ภิกษุผู้มีตําแหน่งเลิศ ๑๐ ท่าน

 
chatchai.k
วันที่  14 มิ.ย. 2564
หมายเลข  34414
อ่าน  630

[เล่มที่ 32] พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เล่ม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 226

เอตทัคคบาลี

วรรคที่ ๑

วาดวยภิกษุผูมีตําแหนงเลิศ ๑๐ ทาน


  ความคิดเห็นที่ 1  
 
chatchai.k
วันที่ 14 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เล่ม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 226

[๑๔๖] ดูกอนภิกษุทั้งหลาย

พระอัญญาโกณฑัญญะ เลิศกวาพวกภิกษุสาวกของเราผูรูราตรีนาน

พระสารีบุตร เลิศกวาพวกภิกษสาวกของเราผูมีปญญามาก

พระมหาโมคคัลลานะ เลิศกวาพวกภิกษุสาวกของเราผูมีฤทธิ์

พระมหากัสสปะ เลิศกวาพวกภิกษุสาวกของเรา ผูทรงธุดงค และสรรเสริญคุณแหงธุดงค

พระอนุรุทธะ เลิศกวาพวกภิกษุสาวกของเราผูมีทิพยจักษุ

พระภัททิยกาฬิโคธาบุตร เลิศกวาพวกภิกษุสาวกของเราผูเกิด ในตระกูลสูง

พระลกุณฏกภัททิยะ เลิศกวาพวกภิกษุสาวกของเราผูมีเสียง ไพเราะ

พระปิณโฑลภารทวาชะ เลิศกวาพวกภิกษุสาวกของเราผู บันลือสีหนาท

พระปุณณมันตานีบุตร เลิศกวาพวกภิกษุสาวกของเราผูเปน ธรรมกถึก

พระมหากัจจายนะ เลิศกวาพวกภิกษุสาวกของเราผูจําแนก อรรถแหงภาษิตโดยยอใหพิสดาร

จบวรรคที่ ๑

 
  ความคิดเห็นที่ 2  
 
chatchai.k
วันที่ 14 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 227

เอตทัคควรรคที่ ๔

๑. วรรคที่ ๑

อรรถกถาสูตรที่ ๑

ในสูตรที่ ๑ ของวรรคที่ ๑ ในเอตทัคควรรค พึงทราบวินิจฉัย ดังตอไปนี้

บทวา เอตทคฺค ตัดบทเปน เอต อคฺค ก็อัคคศัพทนี้ ในบทวา เอตทคฺค นั้น ปรากฏในอรรถวาเบื้องตน ในประโยค มีอาทิวา ที่สุด. อัคคศัพท ปรากฏในอรรถวาเบื้องตน ในประโยค มีอาทิวา ดูกอนนายประตูผูสหาย ตั้งแตวันนี้เปนตนไป เราเปดประตู สําหรับ พวกนิครนถชายหญิง. มาในอรรถวา ปลาย ในประโยคมีอาทิวา บุคคลพึงเอาปลายนิ้วมือนั้นนั่นแล แตะตองปลายนิ้วมือนั้น ปลายออย ปลายไมไผ. มาในอรรถวา สวน ในประโยคมีอาทิวา ภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตแบงสวนเปรี้ยว สวนอรอย หรือสวนขม, ตาม สวนแหงวิหาร หรือตามสวนแหงบริเวณ. มาในอรรถวา ประเสริฐ สุด ในประโยคมีอาทิวา ภิกษุทั้งหลาย สัตวทั้งหลาย มีประมาณ เทาใด ไมมีเทาก็ตาม ฯลฯ พระตถาคตปรากฏวาประเสริฐ กวาสัตวเหลานั้น. ในที่นี้ อัคคศัพทนี้ ยอมใชได ทั้งในอรรถวาปลาย ทั้งในอรรถวาประเสริฐสุด. จริงอยู พระเถระเหลานั้น ชื่อวาอัคคะ เพราะเปนที่สุดบาง เพราะประเสริฐสุดบาง ในตําแหนงอันประเสริฐ สุดของตน เพราะฉะนั้น อรรถในบทวา เอตทคฺค นี้ มีดังนี้วา นี้เปนที่สุด นี้ประเสริฐสุด. แมในสูตรทั้งปวงก็นัยนี้เหมือนกัน

