อรรถกถาธาตุวิภังคสูตร

 
chatchai.k
วันที่  22 พ.ค. 2564
หมายเลข  34260
อ่าน  1,434

[เล่มที่ 23] พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ เล่ม ๓ ภาค ๒ - หนาที่ 347-380

อรรถกถาธาตุวิภังคสูตร

ธาตุวิภังคสูตร มีคําเริ่มตนวา ขาพเจาไดสดับอยางนี้:-

ในบทเหลานั้น บทวา จาริก ไดแก จาริกไปโดยรีบดวน.

บทวา สเจ เต อครุ ความวา ถาไมเปนความหนักใจ คือ ไมผาสุกอะไรแกทาน

บทวา สเจ โส อนุชานาติ ความวาไดยินวา ภัคควะมีความคิดอยางนี้วา ธรรมดาบรรพชิตทั้งหลาย ยอมมีอัธยาศัยตางกัน คนหนึ่งมีหมูเปนที่มายินดี คนหนึ่งยินดีอยูคนเดียว ถาคนนั้นยินดีอยูคนเดียว จักกลาววา ดูกอนผูมีอายุ ทานอยาเขามาขาพเจาไดศาลาแลว ถาคนนี้ยินดีอยูคนเดียวก็จักพูดวา ดูกอนผูมีอายุ ทานจงออกไป ขาพเจาไดศาลาแลว เมื่อเปนเชนนี้ เราก็จักเปนเหตุใหคนทั้งสองทําการทะเลาะกัน ธรรมดาสิ่งที่ใหแลว ก็ควรเปนอันใหแลว เทียว สิ่งที่ทําแลว ก็ควรเปนอันทําแลวแล. เพราะฉะนั้น จึงกลาวอยางนี้.

บทวา กุลปุตฺโต ไดแก กุลบุตรโดยชาติบาง กุลบุตรโดยมรรยาทบาง.

บท วา วาสูปคโต ไดแกเขาไปอยูแลว

ถามวา กุลบุตรนั้น มาจากไหน

ตอบวา จากนครตักกศิลา ในเรื่องนั้นมีการเลาโดยลําดับดังนี้

ไดยินวา ครั้นเมื่อพระเจาพิมพิสารเสวยราชสมบัติในพระนครราชคฤห ในมัชฌิมประเทศ พระเจาปุกกุสาติเสวยราชสมบัติในพระนครตักกศิลา ในปจจันตประเทศ. ครั้งนั้น พอคาทั้งหลายตางก็เอาสินคาจากพระนครตักกศิลามาสูพระนครราชคฤหนําบรรณาการไปถวายแตพระราชา. พระราชาตรัสถามพอคาเหลานั้น ผูยืนถวายบังคมวา พวกทานอยูที่ไหน. ขอเดชะ อยูในพระนคร. ตักกศิลา. ลําดับนั้น พระราชาตรัสถามถึงความเกษม และความที่ภิกษาหาไดงายเปนตน ของชนบทและประวัติแหงพระนครกะพอคาเหลานั้นแลว


  ความคิดเห็นที่ 1  
 
chatchai.k
วันที่ 22 พ.ค. 2564

ตรัสถามวา พระราชาของพวกทานมีพระนามอยางไร พระนามวา ปุกกุสาติ พระพุทธเจาขา ทรงดํารงอยูในธรรมหรือ อยางนั้น พระพุทธเจาขา ทรงดํารงอยูในธรรม ทรงสงเคราะหชนดวยสังคหวัตถุสี่ ทรงดํารงอยูในฐานะมารดาบิดาของ โลก ทรงยังชนดุจทารกนอนบนตักใหยินดี ทรงมีวัยเทาใด

ลําดับนั้น พวกพอคาทูลบอกวัยแดพระราชานั้น. ทรงมีวัยเทากับพระเจาพิมพิสาร. ครั้งนั้น พระราชาตรัสกะพอคาเหลานั้นวา ดูกอนพอทั้งหลาย พระราชาของพวกทาน ดํารงอยูในธรรม และทรงมีวัยเทากับเรา พวกทานพึงอาจเพื่อทําพระราชาของพวกทานใหเปนมิตรกับเราหรือ. อาจ พระพุทธเจาขา. พระราชาทรงสละภาษีแกพอคาเหลานั้น ทรงใหพระราชทานเรือนแลวตรัสวา พวกทานประสงคในเวลาขายสินคากลับไป พวกทานพึงพบเราแลวจึงกลับไปดังนี้. พอคาเหลานั้น ทําอยางนั้นแลว เขาไปเฝาพระราชาในเวลากลับ. พระราชาตรัสวา พวกทานจงกลับไป พวกทานจงทูลถามถึงความไมมีพระโรคบอยๆ ตามคําของเรา แลวทูลวา พระราชาทรงพระประสงคมิตรภาพกับพระองค. พอคาเหลานั้น ทูลรับพระราชโองการแลว ไปรวบรวมสินคา รับประทานอาหารเชาแลว เขาไปถวายบังคมพระราชา. พระราชาตรัสถามวา แนะพนาย พวกทานไปไหน ไมเห็นหลายวันแลว. พวกพอคาทูลบอกเรื่องราวทั้งหมดแดพระราชา.

พระราชาทรงมีพระหฤทัยยินดีวา ดูกอนพอทั้งหลาย เปนการดีเชนกับเราพระราชาในมัชฌิมประเทศไดมิตรแลวเพราะอาศัยพวกทาน. ในเวลาตอมา พอคาทั้งหลายแมอยูในพระนครราชคฤห ก็ไปสูพระนครตักกศิลา. พระเจาปุกกุสาติตรัสถามพอคาเหลานั้น ผูถือบรรณาการมาวา พวกทานมาจากไหน. พระราชาทรงสดับวาจากพระนครราชคฤห จึงตรัสวา พวกทานมาจากพระนครของพระสหายเรา อยางนั้น พระพุทธเจาขา พระราชาตรัสถามถึงความไมมีพระโรควา พระสหายของพระราชาตรัสถามถึงความไมมีพระโรควา พระสหายของเราไมมีพระโรคหรือ แลวทรงใหตีกลองประกาศวา จําเดิมแตวันนี้ พวกพอคาเดินเทา หรือพวกเกวียนเหลาใด มาจากพระนครของพระสหายเรา จําเดิมแตกาลที่พอคาทั้งปวงเขามาสูเขตแดนของเรา จงใหเรือนเปนที่พักอาศัยและเสบียงจากพระคลังหลวง จงสละภาษี อยาทําอันตรายใดๆ แกพอคาเหลานั้น ดังนี้

 
  ความคิดเห็นที่ 2  
 
chatchai.k
วันที่ 22 พ.ค. 2564

พระราชาตรัสถามถึงความไมมีพระโรควา พระสหายของเราไมมีพระโรคหรือ แลวทรงใหตีกลองประกาศวา จําเดิมแตวันนี้ พวกพอคาเดินเทา หรือพวกเกวียนเหลาใด มาจากพระนครของพระสหายเรา จําเดิมแตกาลที่พอคาทั้งปวง เขามาสูเขตแดนของเรา จงใหเรือนเปนที่พักอาศัยและเสบียงจากพระคลังหลวง จงสละภาษี อยาทําอันตรายใดๆ แกพอคาเหลานั้น ดังนี้.

ฝายพระเจาพิมพิสารก็ทรงใหตีกลองประกาศเชนนี้ เหมือนกันในพระนครของพระองค. ลําดับนั้น พระเจาพิมพิสารไดทรงสงพระบรรณาการแกพระเจาปุกกุสาติ วา รัตนะทั้งหลายมีแกวมณีและมุกดาเปนตน ยอมเกิดในปจจันตประเทศ รัตนะใดที่ควรเห็นหรือควรฟง เกิดขึ้นในราชสมบัติแหงพระสหายของเรา ขอพระสหายเราจงอยาทรงตระหนี่ในรัตนะนั้น . ฝายพระเจาปุกกุสาติ ก็ทรงสงพระราชบรรณาการตอบไปวา ธรรมดามัชฌิมประเทศเปนมหาชนบท รัตนะเห็นปานนี้ใด ยอมเกิดในมหาชนบทนั้น ขอพระสหายของเราจงอยาทรง ตระหนี่ในรัตนะนั้น. เนื้อกาลลวงไปๆ อยางนี้ พระราชาเหลานั้น แมไมทรงเห็นกัน ก็เปนมิตรแนนแฟน.

เมื่อพระราชาทั้งสองพระองคนั้น ทรงทําการตรัสอยูอยางนี้ บรรณาการยอมเกิดแกพระเจาปุกกุสาติกอน. ไดยินวา พระราชาทรงไดผากัมพล ๘ ผืน อันหาคามิได มีหาสี. พระราชานั้นทรงพระดําริวา ผากัมพลเหลานี้งามอยางยิ่ง เราจักสงใหพระสหายของเรา. ทรงสงอํามาตยทั้งหลายดวยพระดํารัสวา พวกทานจงใหทําผอบแข็งแรง ๘ ผอบ เทากอนครั่งใสผากัมพลเหลานั้น ในผอบเหลานั้น ใหประทับดวยครั่งพันดวยผาขาวใสในหีบพันดวยผา ประทับดวยตราพระราชลัญจกรแลวถวายแกพระสหายของเรา และไดพระราชทานพระราชสาสนวา บรรณาการนี้ อันเราผูอํามาตย เปนตน แวดลอมแลว เห็นในทามกลางพระนคร. อํามาตยเหลานั้น ไปทูลถวาย แดพระเจาพิมพิสาร.

 
  ความคิดเห็นที่ 3  
 
chatchai.k
วันที่ 22 พ.ค. 2564

พระเจาพิมพิสารนั้น ทรงสดับพระราชสาสน ทรงใหตีกลองประกาศวา ชนทั้งหลายมีอํามาตยเปนตน จงประชุม ดังนี้ อันอํามาตยเปนตนแวดลอม แลวในทามกลางพระนคร ทรงมีพระเศวตฉัตรกั้นประทับนั่งบนพระราชบัลลังกอันประเสริฐ ทรงทําลายรอยประทับ เปดผาออก เปดผอบ แกเครื่องภายใน ทรงเห็นกอนครั่ง ทรงพระราชดําริวา พระเจาปุกกุสาติพระสหายของเรา คงสําคัญวา พระสหายของเรามีพระราชหฤทัยรุงเรือง จึงทรงสงพระราชบรรณาการนี้ไปใหดังนี้. ทรงจับกอนอันหนึ่งแลวทรงทุบดวยพระหัตถ พิจารณาดู ก็ไมทรงทราบวา ภายในมีเครื่องผา.

ลําดับนั้น ทรงที่กอนนั้นที่เชิงพระราชบัลลังก. ทันใดนั้น ครั่งก็แตกออก. พระองคทรงเปดผอบดวยพระนขา ทรงเห็นกัมพลรัตนะภายในแลว ทรงใหเปดผอบทั้งหลาย แมนอกนี้. แมทั้งหมด ก็เปนผากัมพล. ลําดับนั้น ทรงใหคลีผากัมพลเหลานั้น. ผากัมพลเหลานั้น ถึงพรอมดวยสี ถึงพรอมดวยผัสสะ ยาว ๑๖ ศอก กวาง ๘ ศอก. มหาชนทั้งหลาย เห็นแลวกระดิกนิ้ว ทําการยกผาเล็กๆ ขึ้น พากันดีใจวา พระเจาปุกกุสาติ พระสหายไมเคยพบเห็นของพระราชาแหงพวกเรา ไมทรงเห็นกันเลย ยังทรงสงพระราชบรรณาการเห็นปานนี้ สมควรแทเพื่อทําพระราชาเห็นปานนี้ใหเปนมิตร.

พระราชาทรงใหตีราคาผากัมพลแตละผืน. ผากัมพลทุกผืน หาคามิได. ในผากัมพลแปดผืนนั้น ทรงถวายสี่ผืนแดพระสัมมาสัมพุทธเจา. ทรงไวใชสี่ผืนในพระราชวังของพระองค. แตนั้น ทรงพระราชดําริวา การที่ เราเมื่อจะสงภายหลัง ก็ควรสงบรรณาการดีกวาบรรณาการที่สงแลวกอน ก็พระสหายไดสงบรรณาการอันหาคามิไดแกเรา เราจะสงอะไรดีหนอ. ก็ในกรุงราชคฤหไมมีวัตถุที่ดียิ่งกวานั้นหรือ. ไมมีหามิได พระราชาทรงมีบุญมากก็อีก ประการหนึ่ง จําเดิมแตกาลที่พระองคทรงเปนพระโสดาบันแลว เวนจากพระรัตนตรัยแลวไมมีสิ่งใดอื่น ที่ชื่อวา สามารถเพื่อยังพระโสมนัสใหเกิดขึ้นได

 
  ความคิดเห็นที่ 4  
 
chatchai.k
วันที่ 22 พ.ค. 2564

พระองคจึงทรงปรารภเพื่อทรงเลือกรัตนะ ธรรมดารัตนะ มี ๒ อยางคือ มีวิญญาณ ไมมีวิญญาณ. ในรัตนะ ๒ อยางนั้น รัตนะที่ไมมีวิญญาณ ไดแกทองและเงินเปนตน ที่มีวิญญาณ ไดแกสิ่งที่เนื่องกับอินทรีย. รัตนะที่ไมมีวิญญาณเปนเครื่องใช ดวยสามารถแหงเครื่องประดับ เปนตน ของรัตนะที่มีวิญญาณนั้นเทียว. ในรัตนะ ๒ อยางนี้ รัตนะที่มีวิญญาณประเสริฐที่สุด. รัตนะแมมีวิญญาณมี ๒ อยางคือ ติรัจฉานรัตนะ มนุษยรัตนะ. ในรัตนะ ๒ อยางนั้น ดิรัจฉานรัตนะ ไดแกชางแกวและมาแกว. ดิรัจฉานรัตนะแมนั้น เกิดขึ้นเพื่อเปนเครื่องใชของมนุษยทั้งหลายนั้นเทียว.

