอทุกขมสุขเวทนาอันเกิดเพราะอาศัยผัสสะ เปนที่ตั้งแหงอทุกขมสุขเวทนา ยอมดับ ยอมเขาไปสงบ. ตอนั้น สิ่งที่จะ เหลืออยูอีกก็คือ อุเบกขา อันบริสุทธิ์ ผุดผอง ออน ควรแกการงานและผองแผว

 
  ความคิดเห็นที่ 7  
 
chatchai.k
วันที่ 22 พ.ค. 2564

[๖๙๑] ดูกอนภิกษุ เปรียบเหมือนนายชางทอง หรือลูกมือของนายชางทองผูฉลาด ติดเตาสุมเบาแลว เอาคีมคีบทองใสเบา หลอมไป ซัดน้ําไป สังเกตดูไปเปนระยะๆ ทองนั้น จะเปนของถูกไลขี้แลว หมดฝา เปนเนื้อออน สลวย และผองแผว เขาประสงคชนิดเครื่องประดับใดๆ จะเปนแหวน ตุมหู เครื่องประดับคอ มาลัยทองก็ตาม ยอมสําเร็จความประสงคอันนั้นแตทองนั้นได ฉันใด ดูกอนภิกษุ ฉันนั้นเหมือนกันแล เมื่อเหลืออยูแตอุเบกขา อันบริสุทธิ์ ผุดผอง ออน ควรแกการงาน และผองแผว บุคคลนั้นยอมรูชัดอยางนี้วา ถาเรานอมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ ผุดผองอยางนี้ เขาไปสูอากาสานัญจายตนฌาน และเจริญจิตมีธรรมควรแกฌานนั้น เมื่อเปนเชนนี้ อุเบกขาของเรานี้ ก็จะเปนอุเบกขาอาศัยอากาสานัญจายตนฌานนั้น ยึดอากาสานัญจายตนฌานนั้น ดํารงอยูตลอดกาลยืนนาน ถาเรานอมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ ผุดผองอยางนี้ เขาไปสูวิญญาณัญจายตนฌาน และเจริญจิตมีธรรมควรแกฌานนั้น เมื่อเปนเชนนี้ อุเบกขาของเรานี้ก็จะเปนอุเบกขาอาศัยวิญญาณัญจายตนฌานนั้น ยึดวิญญาณัญจายตนฌานนั้น ดํารงอยูตลอดกาลยืนนาน ถาเรานอมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ ผุดผองอยางนี้ เขาไปสูอากิญจัญญายตนฌาน และเจริญจิตมีธรรมควรแกฌานนั้น เมื่อเปนเชนนี้ อุเบกขาของเรานี้ ก็จะเปนอุเบกขาอาศัยอากิญจัญญายตนฌานนั้น ยึดอากิญจัญญายตนฌานนั้น ดํารงอยูตลอดกาลยืนนาน ถาเรานอมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ ผุดผองอยางนี้ เขาไปสูเนวสัญญานาสัญญายตนฌานนั้น และเจริญจิตมีธรรมควรแกฌานนั้น เมื่อเปนเชนนี้ อุเบกขาของเรานี้ ก็จะเปนอุเบกขาอาศัยเนวสัญญานาสัญญายตนฌานนั้น ยึดเนวสัญญานาสัญญายตนฌานนั้น ดํารงอยูตลอดกาลยืนนาน