 
  ความคิดเห็นที่ 3  
 
chatchai.k
วันที่ 14 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 228

ก็ธรรมดาการแตงตั้งในตําแหนง เอตทัคคะ นี้ ยอมไดโดย เหตุ ๔ ประการคือ โดยเหตุเกิดเรื่อง โดยการมากอน โดยเปนผู ช่ําชองชํานาญ โดยเปนผูยิ่งดวยคุณ ในเหตุ ๔ อยางนั้น พระเถระ บางรูป ยอมไดตําแหนงเอตทัคคะ โดยเหตุอยางเดียว บางรูปได โดยเหตุ ๒ อยาง บางรูปไดโดยเหตุ ๓ อยาง บางรูปไดดวยเหตุ ทั้ง ๔ อยางหมดทีเดียว เหมือนทานพระสารีบุตรเถระ. จริงอยู ทานพระสารีบุตรเถระนั้น ไดตําแหนงเอตทัคคะ เพราะเปนผูมีปญญา มาก โดยเหตุเกิดเรื่องบาง โดยเหตุการณมากอนบาง. อยางไร? สมัยหนึ่ง พระศาสดาประทับอยูในพระวิหารเชตวัน ทรงแสดง ยมกปาฏิหาริย ปราบพวกเดียรถีย ณ โคนตนคัณฑามพฤกษ ไมมะมวงหอม ทรงดําริวา พระพุทธเจาในอดีตทั้งหลาย ทรงกระทํา ยมกปาฏิหาริยแลว เขาจําพรรษา ณ ที่ไหนหนอ ทรงทราบวา ณ ภพดาวดึงส ทรงแสดงรอยพระบาทไว ๒ รอยรอยที่ ๓ ประทับไว ณ ดาวดึงส ทาวสักกเทวราช ทอดพระเนตรเห็นพระผูมีพระภาคเจา ลุกจากบัณฑุกัมพลศิลาอาสน เสด็จไปตอนรับ พรอมดวยหมูเทพดา. เทวดาทั้งหลายคิดกันวา ทาวสักกเทวราช แวดลอมไปดวยหมูเทพ ประทับนั่งบนบัณฑุกัมพลศิลาอาสน ยาว ๖๐ โยชน เสวยมหาสมบัติ. จําเดิมแตพระพุทธเจาทั้งหลายประทับนั่งแลว คนอื่นไมสามารถ จะวางแมแตมือลง ณ พระแทนนี้ได ฝายพระศาสดา ประทับนั่ง ณ ที่นั้นแลว ทรงทราบวาระจิต ของทวยเทพเหลานั้นแลว ประทับนั่ง ลนบัณฑุกัมพลศิลาอาสนหมดเลย เหมือนทานผูทรงผาบังสุกุลผืนใหญ นั่งลนตั่งนอยฉะนั้น

 
  ความคิดเห็นที่ 4  
 
chatchai.k
วันที่ 14 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 229

แตใครๆ ไมควรกําหนดวา พระศาสดาเมื่อประทับนั่งอยางนี้ ทรงนิรมิตพระสรีระของพระองคใหใหญ หรือทรงทําบัณฑุกัมพล ศิลาอาสนใหเล็ก. ดวยวาพุทธวิสัย เปนอจินไตย (ใครๆ ไมควรคิด) ก็ พระองคประทับนั่งอยางนี้แลว การทําพระมารดาใหเปนกายสักขีประจักษ พยาน เริมทรงแสดงอภิธรรมปฎก มีอาทิวา กุศลธรรม อกุศลธรรม โปรดทวยเทพในหมื่นจักรวาล