ในรัตนะ ๒ อยางนั้น มนุษยรัตนะประเสริฐที่สุด ดวยประการฉะนี้ . แมมนุษยรัตนะก็มี ๒ อยางคือ อิตถีรัตนะ ปุริสรัตนะ. ในรัตนะ ๒ อยางนั้น แมอิตถีรัตนะ ซึ่งเกิดแกพระเจาจักรพรรดิ ยอมเปนอุปโภคของบุรุษแล. ในรัตนะ ๒ อยางนี้ปุริสรัตนะเทียว ประเสริฐที่สุดดวยประการฉะนี้. แมปุริสรัตนะก็มี ๒ อยางคือ อาคาริกรัตนะ ๑ อนาคาริกรัตนะ ๑. แมใน อาคาริกรัตนะนั้น พระเจาจักรพรรดิยอมทรงนมัสการสามเณรที่บวชในวันนี้ดวยพระเบญจางคประดิษฐ. ในรัตนะทั้ง ๒ อยางแมนี้ อนาคาริกรัตนะเทานั้น ประเสริฐที่สุด. แมอนาคาริกรัตนะก็มี๒ อยางคือ เสกขรัตนะ ๑ อเสกรัตนะ ๑.

ในอนาคาริกรัตนะ ๒ อยางนั้น พระเสกขะตั้งแสนยอมไมถึงสวนแหงพระอเสกขะ. ในรัตนะ ๒ อยางแมนี้ อเสกขรัตนะเทานั้น ประเสริฐที่สุด. อเสกขรัตนะ แมนั้น ก็มี ๒ อยางคือ พุทธรัตนะ สาวกรัตนะ. ในอเสกขรัตนะนั้น สาวกรัตนะแมตั้งแสน ก็ไมถึงสวนของพุทธรัตนะ. ในรัตนะ ๒ อยางแมนี้ พุทธรัตนะเทานั้น ประเสริฐที่สุดดวยประการฉะนี้. แมพุทธรัตนะก็มี ๒ อยาง ชื่อ ปจเจกพุทธรัตนะ สัพพัญูพุทธรัตนะ ในพุทธรัตนะนั้น ปจเจกพุทธรัตนะแมตั้งแสน ก็ไมถึงสวนของสัพพัญูพุทธเจา. ในรัตนะ ๒ อยางแมนี้ สัพพัญูพุทธรัตนะเทานั้น ประเสริฐที่สุดดวยประการฉะนี้

 
  ความคิดเห็นที่ 5  
 
chatchai.k
วันที่ 22 พ.ค. 2564

ก็ขึ้นชื่อวา รัตนะที่เสมอดวยพุทธรัตนะยอมไมมีในโลกพรอมทั้งเทวโลก. เพราะฉะนั้น จึงทรงพระราชดําริวา เราจักสงรัตนะที่ไมมีอะไรเสมอเทานั้น แกพระสหายของเรา จึงตรัสถามพวกพอคาชาวนครตักกศิลาวา ดูกอนพอทั้งหลาย รัตนะ ๓ อยางนี้คือ พุทธะ ธรรมะ สังฆะ ยอมปรากฏในชนบทของพวกทานหรือ.

ขาแตมหาราช แมเสียงก็ไมมีในชนบทนั้น ก็การเห็นจักมีแตที่ไหนเลา. พระราชาทรงยินดีแลวทรงพระราชดําริวา เราอาจเพื่อจะสงพระสัมมาสัมพุทธเจาไปสูสถานที่เปนที่อยูของพระสหายเรา เพื่อประโยชนแกการสงเคราะหชน แตพระพุทธเจาทั้งหลายจะไมทรงแรมคืนในปจจันตชนบททั้งหลาย เพราะฉะนั้น พระศาสดาจะไมอาจเสด็จไป พึงอาจสงพระมหาสาวก มีพระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะเปนตน แตเราฟงมาวา พระเถระทั้งหลาย อยูในปจจันตชนบท สมควรเพื่อสงคนทั้งหลายไปนําพระเถระเหลานั้นมาสูที่ใกลตนแลว บํารุงเทียว เพราะฉะนั้น แมพระเถระทั้งหลายไมอาจไป ครั้นสงสาสนไปแลว ดวยบรรณาการใด พระศาสดาและพระมหาสาวกทั้งหลายก็เปนเหมือนไปแลว เราจักสงสาสนดวยบรรณาการนั้น ดังนี้ ทรงพระราชดําริอีกวา เราใหทําแผนทองคํา ยาวสี่ศอก กวางประมาณ หนึ่งคืบ หนาพอควร. ไมบางนัก ไมหนานัก แลวจักลิขิตอักษรลงในแผนทองคํานั้นในวันนี้

ทรงสนานพระเศียรตั้งแตเชาตรู ทรงอธิษฐานองคพระอุโบสถ ทรงเสวยพระยาหารเชา ทรงเปลื้องพระสุคนธมาลาและอาภรณออก ทรงถือชาดสีแดงดวยพระขันทอง ทรงปดพระทวารทั้งหลาย ตั้งแตชั้นลาง เสด็จขึ้นพระปราสาท ทรงเปดพระสีหบัญชรดานทิศตะวันออก ประทับนั่งบนพื้นอากาศ ทรงลิขิตพระอักษรลงในแผนทองคํา ทรงลิขิตพระพุทธคุณโดยเอกเทศกอนวา พระตถาคตผูอรหันตสัมมาสัมพุทธเจา ทรงถึงพรอมดวยวิชชาและจรณะ เสด็จไปดี ทรงรูแจงโลก ทรงเปนสารถีฝกตนอยางยอดเยี่ยม เปนพระศาสดาของเทวดาและมนุษยทั้งหลาย ทรงตื่นแลว ทรงจําแนกพระธรรม เสด็จอุบัติในโลกนี้ ดังนี้.

 
  ความคิดเห็นที่ 6  
 
chatchai.k
วันที่ 22 พ.ค. 2564

ตอแตนั้น ทรงลิขิตวา พระพุทธเจาทรงบําเพ็ญบารมี ๑๐ ทัศ อยางนี้ ทรงจุติจากชั้นดุสิต ทรงถือปฏิสนธิในพระครรภพระมารดา การเปดโลกไดมีแลว อยางนี้ เมื่อทรงอยูในพระครรภมารดา ชื่อนี้ไดมีแลว เมื่อทรงอยูครอบครองเรือน ชื่อนี้ไดมีแลว เมื่อเสด็จออกพระมหาภิเนษกรมณ อยางนี้ ทรงเริ่มตั้งความเพียรอันยิ่งใหญอยางนี้ ทรงบําเพ็ญทุกรกิริยาอยางนี้ เสด็จขึ้นสูควงมหาโพธิ ประทับนั่งบนอปราชิตบัลลังก แลวทรงแทงตลอดสัพพัญูตญาณ เมื่อทรงแทงตลอดสัพพัญูตญาณ เปนอันมีการเปดโลก แลวอยางนี้ ในชื่อวารัตนะเห็นปานนี้ อื่นไมมีในโลกพรอมกับเทวโลก ดังนี้ ทรงลิขิตพระพุทธคุณทั้งหลายโดยเอกเทศอยางนี้วา

ทรัพยเครื่องปลื้มใจอยางใดอยางหนึ่งในโลกนี้หรือโลกอื่น หรือรัตนะใด อันประณีตในสวรรค ทรัพยและรัตนะนั้นเสมอดวยพระตถาคตไมมี พุทธรัตนะแมนี้ เปนรัตนะอันประณีต ดวยคําสัตยนี้ ขอความสวัสดีจงมี ดังนี้

เมื่อจะทรงชมเชยธรรมรัตนะที่สองวา พระธรรมอันพระผูมีพระภาคเจาตรัสดีแลว ฯลฯ อันวิญูชนทั้งหลายพึงรูเฉพาะตน ดังนี้แลว ทรงลิขิตโพธิปกขิยธรรม ๓๗ ประการ โดยเอกเทศวา สติปฏฐานสี่ ฯลฯ มรรคมีองคแปดอันประเสริฐ ชื่อวา พระธรรมอันพระศาสดาทรงแสดงแลว เห็นปานนี้และเห็นปานนี้ ดังนี้

 
  ความคิดเห็นที่ 7  
 
chatchai.k
วันที่ 22 พ.ค. 2564

แลวทรงลิขิตพระธรรมคุณทั้งหลายโดยเอกเทศวา

พระพุทธเจาผูประเสริฐสุด ทรงสรรเสริญแลว ซึ่งสมาธิใดวาเปนธรรมอันสะอาด บัณฑิตทั้งหลายกลาวซึ่งสมาธิใดวา ใหผลในลําดับ สมาธิอื่นเสมอดวยสมาธินั้นยอมไมมี ธรรมรัตนะแมนี้เปนรัตนะอันประณีต ดวยคําสัตยนี้ ขอความสวัสดี จงมี ดังนี้

ตอแตนั้น เมื่อจะทรงชมเชยพระสังฆรัตนะที่สามวา พระสงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจาเปนผูปฏิบัติดี ฯลฯ เปนเนื้อนาบุญของโลก ดังนี้ ทรงลิขิต จุลศีล มัชฌิมศีล และมหาศีลโดยเอกเทศวา ธรรมดากุลบุตรทั้งหลาย ฟงธรรมกถาของพระศาสดาแลวออกบวชอยางนี้ บางพวกละเศวตฉัตรบวช บางพวกละความเปนอุปราชบวช บางพวกละตําแหนงทั้งหลายมีตําแหนงเสนาบดี เปนตนบวช ก็แล ครั้นบวชแลว บําเพ็ญปฏิบัตินี้ ทรงลิขิตการสํารวมใน ทวารหก สติสัมปชัญญะ ความยินดีในการเจริญสันโดษดวยปจจัยสี่ การละนีวรณ บริกรรมฌานและอภิญญา กรรมฐาน ๓๘ ประการ จนถึงความสิ้นไปแหงอาสวะโดยเอกเทศ ทรงลิขิตอานาปานสติกรรมฐาน ๖ ประการ โดยพิสดารเทียว ทรงลิขิตพระสังฆคุณทั้งหลายโดยเอกเทศวา ชื่อวาพระสงฆสาวกของพระศาสดา ถึงพรอมดวยคุณทั้งหลายเห็นปานนี้ และเห็นปานนี้ บุคคลเหลาใด ๘ จําพวก ๔ คู อัน สัตบุรุษทั้งหลายสรรเสริญแลว บุคคลเหลานั้นควรแกทักษิณาทาน เปนสาวกของพระสุคต ทานทั้งหลายอันบุคคลถวายแลว ในทานเหลานั้นยอมมีผลมาก สังฆรัตนะแมนี้เปนรัตนะอันประณีต ดวยคําสัตยนี้ ขอความสวัสดีจงมี

 
  ความคิดเห็นที่ 8  
 
chatchai.k
วันที่ 22 พ.ค. 2564

ทรงลิขิตวา ศาสนาของพระผูมีพระภาคเจา ตรัสดีแลว เปนศาสนานําสัตวออกจากทุกข ถาพระสหายของเราจะอาจไซร ขอไดเสด็จออกทรงผนวชเถิด ดังนี้ ทรงมวนแผนทองคํา พันดวยผากัมพลเนื้อละเอียด ทรงใสในหีบอันแข็งแรง ทรงวางหีบนั้นในหีบทองคํา ทรงวางหีบทองคําลงในหีบเงิน ทรงวางหีบเงินลงในหีบแกวมณี ทรงวางหีบแกวมณีลงในหีบแกวประพาฬ ทรงวางหีบแกวประพาฬลงในหีบทับทิม ทรงวางหีบทับทิมลงในหีบแกวมรกต ทรงวางหีบแกวมรกตลงในหีบแกวผลึก ทรงวางหีบแกวผลึกลงในหีบงา ทรงวางหีบงาลงในหีบรัตนะทุกอยาง ทรงวางหีบรัตนะทุกอยางลงในหีบเสื่อลําแพน ทรงวางหีบเสื่อลําแพนลงในผอบแข็งแรง