 
  ความคิดเห็นที่ 8  
 
chatchai.k
วันที่ 22 พ.ค. 2564

บุคคลนั้น ยอมรูชัดอยางนี้วา ถาเรานอมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ ผุดผองอยางนี้ เขาไปสูอากาสานัญจายตนฌาน และเจริญจิตมีธรรมควรแกฌานนั้น จิตนี้ก็เปนสังขตะ ถาเรานอมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ ผุดผองอยางนี้ เขาไปสูวิญญาณัญจายตนฌาน และเจริญจิตมีธรรมควรแกฌานนั้น จิตนี้ก็เปนสังขตะ ถาเรานอมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ ผุดผองอยางนี้ เขาไปสูอากิญจัญญายตนฌาน และเจริญจิตมีธรรมควรแกฌานนั้น จิตนี้ก็เปนสังขตะ ถาเรานอมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ ผุดผองอยางนี้ เขาไปสูเนวสัญญานาสัญญายตนฌาน และเจริญจิตมีธรรมควรแกฌานนั้น จิตนี้ก็เปนสังขตะ. บุคคลนั้นจะไมคํานึง จะไมคิดถึงความเจริญหรือความเสื่อมเลย เมื่อไมคํานึง ไมคิดถึง ยอมไมยึดมั่นอะไรๆ ในโลก เมื่อไมยึดมั่น ยอมไมหวาดเสียว เมื่อไมหวาดเสียว ยอมปรินิพพานเฉพาะตนทีเดียว ยอมทราบชัดวา ชาติสิ้นแลว พรหมจรรยอยูจบแลว กิจที่ควรทําไดทําเสร็จแลว กิจอื่นเพื่อความเปนอยางนี้มิไดมี. ถาเขาเสวยสุขเวทนาอยู ยอมรูชัดวา สุขเวทนานั้นไมเที่ยง อันบัณฑิตไมติดใจ ไมเพลิดเพลิน ถาเสวยทุกขเวทนาอยู ยอมรูชัดวา ทุกขเวทนานั้น ไมเที่ยง อันบัณฑิตไมติดใจ ไมเพลิดเพลิน ถาเสวยอทุกขมสุขเวทนาอยู ยอมรูชัดวา อทุกขมสุขเวทนานั้น ไมเที่ยง อันบัณฑิตไมติดใจ ไมเพลิดเพลิน ถาเสวยสุขเวทนาก็เปนผูไมประกอบเสวย ถาเสวยทุกขเวทนาก็เปนผูไมประกอบเสวย ถาเสวยอทุกขมสุขเวทนาก็เปนผูไมประกอบเสวย เขาเมื่อเสวยเวทนามีกายเปนที่สุด ยอมรูชัดวา กําลังเสวยเวทนามีกายเปนที่สุด เมื่อเสวยเวทนามีชีวิตเปนที่สุด ยอมรูชัดวา กําลังเสวยเวทนามีชีวิตเปนที่สุด และรูชัดวา เบื้องหนา แตสิ้นชีวิต เพราะตายไปแลว ความเสวยอารมณทั้งหมดที่ยินดีกันแลวในโลกนี้แล จักเปนของสงบ

 
  ความคิดเห็นที่ 9  
 
chatchai.k
วันที่ 22 พ.ค. 2564

[๖๙๒] ดูกอนภิกษุ เปรียบเหมือนประทีปน้ํามัน อาศัยน้ํามันและไส จึงโพลงอยูได เพราะสิ้นน้ํามันและไสนั้น และไมเติมน้ํามัน และไสอื่น ยอมเปนประทีปหมดเชื้อ ดับไป ฉันใด ดูกอนภิกษุ ฉันนั้นเหมือนกันแล บุคคลนั้นเมื่อเสวยเวทนามีกายเปนที่สุด ยอมรูชัดวา กําลังเสวยเวทนามีกาย เปนที่สุด เมื่อเสวยเวทนามีชีวิตเปนที่สุด ยอมรูชัดวา กําลังเสวยเวทนามีชีวิต เปนที่สุด และรูชัดวา เบื้องหนาแตสิ้นชีวิต เพราะตายไปแลว ความเสวยอารมณทั้งหมดที่ยินดีกันแลวในโลกนี้แล จักเปนของสงบ. เพราะเหตุนั้น ผูถึงพรอมดวยความรูสึกอยางนี้ ชื่อวาเปนผูถึงพรอมดวยปญญาอันเปนธรรม ควรตั้งไวในใจอยางยิ่งดวยประการนี้. ก็ปญญานี้ คือความรูในความสิ้นทุกขทั้งปวงเปนปญญาอันประเสริฐยิ่ง ความหลุดพนของเขานั้น จัดวาตั้งอยูในสัจจะ เปนคุณไมกําเริบ. ดูกอนภิกษุ เพราะสิ่งที่เปลาประโยชนเปนธรรมดา นั้นเท็จ สิ่งที่ไมเลอะเลือนเปนธรรมดา ไดแกนิพพาน นั้นจริง ฉะนั้น ผูถึงพรอม ดวยสัจจะอยางนี้ ชื่อวา เปนผูถึงพรอมดวยสัจจะอันเปนธรรมควรตั้งไวในใจ อยางยิ่งประการนี้. ก็สัจจะนี้ คือนิพพาน มีความไมเลอะเลือนเปนธรรมดา เปนสัจจะอันประเสริฐยิ่ง