แมในที่ทรงทํายมกปฏิหาริย บริษัททั้งหมดประมาณ ๒ โยชน เขาไปหาพระอนุรุทธะ ถามวา ทานผูเจริญ พระทสพลประทับอยู ณ ที่ไหน? พระอนุรุทธะตอบวา พระทสพลเขาจําพรรษา ณ บัณฑุกัมพลศิลาอาสน ในภพดาวดึงส เริ่มแสดงอภิธรรมปฎก บริษัท ถามวา ทานผูเจริญ พวกขาพเจา ไมเห็นพระศาสดาก็จักไมกลับไป ทานทั้งหลายจงรูเวลาที่พระศาสดาเสด็จมาวา เมื่อไรพระศาสดา จักเสด็จมา พระอนุรุทธะ กลาววา พวกทานจงไวหนาที่แกพระมหาโมคคัลลานเถระเถิด ทานไปเฝาพระพุทธเจาแลว จักนําขาว มา. บริษัทถามวา ก็กําลังของพระเถระที่จะไปในที่นั้นไมมี หรือ? พระอนุรุทธะกลาวอยางนี้วา มีอยู. แตขอบริษัทจงดูคุณ วิเศษเถิด. มหาชนเขาไปหาพระมหาโมคคัลลานเถระ ออนวอนขอให ทานรับขาวของพระศาสดาเสด็จมา. เมื่อมหาชนกําลังเห็นอยูนั่นแหละ. พระเถระก็ดําลงในมหาปฐพีไปภายในเขาสิเนรุ ถวายบังคมพระ ศาสดาทูลวา ขาแตพระองคผูเจริญ มหาชนประสงคจะเฝาพระองค อยากจะทราบวันที่พระองคจะเสด็จมา. พระศาสดาตรัสวา ถา อยางนั้น เธอจงบอกวา ทานทั้งหลาย จะเห็นที่ประตูเมืองสังกัสสะ

 
  ความคิดเห็นที่ 5  
 
chatchai.k
วันที่ 14 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 230

ฝายพระศาสดาทรงแสดงธรรม ๗ คัมภีร แลวทรงแสดง อาการเพื่อเสด็จกลับมนุษยโลก. ทาวสักกเทวราช ตรัสเรียกวิสสกัมมเทพบุตรมา มีเทวโองการสั่ง ใหนิรมิตบันได เพื่อพระตถาคต เสด็จลง วิสสุกัมมเทพบุตร เนรมิตบันไดทองขางหนึ่ง บันไดเงิน ขางหนึ่ง แลวเนรมิตบันไดแกวมณีไวตรงกลาง. พระศาสดาประทับ ยืนบนบันไดแกวมณี ทรงอธิษฐานวา ขอมหาชนจงเห็นเรา ทรง อธิษฐานดวยอานุภาพของพระองควา ขอมหาชนจงเห็นอเวจีมหานรก และทรงทราบวา มหาชนเกิดความสลดใจ เพราะเห็นนรก จึงทรง แสดงเทวโลก. ลําดับนั้น เมื่อพระองคเสด็จลง ทาวมหาพรหมกั้นฉัตร ทาวสักกเทวราชทรงรับบาตร. ทาวสุยามเทวราชพัดดวย วาลวีชนีอัน เปนทิพย. ปญจสิขคันธัพพเทพบุตร บรรเลงพิณสีเหลือง ดังผลมะตูม ใหเคลิบเคลิ้มดวยมุจฉนาเสียงประสาน ๕๐ ถวน ลงนําเสด็จ. ใน เวลาที่พระพุทธเจา ประทับยืนบนแผนดิน มหาชนอธิษฐานวา ขาฯจักถวายบังคมกอนๆ พรอมดวยการเหยียบมหาปฐพีของ พระผูมีพระภาคเจา ทั้งมหาชน ทั้งพระอสีติมหาสาวก ไมทันได ถวายบังคมพระผูมีพระภาคเจากอน. พระธรรมเสนาบดี สารีบุตร เถระเทานั้น ทันถวายบังคม

ตั้งแตนี้ลวงไป ๓ เดือน. พระเถระ นําขาวของพระผูมีพระภาคเจา มาบอกแกมหาชน. มหาชนตั้งคายอยูในที่นั้นนั่นเอง ๓ เดือน ทาน จุลลอนาถบิณฑิกเศรษฐี. ไดถวายขาวยาคูและภัต แกบริษัทประมาณ ๑๒ โยชนตลอด ๓ เดือน