ทรงวางผอบแข็งแรงลงในผอบทองอีก ทรงนําไปโดยนัยกอนนั้นเทียว ทรงวางผอบที่ทําดวยรัตนะทุกอยางลงในผอบที่ทําดวยเสื่อลําแพน. แตนั้น ทรงวางผอบที่ทําดวยเสื่อลําแพนลงในหีบที่ทําดวยไมแกน ทรงนําไปโดยนัยกลาวแลวอีกนั้นเทียว ทรงวางหีบที่ทําดวยรัตนะทุกชนิดลงในหีบที่ทําดวยเสื่อลําแพนขางนอกทรงพันดวยผาประทับตราพระราชลัญจกร ตรัสสั่งอํามาตยทั้งหลายวา ทานทั้งหลายจงตกแตงทางในสถานที่ซึ่งอยูในอํานาจของเรา ทําใหกวางแปดอุสภะ สถานที่สี่อุสภะ ตองใหงามเสมอ ทานทั้งหลายจงตก แตงสถานที่สี่อุสภะ ในทามกลางดวยอานุภาพของพระราชา. แตนั้น ทรงสงทูตดวน แกขาราชการภายในวา จงประดับชางมงคล จัดบัลลังกบนชางนั้น ยกเศวตฉัตร ทําถนนพระนครใหสวยงาม ประดับประดาอยางดี ดวยธงปฏาก อันงดงาม ตนกลวย หมอน้ําที่เต็ม ของหอม ธูป และดอกไมเปนตน จงทําบูชาเห็นปานนี้ ในสถานที่ครอบครองของตนๆ ดังนี้

 
  ความคิดเห็นที่ 9  
 
chatchai.k
วันที่ 22 พ.ค. 2564

สวนพระองคทรงประดับดวยเครื่องอลังการทุกอยาง อันกองกําลังพรอมกับดนตรีทุกชนิดแวดลอม ทรงพระราชดําริวา เราจะสงบรรณาการไปดังนี้ เสด็จไปจนสุดพระราชอาณาเขตของพระองคแลว ไดพระราชทานพระราชสาสนสําคัญแกอํามาตย แลวตรัสวา ดูกอนพอ พระเจาปุกกุสาติพระสหายของเรา เมื่อจะทรงรับบรรณาการนี้ อยารับในทามกลางตําหนักนางสนมกํานัล จงเสด็จขึ้นพระปราสาทแลวทรงรับเถิด. ครั้นพระราชทานพระราชสาสนนี้แลว ทรงพระราช ดําริวา พระศาสดาเสด็จไปสูปจจันตประเทศ ทรงนมัสการดวยพระเบญจางคประดิษฐแลวเสด็จกลับ. สวนขาราชการภายในทั้งหลาย ตกแตงทางโดยทํานองนั้นเทียว นําไปซึ่งพระราชบรรณาการ.

ฝายพระเจาปุกกุสาติ ทรงตกแตงทางโดยทํานองนั้น ตั้งแตรัชสีมาของพระองค ทรงใหประดับประดาพระนคร ไดทรงกระทําการตอนรับพระราชบรรณาการ. พระราชบรรณาการเมื่อถึงพระนครตักกศิลา ไดถึงในวันอุโบสถ. ฝายอํามาตยผูรับพระราชบรรณการไปทูลบอกพระราชสาสนที่กลาวแตพระราชา. พระราชาทรงสดับพระราชสาสนนั้นแลว ทรงพิจารณากิจควรทําแกอํามาตยทั้งหลายผูมาพรอมกับพระราชบรรณาการ ทรงถือพระราชบรรณาการ เสด็จขึ้นสูพระปราสาทแลวตรัสวา ใครๆ อยาเขามาในที่นี้ ทรงใหทําการรักษาที่พระทวาร ทรงเปดพระสีหบัญชร ทรงวางพระราชบรรณาการบนที่พระบรรทมสูง สวนพระองคประทับนั่งบนอาสนะต่ํา

 
  ความคิดเห็นที่ 10  
 
chatchai.k
วันที่ 22 พ.ค. 2564

ทรงทําลายรอยประทับ ทรงเปลื้องเครื่องหอหุม เมื่อทรงเปดโดยลําดับจําเดิมแต่หีบเสื่อลําแพน ทรงเห็นหีบซึ่งทําดวยแกนจันทร ทรงพระราชดําริวา ชื่อวา มหาบริวารนี้ จักไมมีแกรัตนะอื่น รัตนะที่ควรฟงไดเกิดขึ้นแลว ในมัชฌิมประเทศแนแท. ลําดับนั้น ทรงเปดหีบนั้นแลว ทรงทําลายรอยประทับพระราชลัญจนะ ทรงเปดผากัมพลอันละเอียดทั้งสองขาง ทรงเห็นแผนทองคํา. พระองคทรงคลี่แผนทองคํานั้นออก ทรงพระราชดําริวา พระอักษรทั้งหลาย นาพอใจจริงหนอ มีหัวเทากัน มีระเบียบเรียบรอย มีมุมสี่ ดังนี้ ทรงปรารภ เพื่อจะทรงอานจําเดิมแตตน

พระโสมนัสอันมีกําลังไดเกิดขึ้นแกพระองคที่ทรงอานแลวอานอีกซึ่งพระพุทธคุณทั้งหลายวา พระตถาคตทรงอุบัติขึ้นแลวในโลกนี้ ขุมพระโลมาเกาหมื่นเกาพันขุม ก็มีปลายพระโลมชูชันขึ้น. พระองคไมทรงทราบถึงความที่พระองคประทับยืนหรือประทับนั่ง. ลําดับนั้น พระปติอันมีกําลังอยางยิ่งไดบังเกิดขึ้นแกพระองควา เราไดฟงพระศาสนาที่หาไดโดยยากนี้ แมโดยแสนโกฏิกัปป์. เพราะอาศัยพระสหาย. พระองคเมื่อไมอาจ เพื่อทรงอานตอไป ก็ประทับนั่งจนกวากําลังปติสงบระงับ แลวทรงปรารภพระธรรมคุณทั้งหลายตอไปวา พระธรรมอันพระผูมีพระภาคเจาตรัสดีแลวดังนี้. พระองคก็ทรงมีพระปติอยางนั้นแมในพระธรรมคุณนั้นเทียว. พระองคประทับนั่งอีกจนกวาความสงบแหงกําลังปติ ทรงปรารภพระสังฆคุณทั้งหลายตอไปวา พระสงฆสาวกเปนผูปฏิบัติดี. ในพระสังฆคุณแมนั้น พระองคก็ทรงมีพระปติอยางนั้นเหมือนกัน.

ลําดับนั้น ทรงอานอานาปานสติกัมมัฏฐาน ในลําดับสุดทาย ทรงยังฌานหมวดสี่และหมวดหาใหเกิดขึ้น. พระองคทรงยังเวลาใหลวงไป ดวยความสุขในฌานนั้นและ. ใครอื่นยอมไมไดเพื่อเห็น. มหาดเล็กประจําพระองคคนเดียวเทานั้น ยอมเขาไปได. ทรงยังเวลาประมาณกึ่งเดือน ใหผานไปดวยประการฉะนี้.

 
  ความคิดเห็นที่ 11  
 
chatchai.k
วันที่ 22 พ.ค. 2564

ชาวพระนครทั้งหลายประชุมกันในพระลานหลวง ไดทําการโหรอง ตะโกนวา จําเดิมแตวันที่พระราชาทรงรับพระราชบรรณาการแลว ไมมีการทอดพระเนตรพระนครหรือการทอดพระเนตรดูนางฟอนรํา ไมมีการพระราชทานวินิจฉัย พระราชาจงทรงพระราชทานพระราชบรรณาการที่พระสหายสงมาใหแกผูรับไปเถิด ธรรมดาพระราชาทั้งหลาย ยอมทรงพยายามเพื่อหลอกลวงแมดวยเครื่องบรรณาการ ยึดพระราชสมบัติของพระราชาบางพระองคใหแกตน พระราชาของพวกเราทรงทําอะไรหนอ ดังนี้. พระราชาทรงสดับ เสียงทะโกนแลวทรงพระราชดําริวา เราจะธํารงไวซึ่งราชสมบัติหรือพระศาสดา.

ลําดับนั้น พระองคทรงมีพระราชดําริวา ประธานและมหาอํามาตยของประธาน ยอมไมอาจเพื่อจะนับความที่เราเสวยราชสมบัติได เราจักธํารงไวซึ่งพระศาสนาของพระศาสดา ดังนี้. ทรงจับพระแสงดาบที่ทรงวางไวบนพระที่บรรทม ตัดพระเกศาแลวทรงเปดพระสีหบัญชร ทรงยังกําพระเกศาพรอมกับพระจุฑามณี ใหตกลงในทามกลางบริษัทวา ทานทั้งหลายถือเอากําเกศานี้ครองราชสมบัติเถิด. มหาชนยกกําพระเกศานั้นขึ้นแลว รองเปนเสียงเดียวกันวา ขาแตพระสมมติเทพ พระราชาทั้งหลายชื่อวาไดพระราชบรรณาการจากสํานักพระสหายแลว ยอมเปนเชนกับพระองค. พระเกศาและพระมัสสุประมาณสององคุลีแมของพระราชาไดมีแลว. ไดยินวา พระเกศาและพระมัสสุเกิดเปนเชนกับบรรพชาของพระโพธิสัตวนั้นแล.

ลําดับนั้น ทรงสงมหาดเล็กประจําพระองค ใหนําผากาสาวพัสตรสองผืนและบาตรดินจากในตลาดทรงอุทิศตอพระศาสดา วา พระอรหันตเหลาใดในโลก เราบวชอุทิศพระอรหันตเหลานั้น ดังนี้ แลวทรงนุงผากาสาวะผืนหนึ่ง ทรงหมผากาสาวะผืนหนึ่ง ทรงสะพายบาตร ทรงถือธารพระกร ทรงจงกรมไปมา สอง-สามครั้ง ในพื้นใหญดวยพระราชดําริ วา บรรพชาของเรางามหรือไม ดังนี้

 
  ความคิดเห็นที่ 12  
 
chatchai.k
วันที่ 22 พ.ค. 2564

ทรงทราบวา บรรพชาของเรา ดังนี้แลว ทรงเปดพระทวาร เสด็จลงจากพระปราสาท. ก็ประชาชนทั้งหลาย เห็นนางฟอนผูยืนที่ประตูทั้งสามเปนตน แตจําพระราชานั้นซึ่งเสด็จลงมาไมได. ไดยินวา พากันคิดวา พระปจเจกพุทธเจาองคหนึ่ง มาเพื่อแสดงธรรมกถาแกพระราชาของพวกเรา. แตครั้นขึ้นบนพระปราสาทแลว เห็นแตที่ประทับยืนและที่ประทับนั่งเปนตนของพระราชา รูวา พระราชาเสด็จไปเสียแลว จึงพากันรองพรอมกันทีเดียว เหมือนชนในเรือกําลังอับปางจมน้ํา ในทามกลางสมุทรฉะนั้น. เสนีทั้งสิบแปด ชาวนครทั้งหมด และพลกายทั้งหลาย พากันแวดลอมกุลบุตร ผูสักวาเสด็จลงสูพื้นแผนดินแลว รองเสียงดัง.

ฝายอํามาตยทั้งหลายกราบทูลแดกุลบุตรนั้นวา ขาแตเทวะ ธรรมดา พระราชาทั้งหลายในมัชฌิมประเทศทรงมีมายามาก ขอพระองคไดโปรดสงพระราชสาสนไปวา ขึ้นชื่อวาพุทธรัตนะ ไดเกิดขึ้นในโลกแลวหรือไม ทรงทราบแลวจักเสด็จไป ขอเดชะ ขอพระองคจงเสด็จกลับเถิด. เราเธอพระสหายของเรา เรากับพระสหายนั้นไมมีความตางกัน พวกเจาจงหยุดเถิด อํามาตยเหลานั้น ก็ติดตามเสด็จนั้นเทียว. กุลบุตรทรงเอาธารพระกรขีดเปนตัวหนังสือ ตรัสวา ราชสมบัตินี้เปนของใคร. ของพระองค ขอเดชะ ผูใดทําตัวหนังสือนี้ในระหวาง บุคคลนั้น พึงใหเสวยพระราชอํานาจ. พระเทวีพระนามวา สีวลี เมื่อไมทรงอาจเพื่อทําพระอักษรที่พระโพธิสัตวกระทําแลว ในมหาชนกชาดก ใหมีระหวาง ก็เสด็จกลับไป. มหาชนก็ไดไปตามทางที่พระเทวีเสด็จไป. ก็มหาชนไมอาจเพื่อทําพระอักษรนั้นใหมีในระหวาง ชาวนครทําพระอักษรนี้ไวเหนือศีรษะกลับไปรองแลว. มหาชนคิดวากุลบุตรนี้จักใหไมสีฟนหรือน้ําบวนปาก ในสถานที่เราไปแลว ดังนี้ เมื่อไมไดอะไร โดยที่สุดแมเศษผาก็หลีกไป

ไดยินวา กุลบุตรนั้นมีความคิดอยางนี้วา พระศาสดาของเราเสด็จออกมหาภิเนษกรมณ ทรงบรรพชาพระองคเดียว เสด็จไปพระองคเดียว เราละอายตอพระศาสดา ไดยินวา พระศาสดาของเราทรงบรรพชาแลว ไมเสด็จขึ้นยาน และไมทรงสวมฉลองพระบาท โดยที่สุด แมชั้นเดียวไมทรงกั้นรมกระดาษ มหาชนขึ้นตนไม กําแพง และปอมเปนตน แลดูวา พระราชาของเราเสด็จไปดังนี้ กุลบุตรคิดวา เราเดินทางไกล ไมอาจเพื่อจะไปทางหนึ่งได จึงเสด็จติดตามพอคาพวกหนึ่ง เมื่อกุลบุตรผูสุขุมมาลไปในแผนดินที่รอนระอุ พื้นพระบาททั้งสองขาง ก็กลัดหนองแตกเปนแผล ทุกขเวทนาก็เกิดขึ้น