อนึ่ง บุคคลนั่นแล ยังไมทราบในกาลกอน จึงเปนอันพรั่งพรอม สมาทานอุปธิเขาไป อุปธิเหลานั้นเปนอันเขาละไดแลว ถอนรากขึ้นแลว ทําใหเหมือนตาลยอดดวนแลว ถึงความเปนอีกไมได มีความไมเกิดตอไปเปนธรรมดา เพราะฉะนั้น ผูถึงพรอมดวยการสละอยางนี้ ชื่อวา เปนผูถึงพรอมดวยจาคะอันเปนธรรมควรตั้งไวในใจอยางยิ่งประการนี้. ก็จาคะนี้ คือความสละคืนอุปธิทั้งปวง เปนจาคะอันประเสริฐยิ่ง. อนึ่ง บุคคลนั้นแล ยังไมทราบในกาลกอน จึงมีอภิชฌา ฉันทะ ราคะกลา อาฆาต พยาบาท ความคิดประทุษราย อวิชชา ความหลงพรอม และความหลงงมงาย อกุศลธรรมนั้นๆ เปนอันเขาละไดแลว ถอนรากขึ้นแลว ทําใหเหมือนตาลยอดดวนแลว ถึงความเปนอีกไมได มีความไมเกิดตอไปเปนธรรมดา เพราะฉะนั้น ผูถึงพรอมดวยความสงบอยางนี้ ชื่อวา เปนผูถึงพรอม ดวยอุปสมะอันเปนธรรมควรตั้งไวในใจอยางยิ่งประการนี้. ก็อุปสมะนี้ คือความเขาไปสงบราคะ โทสะ โมหะ เปนอุปสนะอันประเสริฐอยางยิ่ง ขอที่เรากลาวดังนี้วา ไมพึง ประมาทปญญา พึงตามรักษาสัจจะ พึงเพิ่มพูนจาคะ พึงศึกษาสันติเทานั้น. นั่น เราอาศัยเนื้อความนี้ กลาวแลว

 
  ความคิดเห็นที่ 10  
 
chatchai.k
วันที่ 22 พ.ค. 2564

[๖๙๓] ก็ขอที่เรากลาวดังนี้วา คนเรามีธรรมที่ควรตั้งไวในใจ ๔ อันเปนธรรมที่ผูตั้งอยูแลว ไมมีกิเลสเครื่องสําคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมม เปนไป ก็เมื่อกิเลสเครื่องสําคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมม ไมเปนไปอยู บัณฑิตจะเรียกเขาวา มุนีผูสงบแลว นั่น เราอาศัยอะไรกลาวแลว. ดูกอนภิกษุ ความสําคัญตนมีอยูดังนี้วา เราเปน เราไมเปน เราจักเปน เราจัก ไมเปน เราจักตองเปนสัตวมีรูป เราจักตองเปนสัตวไมมีรูป เราจักตองเปนสัตวมีสัญญา เราจักตองเปนสัตวไมมีสัญญา เราจักตองเปนสัตวไมมีสัญญา ก็มิใชมีสัญญาก็มิใช.

ดูกอนภิกษุ ความสําคัญตนจัดเปนโรค เปนหัวผี เปนลูกศร ก็ทานเรียกบุคคลวา เปนมุนีผูสงบแลว เพราะลวงความสําคัญตน ไดทั้งหมดเทียว และมุนีผูสงบแลวแล ยอมไมเกิดไมแก ไมตาย ไมกําเริบ. ไมทะเยอทะยาน. แมมุนีนั้นก็ไมมีเหตุที่จะตองเกิดเมื่อไมเกิด จักแกไดอยางไร เมื้อไมแก จักตายไดอยางไร เมื่อไมตาย จักกําเริบไดอยางไร เมื่อไมกําเริบ จักทะเยอทะยานไดอยางไร. ขอที่เรากลาวดังนี้วา คนเรามีธรรมที่ควรตั้งไว ในใจ ๔ อันเปนธรรมที่ผูตั้งอยูแลว ไมมีกิเลสเครื่องสําคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมม เปนไป ก็เมื่อกิเลสเครื่องสําคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมม ไมเปนไปอยู บัณฑิตจะเรียกเขาวา มุนีผูสงบแลว นั่นเราอาศัยเนื้อความกลาวแลว