 
  ความคิดเห็นที่ 6  
 
chatchai.k
วันที่ 14 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 231

ลําดับนั้น พระศาสดา ทรงเริ่มปุถุชนปญจกปญหา (ปญหา มีปุถุชนเปนที่ ๕) ในระหวางบริษัท ๑๒ โยชนดวยพระพุทธประสงควา มหาชนจงรูอานุภาพปญญาของพระเถระ. ครั้งแรกตรัสถามปุถุชน ดวยพุทธประสงควา โลกิยมหาชน จักกําหนดได. ชนเหลาใดๆ กําหนดได ขนเหลานั้นๆ ก็ตอบได. ครั้งที่ ๒ ตรัสถามปญหาใน โสดาปตติมรรค ลวงวิสัยปุถุชน. ปุถุชนทั้งหลายก็นิ่ง. พระโสดาบัน เทานั้นตอบได. ลําดับนั้นจึงตรัสถามปญหาในสกทาคามิมรรค ลวงวิสัยพระโสดาบัน. พระโสดาบันก็นิ่ง. พระสกทาคามิบุคคล เทานั้นตอบได. ตรัสถามปญหาในอนาคามิมรรค ลวงวิสัยแมของ พระสกทาคามิบุคคลเหลานั้น พระสกทาคามิบุคคลก็นิ่ง. พระอนาคามิ- บุคคลเทานั้นตอบได. ตรัสถามปญหาในอรหัตตมรรค ลวงวิสัย ของ พระอนาคามิบุคคล แมเหลานั้น. พระอนาคามีก็นิ่ง. พระอรหันต เทานั้นตอบได. ตั้งแตเงื่อนปญหาเบื้องต่ํากวานั้น ตรัสถามพระสาวก ผูรูยิ่ง. พระสาวกเหลานั้นตั้งอยูในวิสัยแหงปฏิสัมภิทาของตนๆ ก็ตอบได. ลําดับนั้นจึงตรัสถามพระมหาโมคคัลลานเถระ. พระสาวก นอกนั้นก็นิ่งเสีย. พระเถระเทานั้นตอบได. ทรงลวงวิสัยของพระเถระ แมนั้น ตรัสถามปญหาในวิสัยของพระสารีบุตร พระมหาโมคคัลลานะ ก็นิ่งเสีย. พระสารีบุตรเถระเทานั้นตอบได. ทรงลวงวิสัยแมของ พระเถระ ตรัสถามปญหาในพุทธวิสัย พระธรรมเสนาบดีแมนึกอยู ก็ไมสามารถจะเห็น มองดูไปรอบๆ คือ ทิศใหญ ๔ คือทิศตะวันออก ทิศตะวันตก ทิศเหนือ ทิศใต และทิศนอยทั้ง ๔ ก็ไมสามารถจะ กําหนดฐานที่เกิดปญหาได.

 
  ความคิดเห็นที่ 7  
 
chatchai.k
วันที่ 14 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 232

พระศาสดาทรงทราบวา พระเถระลําบากใจ จึงทรงดําริวา พระสารีบุตรลําบากใจ จําเราจักแสดงแนวทางแกเธอ จึงตรัสวา เธอ จงรอกอนสารีบุตร แลวตรัสบอกวาปญหานั้นเปนวิสัยของพระพุทธเจา ดวยพระดํารัสวา ปญหานี้มิใชวิสัยของเธอ เปนวิสัยของพระสัพพัญู พุทธเจาผูมียศ แลวตรัสวา สารีบุตรเธอจงเห็นภูตกายนี้. พระเถระ รูวา พระผูมีพระภาคเจา ตรัสบอกการกําหนดกายอันประกอบดวย มหาภูตรูป ๔ แลวทูลวา ขาแตพระผูมีพระภาคเจา ขาพระองครูแลว ขาแตพระสุคตเจา ขาพระองครูแลว. เกิดการสนทนากันขึ้นในที่นี้ ดังนี้วา ทานผูเจริญ ชื่อวาพระสารีบุตร มีปญญามากหนอ ตอบ ปญหาที่คนทั้งปวงไมรู และตั้งอยูในนัยที่พระพุทธเจาประทานแลว ตอบปญหาในพุทธวิสัยได ดังนั้น ปญญานุภาพของพระเถระจึงขจร ไปทวมฐานะทั้งปวง เทาที่กิตติศัพทของพระพุทธเจาขจรไป. พระ เถระไดตําแหง เอตทัคคะ เพราะมีปญญามาก โดยอัตถุปปตติ (เหตุเกิดเรื่อง) ดวยประการฉะนี้กอน.