 
  ความคิดเห็นที่ 13  
 
chatchai.k
วันที่ 22 พ.ค. 2564

ครั้นเมื่อพวกพอคาตั้งคายพักนั่งแลว กุลบุตรก็ลงจากทาง นั่ง ณ โคนตนไมตนหนึ่ง. ชื่อวาผูทําบริกรรมเทาหรือนวดหลังในที่นั่งไมมี. กุลบุตรเขาอานาปานจตุตถฌาน ขมความลําบากในทางความเหน็จเหนื่อยและความเรารอน ยังเวลาใหผานไปดวยความยินดีในฌาน. ในวันรุงขึ้น เมื่ออรุณขึ้นแลวทําการปฏิบัติสรีระ เดินติดตามพวกพอคาอีก. ในเวลาอาหารเชา พวกพอคารับบาตรของกุลบุตรแลวใสขาทนียะและโภชนียะลงในบาตรถวาย. ขาทนียะและโภชนียะนั้นเปนขาวสารดิบบางเศราหมองบาง. แข็งเสมอกับกอนกรวดบาง จืดและเค็มจัดบาง กุลบุตรพิจารณาสถานที่พัก บริโภคขาทนียะ และโภชนียะนั้นดุจอมฤตโดยทํานองนั้น เดินไปสิ้นทาง ๒๐๐ โยชน ต่ํากวา ๘ โยชน (๑๙๒ โยชน) แมจะเดินไปใกลซุมประตูพระเชตวันก็ตาม แตก็ไมถามวา พระศาสดาประทับอยู ณ ที่ไหน. เพราะเหตุไร. เพราะเคารพใน พระศาสดา และเพราะอํานาจแหงพระราชสาสนที่พระราชาทรงสงไป. ก็พระราชาทรงสงพระราชสาสนไป ทรงทําดุจพระศาสดาทรงอุบัติในกรุงราชคฤห วา พระตถาคตทรงอุบัติในโลกนี้. เพราะฉะนั้น จึงไมถาม เดินทางไปสิ้น ๕ โยชน. ในเวลาพระอาทิตยตก กุลบุตรนั้นไปถึงกรุงราชคฤห จึงถามวา พระศาสดาทรงประทับ ณ ที่ไหน ทานมาจากที่ไหนขอรับ จากอุตตรประเทศนี้ พระนครชื่อวาสาวัตถี มีอยูในทางที่ทานมา ไกลจากพระนครราชคฤหนี้ประมาณ ๔๕ โยชน พระศาสดาประทับอยูณ กรุงสาวัตถีนั้น

 
  ความคิดเห็นที่ 14  
 
chatchai.k
วันที่ 22 พ.ค. 2564

กุลบุตร นั้นคิดวา บัดนี้ไมใชกาล เราไมอาจกลับ วันนี้เราพักอยูในที่นี้กอน พรุงนี้จักไปสูสํานักพระศาสดา. แตนั้นจึงถามวา เหลาบรรพชิตที่มาถึงในยามวิกาล พัก ณ ที่ไหน พัก ณ ศาลานายชางหมอนี้ ทาน. ลําดับนั้น กุลบุตรนั้น ขอพักกะนายชางหมอนั้นแลว เขาไปนั่งเพื่อประโยชนแกการพักอาศัยในศาลาของนายชางหมอนั้น .

ในเวลาใกลรุงวันนั้น พระผูมีพระภาคเจาทรงตรวจดูโลก ทรงเห็นกุลบุตรชื่อวา ปุกกุสาติ ทรงพระดําริวา กุลบุตรนี้อานเพียงสาสนที่พระสหายสงไป ละราชสมบัติใหญ เกินรอยโยชน บวชอุทิศเจาะจงเรา เดินทางสิ้น ๑๙๒ โยชนถึงกรุงราชคฤห ก็เมื่อเราไมไปจักไมแทงตลอดสามัญญผล ๓ จะทํากาลกิริยาไรที่พึ่ง โดยการพักคืนเดียว แตครั้นเมื่อเราไปแลว จักแทง ตลอดสามัญญผล ๓ ก็เราบําเพ็ญบารมีทั้งหลายสิ้นสี่อสงไขยยิ่งดวยแสนกัป เพื่อประโยชนแกการสงเคราะหชนเทานั้น เราจักทําการสงเคราะหแกกุลบุตรปุกกุสาตินั้น ดังนี้ ทรงทําการปฏิบัติพระสรีระแตเชาตรู มีพระภิกษุสงฆแวดลอม เสด็จบิณฑบาตในกรุงสาวัตถี ภายหลังภัต เสด็จกลับจากบิณฑบาต เสด็จเขาพระคันธกุฏิ ทรงระงับความลําบากในการเดินทางครูหนึ่ง ทรงพระดําริวา กุลบุตรไดทํากิจที่ทําไดยากเพราะความเคารพในเรา ละราชสมบัติ เกินหนึ่งรอยโยชน ไมถือเศษผา โดยที่สุดแมคนผูใหน้ําบวนปาก ออกไปเพียงคน เดียว ดังนี้ ไมตรัสอะไรในพระเถระทั้งหลายมีพระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะเปนตน พระองคเองทรงถือบาตรและจีวรของพระองคเสด็จออกไปเพียงพระองคเดียว และเมื่อเสด็จไป ก็ไมไดทรงเหาะไป ไมทรงยนแผนดิน. ทรงพระดําริอีกวา กุลบุตรละอายตอเราไมนั่งแมในยานหนึ่ง ในบรรดาชาง มา รถ และวอทองเปนตน โดยที่สุด ไมสวมรองเทาชั้นเดียว ไมกางรมกระดาษ ออกไป แมเราก็ควรไปดวยเทาเทานั้น ดังนี้ จึงเสด็จไปดวยพระบาท

 
  ความคิดเห็นที่ 15  
 
chatchai.k
วันที่ 22 พ.ค. 2564

พระองคทรงปกปดพระพุทธสิรินี้ คืออนุพยัญชนะ ๘๐ รัศมี ๑ วา มหาปุริสลักษณะ ๓๒ ประการ เสด็จไปดวยเพศของภิกษุรูปหนึ่ง ดุจพระจันทรเพ็ญที่หมอกเมฆปกปดไวฉะนั้น โดยปจฉาภัตเดียวเทานั้นก็เสด็จไปได ๔๕ โยชน ในเวลาพระอาทิตยตกก็เสด็จถึงศาลาของนายชางหมอนั้น ในขณะที่กุลบุตรเขาไปแลวนั้นแล. ทานหมายถึงศาลาของนายชางหมอนั้น จึงกลาววา ก็โดยสมัยนั้นแล กุลบุตรชื่อวาปุกกุสาติ มีศรัทธาออกจากเรือนบวชเปนบรรพชิต อุทิศพระผูมีพระภาคเจา เขาเขาไปพักในนิเวศนของนายชางหมอนั้นกอน ดังนี้ ก็พระผูมีพระภาคเจา แมครั้นเสด็จไปอยางนี้แลว ก็ไมทรงขมขูวา เราเปนพระสัมมาสัมพุทธเจา เสด็จไปยังศาลาของนายชางหมอประทับยืนที่ประตูนั้นแล เมื่อจะใหกุลบุตรทําโอกาส จึงตรัสวา สเจ เต ภิกฺขุ ดังนี้ เปนตน.

บทวา อุรุทฺท ไดแก สงัดไมคับแคบ.

บทวา วิหรตายสฺมา ยถาสุข ความวา กุลบุตรทําโอกาสวา ขอพระผูเปนเจาจงอยูเปนสุข ตามอิริยาบถที่มีความผาสุกเถิด. ก็กุลบุตรละราชสมบัติเกินหนึ่งรอยโยชนแลวบวช จักตระหนี่ศาลาของนายชางหมอที่คนอื่นทอดทิ้ง เพื่อพรหมจารีอื่นหรือ. ก็โมฆบุรุษบางพวกบวชในศาสนาแลว ถูกความตระหนี่ทั้งหลายมีความตระหนี่เพราะอาวาสเปนตนครอบงํา ยอมตะเกียกตะกาย เพราะอาวาสของบุคคลเหลาอื่นวา สถานที่อยูของตน เปนกุฏิของเรา เปนบริเวณของเรา ดังนี้.

บทวา นิสีทิ ความวา พระโลกนาถทรงสุขุมาลชาติอยางยิ่ง ทรงละพระคันธกุฏิเปน เชนกับเทพวิมาน ทรงปูลาดสันถัตคือหญา ในศาลาชางหมอ ซึ่งมีขี้เถาเรี่ยราดไปทั่ว สกปรกดวยภาชนะแตก หญาแหง ขี้ไกและขี้สุกรเปนตน เปนเชนกับที่ทิ้งขยะ ทรงปูปงสุกุลจีวรประทับนั่ง ดุจเสด็จเขาพระมหาคันธกุฏิ อันมีกลิ่นทิพยเชนกับเทพวิมานแลวประทบนั่งฉะนั้น ดวยประการฉะนี้

 
  ความคิดเห็นที่ 16  
 
chatchai.k
วันที่ 22 พ.ค. 2564

พระผูมีพระภาคเจา ทรงอุบัติในพระมหาสัมมตวงศอันไมเจือปน แมกุลบุตร ก็เจริญแลวในขัตติยครรภ. แมพระผูมีพระภาคเจาก็ทรงถึงพรอมดวยพระอภินิหาร แมกุลบุตรก็ถึงพรอมดวยอภินิหาร. พระผูมีพระภาคเจาก็ดี กุลบุตรก็ดี ตางก็ทรงสละราชสมบัติทรงผนวช. แมพระผูมีพระภาคเจาทรงมีพระวรรณะดุจทอง แมกุลบุตรก็มีวรรณะดุจทอง พระผูมีพระภาคเจาก็ดี กุลบุตรก็ดี ทรงมีลาภคือสมาบัติ. ทั้งสองก็ทรงเปนกษัตริย ทั้งสองก็ทรงถึงพรอมดวยพระอภินิหาร ทั้งสองก็ทรงผนวชจากราชตระกูล ทั้งสองทรงมีพระวรรณะดุจทอง ทั้งสองทรงมีลาภ คือ สมาบัติ เสด็จเขาสูศาลาของชางหมอแลว ประทับนั่ง ดวยประการฉะนี้. ดวยเหตุนั้น ศาลาชางหมอจึงงดงามอยางยิ่ง. พึงนําสถานที่ทั้งหลายเปนตนวา ถ้ําที่พญาสัตวทั้งสองมีสีหะเปนตนเขาไป แสดงเปรียบเทียบเถิด.

ก็ในบุคคลทั้งสองนั้น พระผูมีพระภาคเจาไมทรงยังแมพระหฤทัยใหเกิดขึ้นวา เราเปนผูสุขุมาล เดินทางมาสิ้น ๔๕ โยชน โดยเวลาหลังภัตเดียว ควรสําเร็จสีหไสยาสักครูกอน ใหหายเหนื่อยจากการเดินทาง ดังนี้ ประทับนั่งเขาผลสมาบัติเทียว. ฝายกุลบุตรก็ไมยังจิตใหเกิดขึ้นวา เราเดินทางมาสิ้น ๑๙๒ โยชน ควรนอนพักบรรเทาความเหนื่อยในการเดินทางสักครูกอน ก็นั่งเขาอานาปานจตุตถฌานแล. ทานหมายถึงการเขาสมาบัตินั้น จึงกลาววา อถโข ภควา พหุเทว รตฺตึ เปนตน. ถามวา พระผูมีพระภาคเจาเสด็จมา ดวยพระดําริวา เราจักแสดงธรรมแกกุลบุตรมิใชหรือ เพราะเหตุไร จึงไมทรงแสดงเลา. ตอบวา ไมทรงแสดงเพราะเหตุวา กุลบุตรมีความเหน็จเหนื่อยในการเดินทาง ยังไมสงบระงับ จักไมอาจเพื่อรับพระธรรมเทศนาได ขอใหความเหน็จเหนื่อยในการเดินทางนั้นของกุลบุตรสงบระงับกอน. อาจารยพวกอื่นกลาววา ธรรมดานครราชคฤหเกลื่อนกลนดวยมนุษย ไมสงัดจากเสียง ๑๐ อยาง เสียงนั้นจะสงบโดยประมาณสองยามครึ่ง พระองคทรงรอการสงบเสียงนั้น จึงไมทรงแสดง นั้นไมใชการณ. เพราะพระผูมีพระภาคเจาทรงสามารถเพื่อยังเสียง แมประมาณพรหมโลกใหสงบระงับไดดวยอานุภาพของพระองค พระองคทรงรอความสงบระงับจากความเหน็จเหนื่อยในการเดินทางกอน จึงไมทรงแสดง

 
  ความคิดเห็นที่ 17  
 
chatchai.k
วันที่ 22 พ.ค. 2564

บรรดาบทเหลานั้น บทวา พหุเทว รตฺตึ ไดแกประมาณสองยามครึ่ง

บทวา เอตทโหสิ ความวา พระผูมีพระภาคเจาเสด็จออกจากผลสมาบัติแลว ทรงลืมพระเนตรที่ประดับประดาดวยประสาทหาอยาง ทรงแลดูดุจทรงเปดสีหบัญชรแกวมณี ในวิมานทองฉะนั้น.