ดูกอนภิกษุ ทานจงทรงจําธาตุวิภังค ๖ โดยยอนี้ของเราไวเถิด

 
  ความคิดเห็นที่ 11  
 
chatchai.k
วันที่ 22 พ.ค. 2564

[๖๙๔] ลําดับนั้นแล ทานปุกกุสาติทราบแนนอนวา พระศาสดา พระสุคต พระสัมมาสัมพุทธเจาเสด็จมาถึงแลวโดยลําดับ จึงลุกจากอาสนะ ทําจีวรเฉวียงบาขางหนึ่ง ซบเศียรลงแทบพระยุคลบาทของพระผูมีพระภาคเจา แลวทูลพระผูมีพระภาคเจาดังนี้วา ขาแตพระองคผูเจริญ โทษลวงเกินไดตองขาพระองคเขาแลว ผูมีอาการโงเขลาไมฉลาด ซึ่งขาพระองคไดสําคัญถอยคําที่เรียกพระผูมีพระภาคเจาดวยวาทะวา ดูกอนทานผูมีอายุ ขอพระผูมีพระภาคเจาจงรับอดโทษลวงเกินแกขาพระองค เพื่อจะสํารวมตอไปเถิด

[๖๙๕] พ. ดูกอนภิกษุ เอาเถอะ โทษลวงเกินไดตองเธอผูมีอาการโงเขลา ไมฉลาด ซึ่งเธอไดสําคัญถอยคําที่เรียกเราดวยวาทะวา ดูกอนทานผูมีอายุ แตเพราะเธอเห็นโทษลวงเกินโดยความเปนโทษแลวกระทําคืนตามธรรม เราขอรับอดโทษนั้นแกเธอ ดูกอนภิกษุ ก็ขอที่บุคคลเห็นโทษลวงเกินโดยความเปนโทษแลวกระทําคืนตามธรรม ถึงความสํารวมตอไปได นั้น เปนความเจริญในอริยวินัย

ปุ. ขาแตพระองคผูเจริญ ขอขาพระองคพึงไดอุปสมบทในสํานักของพระผูมีพระภาคเจาเถิด.

พ. ดูกอนภิกษุ ก็บาตรจีวรของเธอครบแลวหรือ

ปุ. ยังไมครบ พระพุทธเจาขา.

พ. ดูกอนภิกษุ ตถาคตทั้งหลาย จะใหกุลบุตรผูมีบาตรและจีวรยังไมครบ อุปสมบทไมไดเลย

[๖๙๖] ลําดับนั้นทานปุกกุสาติ ยินดี อนุโมทนาพระภาษิตของพระผูมีพระภาคเจาแลว ลุกจากอาสนะ ถวายอภิวาทพระผูมีพระภาคเจากระทําประทักษิณแลว หลีกไปหาบาตรจีวร. ทันใดนั้นแล แมโคไดปลิดชีพทานปุกกุสาติ ผูกําลังเที่ยวหาบาตรจีวรอยู. ตอนั้น ภิกษุมากรูปดวยกัน ไดเขาไปเฝาพระผูมีพระภาคเจายังที่ประทับแลวถวายอภิวาทพระผูมีพระภาคเจา นั่ง ณ ที่ควรสวนขางหนึ่ง พอนั่งเรียบรอยแลวไดทูลพระผูมีพระภาคเจาดังนี้วา ขาแตพระองคผูเจริญ กุลบุตรชื่อปุกกุสาติที่พระผูมีพระภาคเจาตรัสสอนดวย พระโอวาทยอๆ คนนั้น ทํากาละเสียแลว เขาจะมีคติอยางไร มีสัมปรายภพ อยางไร

[๖๙๗] พ. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ปุกกุสาติกุลบุตรเปนบัณฑิต ไดบรรลุธรรมสมควรแกธรรมแลว ทั้งไมใหเราลําบากเพราะเหตุแหงธรรม ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ปุกกุสาติกุลบุตร เปนผูเขาถึงอุปปาติกเทพ เพราะสิ้นสัญโญชนอันเปนสวนเบื้องต่ํา ๕ เปนอันปรินิพพานในโลกนั้น มีความไมกลับมาจากโลกนั้นอีกเปนธรรมดา. พระผูมีพระภาคเจาไดตรัสพระภาษิตนี้แลว ภิกษุเหลานั้น ตางชื่นชมยินดีพระภาษิตของพระผูมีพระภาคเจาแล

จบ ธาตุวิภังคสูตร ที่ ๑๐

 
  ความคิดเห็นที่ 12  
 
chatchai.k
วันที่ 22 พ.ค. 2564

ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น

 
  ความคิดเห็นที่ 13  
 
chatchai.k
วันที่ 22 พ.ค. 2564
 
  ความคิดเห็นที่ 14  
 
yu_da2554hotmail
วันที่ 28 ก.พ. 2566

ยินดีในกุศลจิตค่ะ

 
เขียนความคิดเห็น กรุณาเข้าระบบ