ไดตําแหนง เอตทัคคะ โดยการมากอนอยางไร? โดยนัย แหงอัตถุปปตตินี้นี่แหละ พระศาสดา ตรัสวา สารีบุตร เปนผูมี ปญญาแตในปจจุบันนี้เทานั้นหามิได ในอดีตกาล แมเธอบวชเปน ฤษี ๕๐๐ ชาติ ก็ไดเปนผูมีปญญามากเหมือนกัน.

สาวกรูปใด ละกามที่นารื่นรมยใจแลว บวชถึง ๕๐๐ ชาติ ทานทั้งหลายจงไหวสาวก รูปนั้น ผูปราศจากราคะ ผูมีอินทรียตั้งมั่นดีแลว ผูดับสนิทแลว คือสารีบุตร

 
  ความคิดเห็นที่ 8  
 
chatchai.k
วันที่ 14 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 233

ทานเพิ่มพูนการบวชอยางนี้ สมัยหนึ่ง บังเกิดในตระกูลพราหมณ ณ กรุงพาราณสี เรียนไตรเพท ไมเห็นสาระในไตรเพทนั้น จึงเกิด ความคิดขึ้นวา ควรที่เราจะบวชแสวงหาโมกขธรรมสักอยางหนึ่ง. สมัยนั้น แมพระโพธิสัตว ก็บังเกิดในตระกูลอุทิจจพราหมณ ผู มหาศาลเจริญวัยแลว เรียนศิลปะ เห็นโทษในกามทั้งหลายและ อานิสงสในเนกขัมมะ ละการครองเรือน เขาปาหิมพานต กระทํา บริกรรมกสิณ ทําอภิญญา ๕ และสมาบัติ ๘ ใหบังเกิด มีผลหมาก รากไมในปาเปนอาหาร ใกลหิมวันตประเทศ แมมาณพนั้นก็บวช แลวในสํานักของพระโพธิสัตวนั้นนั่นแล. ทานมีปริวารมาก มีฤาษี ประมาณ ๕๐๐ เปนปริวาร. ลําดับนั้นหัวหนาอันเตวาสิกของทาน ไดพาบริษัทสวนหนึ่ง ไปยังถิ่นมนุษยเพื่อเสพรสเค็มและรสเปรี้ยว.

สมัยนั้น พระโพธิสัตวไดทํากาละ (ตาย) ณ หิมวันตประเทศ นั้นนั่นเอง. ในเวลาจะทํากาละ อันเตวาสิกทั้งหลาย ประชุมกัน ถามวา คุณวิเศษอะไร ที่ทานบรรลุมีอยูหรือ. พระโพธิสัตวตอบวา อะไรๆ ไมมี เปนผูไมเสื่อมฌานบังเกิดในพรหมโลกชั้นอาภัสสร. ทานไดอากิญจัญญายตนสมาบัติก็จริง แตถึงอยางนั้น ธรรมดาวา พระโพธิสัตวทั้งหลาย ไมปฏิสนธิในอรูปาวจรภูมิ. เพราะเหตุไร เพราะเปนฐานะอันไมควร. ดังนั้น ทานถึงแมไดอรูปสมาบัติก็ บังเกิดในรูปาวจรภูมิ. ฝายอันเตวาสิกของทาน ไมกระทําสักการะ และสัมมานะอะไรๆ ดวยคิดวา อาจารยกลาววา อะไรๆ ไมมีการ กระทํากาลกิริยาของทานเปนโมฆะเปลาคุณ. ลําดับนั้นหัวหนา อันเตวาสิกรูปนั้น เมื่อลวงพรรษาแลว จึงกลับมาแลวถามวา อาจารย์