ลําดับนั้น พระองคทรงเห็นกุลบุตรปราศจากการคะนองมือ การคะนองเทาและการสั่นศีรษะ นั่งเหมือนเสาเขื่อนที่ฝงไวอยางดีแลว เหมือนพระพุทธรูปทองไมหวั่นไหวเปนนิตย จึงตรัสวา เอต ปาสาทิก นุโข เปนตน

บรรดาบทเหลานั้น บทวา ปาสาทิโก คือนํามาซึ่งความเลื่อมใส. ก็คํานั้นเปนภาวนปุงสกลิงค. ในคํานั้นมีเนื้อความดังนี้วา กุลบุตรยอมเปนไปดวยอิริยาบถอันนาเลื่อมใส เพราะฉะนั้น อิริยาบถเปนกิริยาที่นาเลื่อมใสโดยประการใด ก็ยอมเปนไปโดยประการนั้น. ในอิริยาบถทั้ง ๔ อยาง อิริยาบถ ๓ อยางยอมไมงาม. จริงอยู ภิกษุเดินไป มือทั้งหลายยอมแกวง เทาทั้งหลาย ยอมเคลื่อนไป ศีรษะยอมสั่น. กายของภิกษุผูยืน ยอมแข็งกระดาง. อิริยาบถแมของภิกษุผูนอน ยอมไมนาพอใจ. แตเมื่อภิกษุปดกวาดที่พักกลางวันในปจฉาภัต ปูแผนหนัง มีมือและเทาชําระลางดีแลว นั่งขัดสมาธิอันประกอบดวยสนธิสี่นั้นเทียว อิริยาบถยอมงาม. ก็กุลบุตรนี้ขัดสมาธินั่งเขาอานาปานจตุตถฌาน. กุลบุตรประกอบดวยอิริยาบถดวยประการฉะนี้แล. พระผูมีพรภาคเจาทรงปริวิตกวา กุลบุตรนาเลื่อมใสหนอแล.

ถามวา พระผูมีพระภาคเจาทรงปริวิตกวา เอาเถิดเราควรจะถามดูบาง แลวตรัสถาม เพราะเหตุไร พระผูมีพระภาคเจาไมทรงรูความที่กุลบุตรนั้น เปนผูบวชอุทิศพระองคหรือ

ตอบวา ไมทรงรูหามิได แตเมื่อไมตรัสถาม ถอยคําก็ไมตั้งขึ้น เมื่อถอยคําไมตั้งขึ้นแลว การแสดงยอมไมเกิดขึ้น เพราะฉะนั้น จึงตรัสถาม เพื่อเริ่มตั้งถอยคําขึ้น

 
  ความคิดเห็นที่ 18  
 
chatchai.k
วันที่ 22 พ.ค. 2564

บทวา ทิสฺวาปาห น ชาเนยฺย ความวา ชนทั้งหมดยอมรูพระตถาคต ผูรุงโรจนดวยพุทธสิริวานี้พระพุทธเจา การรูนั้นไมนาอัศจรรย. แตพระผูมีพระภาคเจาทรงปกปดพระพุทธรัศมีเสด็จไปดวยอํานาจของภิกษุผูบิณฑบาตรูปหนึ่ง จึงรูไดยาก ทานปุกกุสาติกลาวสภาพตามเปนจริงวา เราไมรูดวยประการ ฉะนี้. ความจริงเปนอยางนั้น ทานปุกสุสาติไมรูพระผูมีพระภาคเจานั้น แมประทับนั่ง ณ ศาลาชางหมอดวยกัน

บทวา เอตทโหสิ ความวา พระผูมีพระภาคเจาทรงรูความเหน็จเหนื่อยในการเดินทางสงบระงับแลว ทรงมีพระดําริ

บทวา เอวมาวุโส ความวา กุลบุตรไดอานสักวาสาสนที่พระสหายสงไป สละราชสมบัติออกบวช ดวยคิดวาเราจักไดฟงพระธรรมเทศนาอันไพเราะของพระทศพล ครั้นบรรพชาแลวก็เดินทางไกลประมาณนี้ ก็ไมไดพระศาสดาผูตรัสสักบทวา ดูกอนภิกษุ เราจักแสดงธรรมแกทาน กุลบุตรนั้นจักไมฟงคําที่ตรัสวา ดูกอนภิกษุ เราจักแสดงธรรมแกทาน โดยเคารพหรือ. กุลบุตรนี้เปนเหมือนนักเลงสุราที่กระหาย และเหมือนชางที่ตกมันฉะนั้น. เพราะฉะนั้น กุลบุตรเมื่อปฏิญาณถึงการฟงโดยความเคารพ จึงทูลวา เอวมาวุโส ดังนี้

 
  ความคิดเห็นที่ 19  
 
chatchai.k
วันที่ 22 พ.ค. 2564

บทวา ฉธาตุโร อย ความวา พระผูมีพระภาคเจาไมตรัสขอปฏิบัติสวนเบื้องตนแกกุลบุตร แตทรงปรารภเพื่อตรัสบอกวิปสสนาลักษณะเทานั้น ซึ่งมีความวางเปลาอยางยิ่งอัน เปนปทัฏฐานแหงพระอรหัตแตเบื้องตน จริงอยู บุพภาคปฏิปทาของผูใด ยังไมบริสุทธิ์ พระผูมีพระภาคเจาก็ตรัสบอกบุพภาคปฏิปทานี้ คือ ศีลสังวร ความคุมครองทวารในอินทรียทั้งหลาย ความเปนผูรูประมาณในโภชนะ การประกอบเนืองๆ ซึ่งความเพียรเปนเครื่องตื่น สัทธรรม ๗ ฌาน ๘ แกผูนั้นกอนเทียว. แตบุพภาคปฏิปทานั้น ของผูใดบริสุทธิ์ พระผูมีพระภาคเจาจะไมตรัสบุพภาคปฏิปทานั้น แตจักตรัสบอกวิปสสนานั้นแล ซึ่งเปนปทัฏฐานแหงพระอรหัตแกผูนั้น ก็บุพภาคปฏิปทาของกุลบุตรบริสุทธิ์แลว จริงอยางนั้น กุลบุตรนั้นอานพระสาสนแลวขึ้นปราสาทอันประเสริฐนั้นเทียว ยังอานาปานจตุตถฌานใหเกิดขึ้นแลว จึงเดินทางไปตลอด ๑๙๒ โยชน ยังกิจในยานใหสําเร็จ. แมสามเณรศีลของกุลบุตรนั้นก็บริบูรณ เพราะฉะนั้น พระผูมีพระภาคเจาจึงไมตรัสบุพภาคปฏิปทา แตทรงปรารภเพื่อจะตรัสบอกวิปสสนาลักษณะอันมีความวางเปลาอยางยิ่ง ซึ่งเปนปทัฏฐานแหงพระอรหัตเทานั้น แกกุลบุตรนั้น. บรรดาบทเหลานั้น บทวา ฉธาตุโร ไดแก ธาตุ ๖ มีอยู บุรุษไมมี ก็พระผูมีพระภาคเจาทรงแสดงสิ่งที่ไมมี ดวยสิ่งที่มีในที่ไหน ทรงแสดงสิ่งที่มีดวยสิ่งที่ไมมีในที่ไหน ทรงแสดงสิ่งที่มีดวยสิ่งที่มีในที่ไหน ทรงแสดงสิ่งที่ไมมีดวยสิ่งที่ไมมีในที่ไหน คําดังกลาวมานี้พึงใหพิสดารโดยนัยที่กลาวแลวในสัพพาสวสูตรนี้นั้นแล แตในธาตุวิภังคสูตรนี้พระผูมีพระภาคเจาเมื่อจะทรงแสดงสิ่งที่มีดวยสิ่งที่ไมมี จึงตรัสอยางนั้น ก็ถาพระผูมีพระภาคเจาทรงสละบัญญัติวา บุรุษ ตรัสวา ธาตุเทานั้นแลวทรงวางพระหฤทัย กุลบุตรก็พึงทําความสนเทหถึงความงงงวยไมอาจเพื่อรับเทศนาได. เพราะฉะนั้น พระตถาคตจึงทรงละบัญญัติ วา บุรุษโดยลําดับ ตรัสสักวา บัญญัติ วา สัตวหรือบุรุษหรือบุคคล เทานั้น โดยปรมัตถ ชื่อวา สัตว ไมมี ทรงวางพระทัยในธรรมสักวาธาตุเทานั้น ตรัสไวในอนังคณสูตรวา เราจักใหแทงตลอดผลสาม ดังนี้. พระผูมีพระภาคเจาตรัสอยางนี้ ดุจอาจารยใหเรียนศิลปะดวยภาษานั้น เพราะเปนผูฉลาดในภาษาอื่น ในธาตุวิภังคสูตรนั้น ธาตุ ๖ ของบุคคลนั้น เพราะฉะนั้น บุคคลนั้นจึง ชื่อวามีธาตุ ๖ มีอธิบายวา ทานยอมจําบุคคลใดวาบุรุษ บุคคลนั้นมีธาตุ ๖ ก็ในที่นี้โดยปรมัตถก็มีเพียงธาตุเทานั้น

 
  ความคิดเห็นที่ 20  
 
chatchai.k
วันที่ 22 พ.ค. 2564

ก็บทวา ปุริโส คือ เปนเพียงบัญญัติ. แมในบทที่เหลือก็มีนัยนี้เหมือนกัน. ปติฏฐาน เรียกวา อธิษฐาน ในบทนี้วา จตุราธิฏาโน ความวา มีอธิษฐานสี่. มีอธิบายวา ดูกอนภิกษุ บุรุษนี้นั้นมีธาตุ ๖ มีผัสสอายตนะ ๖ มีมโนปวิจาร ๑๘ ดังนี้ กุลบุตรนั้น เวียนกลับจากธาตุนี้เทียว ถือเอาอรหัตอันเปนสิทธิที่สูงสุด ดํารงอยูในฐานะ ๔ นี้ ถือเอาพระอรหัต เพราะฉะนั้น จึงชื่อวามีอธิษฐาน ๔

บทวา ยตฺถฏิต ไดแกดํารงอยูในอธิษฐานเหลาใด

บทวา มฺสฺสวา นปฺปวตฺตนฺต ไดแก ไมมีกิเลสเครื่องสําคัญคนเปนไป

บทวา มุนิ สนฺโตติ วุจฺจติ ไดแก มุนี ผูพระขีณาสพ เรียกวา สงบแลว ดับแลว

บทวา ปฺ นปฺปมชฺเชยฺย ความวาไมพึงประมาท สมาธิปญญาและวิปสสนาปญญา ตั้งแตตนเทียว เพื่อแทงตลอดอรหัตตผลปญญา

บทวา สจฺจมนุรกฺเขยฺย ความวา พึงรักษาวจีสัจ ตั้งแตตนเพื่อกระทําใหแจงซึ่งปรมัตถสัจ คือ นิพพาน

บทวา จาคมนุพฺรูเหยฺย ความวา พึงพอกพูน การเสียสละกิเลสแตตนเทียว เพื่อทําการสละกิเลสทั้งปวง ดวยอรหัตตมรรค

บทวา สนฺติเมว โส สิกฺเขยฺย ความวา พึงศึกษาการสงบระงับกิเลส ตั้งแตตนเทียวเพื่อสงบระงับกิเลสทั้งหมดดวยอรหัตตมรรค. พระผูมีพระภาคเจาตรัสบุพภาคาธิษฐานทั้งหลาย มีสมถวิปสสนาปญญาเปนตนนี้ เพื่อประโยชนแกการบรรลุอธิษฐานทั้งหลายมีปญญาธิษฐานเปนตน ดวยประการ ฉะนี้

บุทวา ผสฺสายตน ความวา อายตนะ คือ อาการของผัสสะ

บทวา ปฺาธิฏาโน เปนตน พึงทราบดวยอํานาจแหงปญญาทั้งหลายมีอรหัตตผลปญญาเปนตน ซึ่งไดกลาวแลวในบทกอน บัดนี้ เปนอันกลาวถึงบทวา อัน เปนธรรมที่ผูตั้งอยูแลว ไมมีกิเลสเครื่องสําคัญตน และกิเลสเครื่องหมักหมม เปนไปดวยอํานาจแหงมาติกาที่ตั้งไวแลว แตครั้น บรรลุอรหัตแลว กิจดวย คําวา ไมพึงประมาทปญญาเปนตน ยอมไมมีอีก พระผูมีพระภาคเจาทรงวางมาติกาที่มีธาตุกลับกันแลว เมื่อจะทรงจําแนกวิภังคดวยอํานาจตามธรรม เทานั้น จึงตรัสคําวา ไมพึงประมาทปญญา ดังนี้เปนตน ดวยประการฉะนี้