 
  ความคิดเห็นที่ 9  
 
chatchai.k
วันที่ 14 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 234

ไปไหน? อันเตวาสิกทั้งหลายตอบวา ทํากาละเสียแลว. ทานถามวา พวกทานถามถึงคุณที่อาจารยไดบางหรือ? อันเตวาสิกตอบวา ขอรับ พวกกระผมถามแลว. หัวหนาอันเตวาสิกถามวา ทานพูดวา กระไร? พวกอันเตวาสิก ตอบวา อาจารยกลาววา อะไรๆ ไมมี แมพวกกระผมก็คิดวา ชื่อวาคุณที่อาจารยไดแลว ยอมไมมี จึงไม กระทําสักการะและสัมมานะแกทาน. หัวหนาอันเตวาสิก กลาววา พวกทานไมรูความของภาษิต ทานอาจารยไดอากิญจัญญายตนสมาบัติ. อันเตวาสิกเหลานั้น ก็ไมเชื่อคําของหัวหนาอันเตวาสิก. หัวหนาอันเตวาสิกแมพูดอยูบอยๆ ก็ไมอาจใหพวกอันเตวาสิกเชื่อได.

ลําดับนั้น พระโพธิสัตวรําพึงถึงอยูคิดวา มหาชนผูบอดเขลา ยอม ไมเชื่อคําของหัวหนาอันเตวาสิกของเรา จําเราจักกระทําเหตุนี้ให ปรากฏ ดังนี้แลวลงจากพรหมโลก ยืนอยูทายอาศรมทั้งที่อยูในอากาศ นั่นแล พรรณนาอานุภาพแหงปญญา ของหัวหนาอันเตวาสิก ได กลาวคาถานี้วา

ปโรสหสฺส ป สมาคตาน กนฺเทยฺยุ เต วสฺสสต อปฺา เอโกวเสยฺโย ปุริโส สปฺโ โย ภาสิตสฺส วิชานามิ อตฺก

คนแมเกิน ๑๐๐๐ คน ประชุมกัน ผูที่ไมมี ปญญาพึงคร่ําครวญอยูตลอด ๑๐๐ ป บุคคลผูรูแจง

 
  ความคิดเห็นที่ 10  
 
chatchai.k
วันที่ 14 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 235

ความหมายของภาษิต เปนผูมีปญญา คนเดียว เทานั้น ประเสริฐกวา (คนตั้ง ๑๐๐ คน)

พระโพธิสัตวทําใหหมูฤาษีเขาใจอยางนี้แลว กลับไปพรหมโลก. แมหมูฤาษีที่เหลือ ไมเสื่อมฌานทํากาลแลว มีพรหมโลกเปนที่ไป ในเบื้องหนา ในบรรดาบบุคคลเหลานั้น พระโพธิสัตวบรรลุพระ สัพพัญุตญาณ. หัวหนาอันเตวาสิก เปนพระสารีบุตร. ฤาษีที่เหลือ เปนพุทธบริษัท แมในอดีตกาล ก็พึงทราบวาพระสารีบุตรมีปญญา มาก สามารถรูอรรถของภาษิตที่ตรัสไวอยางสังเขป โดยพิสดาร ได ดวยประการฉะนี้.

อนึ่ง พระผูมีพระภาคเจาทรงกระทํา ปุถุชนปญจกปญหา ใหเปนเหตุเกิดเรื่องแลว ตรัสชาดกนี้วา

ถาแมคนเกิน ๑๐๐ คน ประชุมกัน คนเหลานั้น ไมปญญา พึงเพงพินิจอยูถึง ๑๐๐ ป ผูรูอรรถ ของภาษิต ผูมีปญญาคนเดียวเทานั้นประเสริฐกวา

เนื้อความของชาดกนั้น พึงทราบโดยนัยดังกลาวแลวในชาดก กอนนั่นแล. ทรงกระทําปุถุชนปญจกปญหานี้แล อีกขอหนึ่ง ใหเปน เหตุเกิดเรื่องแลว ทรงแสดงอนังคณชาดกนี้วา

ทั้งคนมีสัญญาก็ ทุคคตะ ทั้งคนไมมีสัญญา ก็ทุคคตะ สุขในสมาบัตินั่น ไมมีเครื่องยียวน ยอมมีไดแกเหลาชนเวนคน ๒ พวกนั้น

 
  ความคิดเห็นที่ 11  
 
chatchai.k
วันที่ 14 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 236

ก็ในชาดกนี้ อาจารยเมื่อจะทํากาละ ถูกอันเตวาสิกทั้งหลาย ถาม จึงกลาววา เนวสัญญีนาสัญญี (ผูมีสัญญาก็ไมใช ไมมีสัญญาก็ ไมใช) คําที่เหลือ พึงทราบโดยนัยดังกลาวแลวนั่นแล. ทรงกระทํา ปุถุชนปญจกปญหาอื่นอีก ใหเปนอัตถุปตติแลว ตรัสจันทาภชาดก นี้วา.