 
  ความคิดเห็นที่ 21  
 
chatchai.k
วันที่ 22 พ.ค. 2564

ถามวา ในบาทคาถานั้น ใครประมาทปญญา ใครไมประมาทปญญา

ตอบวา บุคคลใดบวชในศาสนานี้กอนแลว สําเร็จชีวิตดวยอเนสนา ๒๑ วิธี ดวยอํานาจกรรมมีเวชกรรม เปนตน ไมอาจเพื่อตั้งจิตตุปบาทโดยสมควรแกบรรพชา บุคคลนี้ชื่อวา ประมาทปญญา สวนบุคคลใดบวชในศาสนาแลว ตั้งอยูในศีล เลาเรียนพระพุทธพจน สมาทานธุดงคอันเปนที่สบาย ถือกัมมัฏฐานอันชอบจิต อาศัยเสนาสนะอันสงัด กระทํากสิณบริกรรม ยังสมาบัติใหเกิดขึ้น เจริญวิปสสนาวา ในวันนี้แล พระอรหัตดังนี้ เที่ยวไป บุคคลนี้ ชื่อวาไมประมาทปญญา แตในสูตรนี้ ไดตรัสถึงความไมประมาทปญญานั้น ดวยอํานาจแหงธาตุกัมมัฏฐาน สวนคําใดพึงกลาวในธาตุกัมมัฏฐานนั้น คํานั้น ไดกลาวไวแลวในสูตรทั้งหลาย มีหัตถิปโทปมสูตร เปนตน ในหนกอนนั้นแล

ในสูตรนี้มีอนุสนธิโดยเฉพาะวา ตอนั้นสิ่งที่จะเหลืออยูอีก คือ วิญญาณ ดังนี้ เพราะไดตรัสรู้ปกัมมัฏฐานในหนกอนแลว บัดนี้ พระผูมีพระภาคเจาเพื่อจะทรงเปลี่ยนแสดงอรูปกัมมัฏฐาน ดวยอํานาจเวทนา จึงทรงปรารภเทศนานี้ ก็หรืออรูปกัมมัฏฐานนี้ใดอันเปนวิญญาณ ผูกระทํากรรมดวยอํานาจวิปสสนาที่ภิกษุนี้ พึงถึงในธาตุทั้งหลายมีปฐวีธาตุ เปนตน พระผูมีพระภาคเจาแมเมื่อจะทรงจําแนกแสดงอรูปกัมมัฏฐานนั้นดวยอํานาจวิญญาณธาตุ จึงทรงปรารภเทศนานี้

บรรดาบทเหลานั้น บทวา อวสิสฺสติ ความวาจะเหลือเพื่อประโยชนอะไร จะเหลือเพื่อประโยชนแกการแสดงของพระศาสดา และเพื่อประโยชนแกการแทงตลอดของกุลบุตร

บท ปริสุทธ ไดแก ปราศจากอุปกิเลส

บทวา ปริโยทาต ไดแก ประภัสสร

บทวา สุขนฺติป ปชานาติ ความวา ยอมรูชัดวา เมื่อเราเสวยสุข ชื่อวา เสวยสุขเวทนา

 
  ความคิดเห็นที่ 22  
 
chatchai.k
วันที่ 22 พ.ค. 2564

แมในบททั้งสองที่เหลือก็นัยนี้เหมือนกัน. ก็ถาเวทนากถานี้ ไมไดตรัสไวในหนกอนไซร ก็ควรเปนไปเพื่อตรัสไวในสูตรนี้ ก็เวทนากถานั้นไดตรัสไวแลวในสติปฏฐานนั้นเทียว เพราะฉะนั้น พึงทราบโดยนัยที่กลาวแลวในสติปฏฐานนั้นแล. บทเปนตนอยางนี้วา สุขเวทนีย ไดกลาวไวแลว เพื่อแสดงความเกิดขึ้นและความดับ ดวยอํานาจปจจัย. บรรดาบทเหลานั้น

บทวา สุขเวทนีย คือ เปนปจจัยแหงสุขเวทนา. แมในบทที่เหลือทั้งหลาย ก็นัยนี้เหมือนกัน

บทวา อุเปกฺขาเยว อวสิสฺสติ ความวา ก็ศิษยจับมุกดาที่อาจารยผูทําแกวมณีผูฉลาด รอยเพชรดวยเข็มเอามาวางแลววางอีกใหในแผนหนัง เมื่อทําการรอยดวยดาย ชื่อวา ทําเครื่องประดับมีตุมหูแกวมุกดาและขายแกวมุกดาเปนตน ชื่อฉันใด กุลบุตรนี้เมื่อมนสิการซึ่งกัมมัฏฐานที่พระผูมีพระภาคเจาตรัสใหแลว ชื่อวา ไดกระทําใหคลองแคลว ฉันนั้นเหมือนกัน เพราะฉะนั้น รูปกัมมัฏฐานก็ดี อรูปกัมมัฏฐานก็ดี ไดเกิดคลองแคลว ดวยประการเทานี้.

ลําดับนั้น พระผูมีพระภาคเจาจึงตรัสวา ตอนั้นสิ่งที่จะเหลืออยู คือ อุเบกขา ดังนี้.

ถามวา จะเหลือเพื่ออะไร

ตอบวา เพื่อการทรงแสดงของพระศาสดา. อาจารยบางพวกกลาววา เพื่อแทงตลอดของกุลบุตรดังนี้บาง. คํานั้นไมควรถือเอา. กุลบุตรไดอานสาสนของพระสหายไดยืนอยูบนพื้นปราสาท ยังอานาปานจตุตถฌาณใหเกิดแลว ก็อานาปานจตุตถฌานนั้น ยอมยังยานกิจ ของกุลบุตรนั้น ผูเดินทางมาประมาณนี้ใหสําเร็จ เพราะฉะนั้น จึงเหลือเพื่อการตรัสของพระศาสดาเทานั้น. ก็ในฐานะนี้พระศาสดาตรัสคุณในรูปาวจรฌานแกกุลบุตร. เพราะไดตรัสวาดูกอนภิกษุ รูปาวจรจตุตถฌานนี้คลองแคล่วกอน ดังนี้

บทวา ปริสุทฺธา เปนตน เปนการแสดงคุณแหงอุเบกขานั้นเทียว

 
  ความคิดเห็นที่ 23  
 
chatchai.k
วันที่ 22 พ.ค. 2564

บทวา อกฺก พนฺเธยฺย คือ เตรียมเบาเพลิง

บทวา อาลิมฺเปยฺย ความวา ใสถานเพลิงลงในเบานั้นแลวจุดไฟ เปาดวยสูบใหไฟลุกโพลง.

บทวา อุกฺกามุเข ปกฺขิเปยฺย ความวา คีบถานเพลิงวางไวบนถานเพลิง หรือใสถานเพลิงบนถานเพลิงนั้น

บทวา นีหต คือ มีมลทินอันนําออกไปแลว

บทวา นินฺนิตกสาว ไดแก มีน้ําฝาดออกแลว

บทวา เอวเมว โข ความวา ทรงแสดงคุณวา จตุตถฌานเปกขานี้กอน ยอมมีเพื่อประโยชนแกธรรมที่ทานปรารถนา ในบรรดาธรรมนี้คือ วิปสสนา อภิญญา นิโรธ ภโวกกันติ เหมือนทองนั้น ยอมเปนไปเพื่อชนิดแหงเครื่องประดับที่ปรารถนาและตองการแลวฉะนั้น

ถามวา ก็เพราะเหตุไร พระผูมีพระภาคเจาจึงไมตรัสโทษ เพื่อความผองแผวจากความใครในรูปาวจรจตุตถฌานแมนี้ แตตรัส คุณเลา

ตอบวา เพราะการยึดมั่นความใครในจตุตถฌานของกุลบุตรมีกําลัง. ถาจะพึงตรัสโทษไซร กุลบุตรก็จะพึงถึงความสงสัย ความงงงวยวา เมื่อเราบวชแลว เดินทางมาตลอด ๑๙๒ โยชน จตุตถฌานนี้ยังยานกิจใหสําเร็จได เรามาสูหนทางประมาณเทานี้ ก็มาแลวเพื่อความยินดีในฌานสุข ดวยฌานสุข พระผูมีพระภาคเจาตรัสโทษแหงธรรมอันประณีตเห็นปานนี้ ทรงรูหนอแล จึงตรัส หรือไมทรงรู จึงตรัส ดังนี้ เพราะฉะนั้น พระผูมีพระภาคเจาจึงตรัสคุณ ในบทนี้วา ตทนุธมฺม ดังนี้ อรูปาวจรฌาน ชื่อวา ธรรม รูปาวจรฌาน เรียกวาอนุธรรม เพราะเปนธรรมคลอยตามอรูปาวจรฌานนั้น อีกประการหนึ่ง วิปากฌาน ชื่อวา ธรรม กุศลฌาน ชื่อวา อนุธรรม

บทวา ตทุปาทานา คือ การถือเอาธรรมนั้น

บทวา จิร ทีฆมทฺธาน ไดแก ตลอด ๒๐,๐๐๐ กัป ก็คํานั้น ตรัสดวยอํานาจแหงวิบาก แม นอกจากนี้ก็มีนัยเหมือนกัน

 
  ความคิดเห็นที่ 24  
 
chatchai.k
วันที่ 22 พ.ค. 2564

พระผูมีพระภาคเจา ครั้นตรัสคุณของอรูปาวจรฌาน โดยวาระ ๔ อยางนี้แลว บัดนี้ เมื่อจะทรงแสดงโทษแหงอรูปาวจรฌานนั้น จึงตรัสวา เธอรูชัดยางนี้ เปนตน. บรรดาบทเหลานั้น บทวา สงฺขตเมต ความวา ในปฐมพรหมโลกนั้น มีอายุ ๒๐,๐๐๐ กัป แมก็จริง แตพระผูมีพระภาคเจา เมื่อทรงกระทําจิตนั้นไหเปนการปรับปรุง คือความสําเร็จ ความพอกพูน ก็ยอมทรงกระทํา. อายุนั้นไมเที่ยง ไมยั่งยืน ไมแนนอน ชั่วคราว มีการเคลื่อนไป แตกดับ และกระจัดกระจายเปนธรรมดา คลอยตามความเกิด ถูกชราบั่นทอน อันมรณะครอบงํา ตั้งอยูในทุกข ไมมีอะไรตานทาน ไมเปนที่เรนลับ ไมเปนที่พึ่ง ไมเปนที่พึ่งพาอาศัย. แมในวิญญาณายตนะเปนตน ก็นัยนี้เหมือนกัน

บัดนี้ เมื่อจะทรงถือเอาเทศนาดวยยอดคือ อรหัต จึงตรัสวา บุคคล นั้น จะไมคํานึง ดังนี้เปนตน. เหมือนหมอผูฉลาดเห็นความเปลี่ยน. แปลงแหงพิษแลว กระทําใจใหพิษเคลื่อนจากฐานใหขึ้นขางบน ไมใหเพื่อจับคอหรือศีรษะ ใหพิษตกลงในแผนดินฉันใด พระผูมีพระภาคเจาทรงแสดงคุณในอรูปาวจรฌานแกกุลบุตรฉันนั้นเหมือนกัน กุลบุตรครั้นฟงอรูปาวจรฌานนั้นแลว ครอบงําความใครในรูปาวจรฌาน ตั้งความปรารถนาในอรูปาวจรฌาน. ก็พระผูมีพระภาคเจาทรงรูความที่กุลบุตรนั้นครอบงําความใครในรูปาวจรฌานนั้นแลว จึงทรงแสดงโทษนั้นทั้งหมด ดวยบทเดียวเทานั้นวา สงฺขตเมต แกภิกษุผูยังไมบรรลุ ยังไมไดอรูปาวจรฌานนั้นวา ชื่อวา สมบัติในอากาสานัญจายตนะเปนตนนั้นมีอยู ก็อายุของผูไดอากาสานัญจายตนะ เปนตนนั้น ในพรหมโลกที่หนึ่ง มี ๒๐,๐๐๐ กัป ในพรหมโลกที่สอง มี ๔๐,๐๐๐ กัป ในพรหมโลกที่สาม มี ๖๐,๐๐๐ กัป ในพรหมโลกที่สี่ มี ๘๔,๐๐๐ กัป แตอายุนั้น ไมเทียง ไมยังยืน ไมแนนอน เปนไปชั่วคราว มีการเคลื่อนไป แตกดับ และกระจัดกระจายเปนธรรมดา คลอยตามความเกิด ถูกชราบั่นทอน อันมรณะครอบงํา ตั้งอยูในทุกข ไมมีอะไรตานทาน ไมเปนที่เรนลับ ไมเปนที่พึ่ง ไมเปนที่พึ่งพาอาศัย แมไดเสวยสมบัติในพรหมโลกนั้น ตลอดกาลประมาณเทานี้ ทํากาลกิริยาอยางปุถุชนแลว พึงตกในอบายสี่อีก. กุลบุตรไดฟงพระพุทธพจนนั้นแลว ยึดมั่นความใครในอรูปาวจรฌาณ

 
  ความคิดเห็นที่ 25  
 
chatchai.k
วันที่ 22 พ.ค. 2564

พระผูมีพระภาคเจา ครั้นทรงทราบความที่กุลบุตรนั้น เปนผูยึดมั่นความใครในรูปาวจรและอรูปาวจรแลว เมื่อจะทรงถือยอดคืออรหัต จึงตรัสวา บุคคลนั้นจะไมคํานึงดังนี้เปนตน. ก็หรือวามหาโยธะ (นายทหาร ผูใหญ) คนหนึ่ง ยังพระราชาพระองคหนึ่งใหพอพระราชหฤทัยแลว จึงไดบานสวย ซึ่งมีรายไดหนึ่งแสน. พระราชาทรงระลึกถึงอานุภาพของมหาโยธะ นั้นวา โยธะมีอานุภาพมาก เขาไดทรัพยนอย ดังนี้ จึงพระราชทานอีกวา ดูกอนพอ บานนี้ไมสมควรแกทาน ทานจงรับเอาบานอื่น ซึ่งมีรายไดตั้งสี่แสน. เขารับสนองพระบรมราชโอการวา ดีละ พระพุทธเจาขา ละบานนั้น แลวรับเอาบานนี้. พระราชาตรัสสั่งใหเรียกมหาโยธะนั้น ผูยังไมถึงบานนั้นแล ทรงสงไปวา ทาน จะมีประโยชนอะไรดวยบานนั้น อหิวาตกโรค กําลังเกิด ในบานนั้น แตในที่โนน มีนครใหญ ทานพึงยกฉัตรเสวยราชยในนครนั้น เถิด ดังนี้. มหาโยธะนั้น พึงเสวยราชยอยางนั้น. ในขอนั้น พึงเห็นพระสัมมาสัมพุทธเจาเหมือนพระราชา ปุกกุสาติกุลบุตรเหมือนมหาโยธะ อานาปานจตุตถฌาน เหมือนบานที่ไดครั้งแรก การใหการทําการยึดมั่น ซึ่งความใคร ในอานาปานฌานแลวตรัสอรูป เหมือนกาลใหมหาโยธะสละบานนั้นแลว ตรัสวา เจาจงถือเอาบานนี้ การที่ใหกุลบุตรนั้นเปลี่ยนการปรารถนาในสมาบัติเหลานั้น ที่ยังไมถึง ดวยการทรงแสดงโทษในอรูปวา สงฺขตเมต แลวทรงถือเอาเทศนาดวยยอดคืออรหัตในเบื้องสูง เหมือนกาลที่ตรัสสั่งใหเรียก มหาโยธะ ซึ่งยังไมถึงบานนั้น แลว ตรัสวา ทาน จะมีประโยชนอะไร ดวยบานนั้น อหิวาตกโรคกําลังเกิดในบานนั้น ในที่โนนมีนคร ทานจงยกฉัตร เสวยราชยในนครนั้นเถิด.

 
  ความคิดเห็นที่ 26  
 
chatchai.k
วันที่ 22 พ.ค. 2564

บรรดาบทเหลานั้น บทวา เนว อภิสงฺขโรติ คือไมสั่งสม ไดแก ไมทําใหเปนกอง

บทวา น อภิสฺเจตยติ คือ ไมใหสําเร็จ

บทวา ภวาย วา วิภวาย วา ไดแก เพื่อความเจริญ หรือเพื่อความเสื่อม พึงประกอบแมดวยอํานาจแหงสัสสตะและอุจเฉทะ

บทวา น กิฺจิ โลเก อุปาทิยติ ความวา ไมถือ ไมลูบคลํา แมธรรมหนึ่ง อะไรๆ ในธรรมทั้งหลายมีรูป เปนตน ในโลก ดวยตัณหา

บทวา นาปร อิตฺถตฺตายาติ ปชานาติ ความวา พระผูมีพระภาคเจาทรงตั้งอยูในพุทธวิสัยของพระองค ทรงถือยอด คืออรหัต ดวยเทศนา สวนกุลบุตรแทงตลอดสามัญผล ๓ ตามอุปนิสัยของตน พระราชาเสวยโภชนะมีรสตางๆ ดวยภาชนะทองคําทรงปนกอนขาวโดยประมาณของพระองค ครั้นเมื่อพระราชกุมารประทับนั่ง ณ พระเพลา แสดงความอาลัยในกอนขาว พึงทรงนอมกอนขาวนั้น กุมารทรงทําคําขาวโดยประมาณ พระโอษฐของพระองค พระราชาทรงเสวยคําขาวที่เหลือดวยพระองคเองหรือทรงใสในจานฉันใด พระตถาคตผูธรรมราชาก็ฉันนั้น เมื่อทรงถือยอดคือ พระอรหัต โดยประมาณพระองค ทรงแสดงเทศนา กุลบุตรแทงตลอดสามัญญผล ๓ ตามอุปนิสัยของตน. ก็ในกาลกอนแตนี้ กุลบุตรนั้นแสดงกถา อันประกอบดวยไตรลักษณ อันมีความวางเปลาอยางยิ่ง เห็นปานนี้วา ขันธ ธาตุ อายตนะ ทั้งหลาย ยอมไมกังขา ยอมไมสงสัยวา นัยวาไมเปนอยางนั้น ขอนั้นอาจารยของเรากลาวแลวอยางนี้ ทราบวา ความเปนคนเขลา ความเปนผูผิด ไมมีดวยประการฉะนี้. ไดยินวา ในฐานะบางอยาง พระพุทธเจาทั้งหลาย เสด็จไปดวยเพศอันบุคคลไมรูได ไดมีความสงสัย มีความเคลือบแคลง วา นั่นเปนพระสัมมาสัมพุทธเจาหนอแล. เพราะกุลบุตรนี้แทงตลอดอนาคามิผลแลวในกาลนั้น จึงถึงความตกลงวา บุคคลนี้คือ พระศาสดาของเรา

 
  ความคิดเห็นที่ 27  
 
chatchai.k
วันที่ 22 พ.ค. 2564

ถามวา เมื่อเปนเชนนั้น เพราะเหตุไร กุลบุตรจึงไมแสดงโทษลวงเกินเลา

ตอบวา เพราะไมมีโอกาส ก็พระผูมีพระภาคเจาทรงทําวาระอันไมตัดแลวดวยมาติกา ตามที่ทรงยกขึ้นแลว จึงทรงแสดงพระเทศนา ดุจทรงใหหยั่งลงสูอากาศคงคา ฉะนั้นแล.

บทวา โส คือ พระอรหันตนั้น

บทวา อนชฺโฌสิตา ความวา รูชัดวา ไมควรแลว เพื่อกลืน ติดใจ ถือเอา

บทวา อนภินนฺทิตา คือ รูชัดวา ไมควรแลวเพื่อเพลิดเพลินดวยอํานาจแหงตัณหาและทิฏฐิ.

บทวา วิสยุตฺโต น เวนิยติ ความวา ก็ถาวา ราคานุสัยเพราะปรารภสุขเวทนา ปฏิฆานุสัยเพราะปรารภทุกขเวทนา อวิชชานุสัยเพราะปรารภเวทนา นอกนี้ พึงเกิดแกบุคคลนั้นไซร บุคคลนั้นก็ชื่อวา ประกอบพรอมแลวเสวย. แตเพราะไมเกิดจึงชื่อวาไมประกอบเสวย คือสลัดออกแลว พนวิเศษแลว

บทวา กายปริยนฺติก ความวา เวทนา ซึ่งเกิดขึ้นมีกายเปนที่สุด จนถึง ความเปนไปแหงกาย ตอแตนั้น ก็ไมเกิด แมในบทที่สองก็นัยนี้เหมือนกัน

บทวา อภินนฺทิตานิ สีติภวิสฺสนฺติ ความวา ความเสวยอารมณทั้งหมด เปนอันชื่อวาไมยินดีแลว เพราะความที่กิเลสทั้งหลายไมมีพิเศษ ในอายตนะสิบสอง จักดับในอายตนะสิบสองนี้นั้นเทียว ก็กิเลสทั้งหลายแมดับแลวเพราะมาถึงนิพพาน ยอมไมมีในที่ใด เรียกวา ดับแลวในที่นั้น เนื้อความนี้นั้น พึงแสดงดวยสมุทย ปญหาวา ตัณหานั้น เมื่อจะดับยอมดับในที่นั้น เพราะฉะนั้น พระผูมีพระภาคเจาจึงตรัสวา ความเสวยอารมณทั้งหมดแมเปนธรรมชาติสงบแลว เพราะอาศัยนิพพานจักเปนของสงบในโลกนี้แล

 
  ความคิดเห็นที่ 28  
 
chatchai.k
วันที่ 22 พ.ค. 2564

ถามวา ก็ พระผูมีพระภาคเจาตรัสความเสวยอารมณทั้งหลาย ในที่นี้มิใชหรือ ทําไมจึง ไมตรัสกิเลสทั้งหลายเลา

ตอบวา เพราะแมความเสวยอารมณทั้งหลาย จะเปนของสงบ เพราะไมมีกิเลสนั้นเทียว. ธรรมดาความที่ความเสวยอารมณทั้งหลายเปนของสงบ ไมมีในฐานะนอกนี้ เพราะฉะนั้น คํานั้นกลาวดีแลว. นี้ เปนการเปรียบเทียบอุปมาในบทนี้วา เอวเมว โข เหมือนบุรุษคนหนึ่ง เมื่อประทีปน้ํามันไหมอยู ครั้นน้ํามันหมดแลว ก็เติมน้ํามันเหลานั้น เมื่อไสหมด ก็ใสไส เมื่อเปนเชนนั้นเปลวประทีปก็ไมดับฉันใด ปุถุชนก็ฉันนั้นเหมือนกัน ตั้งอยูในภพหนึ่ง ยอมทํากุศลและอกุศล เขาก็จะเกิดในสุคติและในอบายทั้งหลาย เพราะกุศลและอกุศลนั้น เมื่อเปนเชนนั้น เวทนาทั้งหลายก็ยังไมขาดสูญนั้นเทียว.

อนึ่ง คนหนึ่งกระสันในเปลวประทีป แอบซอนดวยคิดวา เพราะ อาศัยบุรุษนี้ เปลวประทีปจึงไมดับ ดังนี้ พึงตัดศีรษะของบุรุษนั้น. เพราะ ไมใสไสและไมเติมน้ํามันอยางนี้ เปลวประทีปที่หมดเชื้อ ก็ยอมดับฉันใด พระโยคาวจรผูกระสันในปวัตติกาลก็ฉันนั้นเหมือนกัน ยอมตัดขาดกุศลและอกุศล ดวยอรหัตตมรรค. เพราะความที่กุศลนั้น ถูกตัดขาดแลว ความเสวย อารมณทั้งหลายยอมไมเกิดขึ้นอีกแกภิกษุผูขีณาสพ เพราะความแตกแหงกาย ดังนี้

บทวา ตสฺมา ความวา เพราะอรหัตตผลปญญา ยิ่งกวาสมาธิปญญา และวิปสสนาปญญาในเบื้องตน

บทวา เอว สมนฺนาคโต ความวา ผูประกอบพรอมดวยอรหัตตผลปญญาอันเปนธรรมควรตั้งไวในใจ อันสูงสุดนี้. ญาณในอรหัตตมรรค ชื่อวา ญาณในความสิ้นไปซึ่งทุกขทั้งปวง แตในสูตรนี้ ทรงประสงคญาณในอรหัตตผล. เพราะเหตุนั้นแล จึงตรัสวา ความหลุดพนของเขานั้น จัดวาตั้งอยูในสัจจะเปนคุณไมกําเริบ ดังนี้. ก็ในบทเหลานั้น

 
  ความคิดเห็นที่ 29  
 
chatchai.k
วันที่ 22 พ.ค. 2564

ก็ในบทเหลานั้น บทวา วิมุตฺติ ไดแก อรหัตตผลวิมุตติ

บทวา สจฺจ ไดแก ปรมัตถสัจ คือ นิพพาน. ความหลุดพนนั้นตรัสวา ไมกําเริบ เพราะทําอารมณอันไมกําเริบดวยประการฉะนี้

บทวา มุสา ไดแก ไมจริง

บทวา โมสธมฺม ไดแก สภาพที่พินาศ

บทวา ต สจฺจ ความวา สัจจะนั้นเปนของแทมีสภาพ

บทวา อโมสธมฺม ไดแกมีสภาพไมพินาศ

บทวา ตสฺมา ความวา เพราะ ปรมัตถสัจ คือ นิพพานนั้นแล สูงกวาวจีสัจบาง ทุกขสัจและสมุทัยสัจบาง ดวยอํานาจแหงสมถะและวิปสสนาแตตน

บทวา เอว สมนฺนาคโต ความวา ผูประกอบพรอมดวยปรมัตถสัจจาธิษฐานอันสูงสุดนี้.

บทวา ปุพฺเพ คือ ในกาลเปนปุถุชน

บทวา อปธี โหนฺติ ไดแก อุปธิ เหลานั้น คือ ขันธูปธิ กิเลสูปธิ อภิสังขารูปธิ ปญจกามคุณูปธิ

บทวา สมตฺตา สมาทินฺนา ความวา บริบูรณ คือ ถือเอาแลว ไดแกลูบคลําแลว

บทวา ตสฺมา ความวา เพราะการสละกิเลสดวยอรหัตตมรรคนั้นแลดีกวาการสละกิเลสดวยอํานาจ แหงสมถะและวิปสสนาแตตน และกวาการสละกิเลสดวยโสดาปตติมรรคเปนตน

บทวา เอว สมนฺนาคโต คือ ผูประกอบพรอมแลวดวยจาคาธิษฐานอันสูงสุดนี้ ชื่อวา อาฆาฏะ ดวยอํานาจแหงการทําการลางผลาญ ในคําเปน ตนวา อาฆาโฏ. ชื่อวา พยาบาทดวยอํานาจแหงการปองราย. ชื่อวา สัมปโทสะ ดวยอํานาจแหงการประทุษรายทุกอยาง. ทานกลาวอกุศลมูลเทานั้น ดวยบททั้ง ๓

บทวา ตสฺมา ความวา เพราะการสงบระงับกิเลสดวยอรหัตตมรรคนั้นแล สูงกวาการสงบระงับกิเลสดวยอํานาจแหงสมถะและวิปสสนาแตเบื้องตน. และการสงบระงับกิเลสดวยโสดาปตตมรรคเปนตน

บทวา เอว สมนฺนาคโต ความวา ผูประกอบพรอมดวยอุปสมาธิษฐานอันอุดมนี้

 
  ความคิดเห็นที่ 30  
 
chatchai.k
วันที่ 22 พ.ค. 2564

พระสุตตันตปฎก มัชฌิมนิกายอุปริปณณาสก เลม ๓ ภาค ๒ - หนาที่ 377

บทวา มฺิตเมต ความวา ความสําคัญ แม ๓ อยาง คือ ตัณหามัญญิตะ มานมัญญิตะ ทิฏฐิมัญญิตะ ยอมเปนไป. ก็บทนี้วา อสฺสมห ในบทนี้วา อหมสฺมิ คือความสําคัญตัณหานั้นเทียว ยอมเปนไป ชื่อวา โรค เพราะ อรรถวา เบียดเบียน

ในบทวา โรโค เปนตน. ชื่อวา คัณฑะ เพราะ อรรถวา ประทุษรายในภายใน. ชื่อวา สัลละ เพราะอรรถวาเสียดแทงเนืองๆ

บทวา มุนิ สนฺโตติ วุจฺจติ ความวา บุคคลนั้นเรียกวา มุนีผูพระขีณาสพ ผูสงบแลว คือ ผูสงบระงับแลวดับทุกขแลว

บทวา ยตฺถ ิต คือ ตั้งอยู ในฐานะใด

บทวา สงฺขิตฺเตน ความวา ก็พระธรรมเทศนาแมทั้งหมดของพระพุทธเจาทั้งหลาย ก็ยอแลวเทียว ชื่อวา เทศนาโดยพิสดารไมมี แมสมันตปฏฐานกถาก็ยอแลวนั้นแล. พระผูมีพระภาคเจาทรงยังเทศนาใหถึงตามอนุสนธิ ดวยประการฉะนี้ ก็ในบุคคล ๔ จําพวก มีอุคฆฏิตัญู เปนตน ปุกกุสาติกุลบุตร เปนวิปจจิตัญู พระผูมีพระภาคเจาทรงแสดงธาตุวิภังคสูตรนี้ ดวย อํานาจแหงวิปจจิตัญู ดวยประการฉะนี้.

ในบทวา ขาแตพระองคผูเจริญ บาตรและจีวรของขาพระองค ยังไมครบแล มีคําถามวา เพราะเหตุไร บาตรและจีวรที่สําเร็จดวยฤทธิ์จึงไมเกิดขึ้นแกกุลบุตรเลา.

ตอบวา เพราะความ ที่บริขาร ๘ อยาง อันกุลบุตรไมเคยใหทานแลวในกาลกอน. กุลบุตรมีทานเคยถวายแลว มีอภินิหารไดกระทําแลว จึงไมควรกลาววา เพราะความที่ทานไมเคยใหแลว. ก็บาตรและจีวรอันสําเร็จแตฤทธิ์ ยอมเกิดแกสาวกทั้งหลายผูมีภพสุดทายเทานั้น. สวนกุลบุตรนี้ยังมีปฏิสนธิอีก. เพราะฉะนั้น บาตรและจีวรที่สําเร็จดวยฤทธิ์ จึงไมเกิดขึ้น.

ถามวา ถาเปนเชนนั้น เพราะเหตุไร พระผูมีพระภาคเจาจึงไมทรงแสวงหาดวยพระองคเองใหถึงพรอมเลา

ตอบวา เพราะ พระองคไมมีโอกาส อายุของกุลบุตรก็สิ้นแลว มหาพรหมผูอนาคามีชั้น

 
  ความคิดเห็นที่ 31  
 
chatchai.k
วันที่ 22 พ.ค. 2564

ถามวา ถาเปนเชนนั้น เพราะเหตุไร พระผูมีพระภาคเจาจึงไมทรงแสวงหาดวยพระองคเองใหถึงพรอมเลา

ตอบวา เพราะ พระองคไมมีโอกาส อายุของกุลบุตรก็สิ้นแลว มหาพรหมผูอนาคามีชั้นสุทธาวาส ก็เปนราวกะมาสูศาลาชางหมอแลวนั่งอยู. เพราะฉะนั้น จึงไมทรงแสวงหาดวยพระองคเอง

บทวา ปตฺตจีวร ปริเยสน ปกฺกามิ ความวา ทานปุกกุสาติหลีกไปในเวลานั้น เมื่ออรุณขึ้นแลว

ไดยินวา การจบพระธรรมเทศนาของพระผูมีพระภาคเจา การขึ้นแหงอรุณและการเปลงพระรัศมี ไดมีในขณะเดียวกัน. นัยวาพระผูมีพระภาคเจาทรงจบพระเทศนาแลว ทรงเปลงพระรัศมี มีสี ๖ ประการ นิเวศนแหงชางหมอทั้งสิ้น ก็โชติชวงเปนอันเดียวกัน. พระฉัพพัณณรัศมี ชัชวาลยแผไปเปนกลุมๆ ทําทิศทางทั้งปวงใหเปนดุจปกคลุมดวยแผนทองคําและดุจรุงเรื่อง ดวยดอกดําและรัตนะอันประเสริฐซึ่งมีสีตางๆ . เพราะพระผูมีพระภาคเจาทรง อธิษฐานวา ขอใหชาวพระนครทั้งหลาย จงเห็นเรา ดังนี้

ชาวพระนครทั้งหลายเห็นพระผูมีพระภาคเจาแลว ตางก็บอกตอๆ กันวา ไดยินวา พระศาสดาเสด็จมาแลว นัยวา ประทับนั่ง ณ ศาลาชางหมอ แลวกราบทูลแดพระราชา. พระราชาเสด็จไปถวายบังคมพระศาสดาแลวตรัสถามวา พระองคเสด็จมาแลว เมื่อไร. เมื่อเวลาพระอาทิตยตก วานนี้ มหาบพิตร. พระผูมีพระภาคเจาเสด็จมาดวยกรรมอะไร. พระเจาปุกกุสาติพระสหายของพระองคทรงฟงพระราชสาสนที่มหาบพิตรสงไปแลว เสด็จออกบวช เสด็จมาเจาะจงอาตมาภาพ ลวงเลยกรุงสาวัตถี เสด็จมาสิ้น ๕ โยชน. เสด็จเขาสูศาลาชางหมอนี้แลว ประทับนั่ง อาตมภาพจึงมาเพื่อสงเคราะหพระสหายของมหาบพิตร ไดแสดงธรรมกถา กุลบุตรทรงแทงตลอดผล ๓ มหาบพิตร.

ขาแตพระองคผูเจริญ เวลานี้ พระเจาปุกกุสาติประทับอยูที่ไหน พระเจาขา. พระผูมีพระภาคเจาตรัสวา พระเจาปุกกุสาติกุลบุตรทรงขออุปสมบทแลว เสด็จไปเพื่อทรงแสวงหาบาตรและจีวร เพราะบาตรและจีวรยังไมครบบริบูรณ. พระราชาเสด็จไปทางทิศทางที่กุลบุตรเสด็จไป

 
  ความคิดเห็นที่ 32  
 
chatchai.k
วันที่ 22 พ.ค. 2564

พระสุตตันตปฎก มัชฌิมนิกายอุปริปณณาสก เลม ๓ ภาค ๒ - หนาที่ 379

ฝายพระผูมีพระภาคเจาเสด็จเหาะไปปรากฏ ณ พระคันธกุฏีในพระเชตวันนั้นแล. แมกุลบุตรเมื่อแสวงหาบาตรและจีวร ก็ไมไปสูสํานักของพระเจาพิมพิสารและของพวกพอคาเดินเทาชาวเมืองตักกศิลา. ไดยินวากุลบุตรนั้นคิดอยางนี้วา การที่เลือกแสวงหาบาตรและจีวรที่พอใจและไมพอใจในสํานักนั้นๆ แล ไมสมควรแกเราผูดุจไก พระนครใหญ จําเราจักแสวงหาที่ทาน้ํา ปาชา กองขยะและตามตรอก ดังนี้. กุลบุตรปรารภเพื่อแสวงหาเศษผาที่กองขยะในตรอกกอน

บทวา ชีวิตา โวโรเปสิ ความวา แมโคลูกออนหมุนไปวิ่งมา ขวิดกุลบุตรนั้น ผูกําลังแลดูเศษผาในกองขยะแหงหนึ่ง ใหกระเด็นขึ้นถึงความตาย กุลบุตรผูถูกความหิวครอบงํา ถึงความสิ้นอายุในอากาศนั่นเทียว ตกลงมานอนคว่ําหนาในที่กองขยะ เปนเหมือนรูปทองคําฉะนั้น. ก็แลทํากาละแลว ไปเกิดในพรหมโลกชั้นอวิหา. พอเกิดแลวก็บรรลุพระอรหัต. ไดยินวา ชนที่สักวาเกิดแลวในอวิหาพรหมโลกมี ๗ คน ไดบรรลุพระอรหัต สมจริง ดังคําที่ทานกลาวไววา

ภิกษุรูปเขาถึงอวิหาพรหมโลกแลว หลุดพน มีราคะและโทสะสิ้นแลว ขามตัณหาในโลก และทานเหลานั้น ขามเปลือกตม บวงมัจจุราช ซึ่งขามไดแสนยาก ทานเหลานั้นละโยคะ ของมนุษยแลว เขาถึงโยคะอันเปนทิพย ทานเหลานั้น คือ อุปกะ ๑ ปลคัณฑะ ๑ ปุกกุสาติ ๑ รวม ๓ ภัททิยะ ๑ ขันฑเทวะ ๑ พาหุทัตติ ๑ ปงคิยะ ๑ ทานเหลานั้น ละโยคะของมนุษยแลว เขาถึงโยคะอันเปนทิพย ดังนี้

 
  ความคิดเห็นที่ 33  
 
chatchai.k
วันที่ 22 พ.ค. 2564

ฝายพระเจาพิมพิสาร ทรงพระราชดําริวา พระสหายของเราไดอาน สักวาสาลนที่เราสงไป ทรงสละราชสมบัติ ที่อยูในเงื้อมพระหัตถ เสด็จมาทางไกลประมาณเทานี้ กิจที่ทําไดยากอันกุลบุตรไดทําแลว เราจักสักการะเขาดวยเครื่องสักการะของบรรพชิต ดังนี้แลว จึงตรัสวา พวกทานจงไปตามหาพระสหายของเรา ดังนี้ ราชบริวารทั้งหลายที่ถูกสงไปในที่นั้นๆ ไดเห็นกุลบุตรนั้น เห็นเขาลมลงที่กองขยะ กลับมาทูลแดพระราชา. พระราชาเสด็จไปทรงเห็นกุลบุตรแลว ทรงคร่ําครวญวา ทานทั้งหลาย พวกเราไมไดเพื่อทําสักการะแกพระสหายหนอ พระสหายของเราไมมีที่พึ่งแลว ตรัสสั่งใหนํากุลบุตรดวยเตียง ทรงตั้งไวในโอกาสอันสมควร ตรัสสั่งใหเรียกผูอาบน้ําใหและชางกัลบกเปนตน โดยใหรูถึงการทําสักการะแกกุลบุตรผูยังไมไดอุปสมบท ทรงใหอาบพระเศียรของกุลบุตร ทรงใหนุงผาอันบริสุทธิ์เปนตน ทรงใหตกแตงดวยเพศของพระราชา ทรงยกขึ้นสูวอทอง ทรงใหทําการบูชา ดวยวัตถุทั้งหลายมีดนตรี ของหอมและมาลาทุกอยางเปนตน ทรงนําออกจากพระนคร ทรงใหทํามหาจิตกาธานดวยไมหอมเปนอันมาก ครั้นทรงทําสรีรกิจของกุลบุตรแลว ทรงนําเอาพระธาตุมาประดิษฐไวในพระเจดีย

คําที่เหลือในบททั้ง ปวงงายทั้งนั้นแล

จบอรรถกถาธาตุวิภังคสูตรที่ ๑๐

 
  ความคิดเห็นที่ 34  
 
chatchai.k
วันที่ 22 พ.ค. 2564

ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น

 
  ความคิดเห็นที่ 35  
 
chatchai.k
วันที่ 22 พ.ค. 2564

ขอเชิญอ่านเพิ่มเติม ...

ธาตุวิภังคสูตร

ขอเชิญรับฟัง ...

พระเจ้าปุกกุสาติ ๑

พระเจ้าปุกกุสาติ ๒

 
เขียนความคิดเห็น กรุณาเข้าระบบ