ในชาดกนี้ อาจารยเมื่อจะทํากาละ ถูกอันเตวาสิกถาม จึงกลาว วา จนฺทาภ สุริยาภ หมายเอาวา ผูใดหยั่งลง เขาไป แลนไปสูกสิณ ทั้ง ๒ นั้นคือ โอทาตกสิน ชื่อวา จันทาภะ ปตกสิณ ชื่อวาสุริยาภะ แมผูนั้นก็เขาถึง อาภัสสรพรหมดวยททุติยฌาน อันไมมีวิตก เราก็ เปนเชนนั้น. คําที่เหลือพึงทราบโดยนัยกอนนั่นแล. ทรงกระทํา ปุถุชชนปญจกปญหานี้แล ใหเปนอัตถุปตติ จึงตรัสสรภชาดกใน เตรสนิบาตนี้วา

เปนบุรุษพึงหวังอยูร่ําไป เปนบัณฑิตไมพึง เหนื่อยหนาย เราเห็นตนอยูวา ปรารถนาอยางใด ก็ไดเปนอยางนั้น เปนบุรุษพึงพยายามร่ําไป เปนบัณฑิตไมพึงเหนื่อยหนาย เราเห็นตนอยูวา ไดรับความชวยเหลือใหขึ้นจากน้ําสูบกได นรชน ผูมีปญญาแมประสบทุกข ก็ไมควรตัดความหวัง ในอันจะมาสูความสุข ดวยวาผัสสะทั้งที่ไม เกื้อกูลและเกื้อกูลมีมาก คนที่ไมใฝฝนถึง ก็ตอง เขาทางแตงความตาย

 
  ความคิดเห็นที่ 12  
 
chatchai.k
วันที่ 14 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 237

แมสิ่งที่ไมไดไว ก็มีได แมสิ่งที่คิดไวก็หาย ไปได โภคะทั้งหลายของสตรีหรือบุรุษ สําเร็จได ดวยความคิดนึกหามีไม เมื่อกอนพระองคเสด็จ ติดตามกวางตัวใด ไปติดที่ซอกเขา พระองค ทรงพระชนมสืบมาไดดวยอาศัยความบากบั่น ของกวางตัวนั้น ผูมีจิตไมทอแท.

กวางตัวใดพยายามเอาหินถนเหว ชวยพระองคขึ้นจากเหวลึกที่ขึ้นไดยาก ปลดเปลื้องพระองคผู เขาถึงทุกขออกจากปากมฤตยู พระองคกําลัง ตรัสถึงกวางตัวนั้นผูมีจิตไมทอแท.

ดูกอนพราหมณคราวนั้น ทานอยูที่นั้นดวย หรือ หรือวาใครบอกเรื่องนี้แกทาน ทานเปนผูเปดเผย ขอที่เคลือบคุม เห็นเรื่องทั้งหมดละสิหนอ ความรูของทาน แกกลาหรือหนอ.

ขาแตพระธีรราช ผูเปนจอมชน คราวนั้น ขาพระองคหาไดอยูในที่นั้นไมและใครก็มิไดบอก แกขาพระองคแตวานักปราชญทั้งหลาย ยอมนํา เนื้อความแตงบทคาถาที่พระองคทรงภาษิตไว ดีแลว มาใครครวญดู

ก็ชาดกทั้ง ๕ นี้ พระศาสดาตรัสไว เพื่อประกาศอานุภาพ แหงปญญาของพระธรรมเสนาบดีสารีบุตรเถระเทานั้นวา แมใน

 
  ความคิดเห็นที่ 13  
 
chatchai.k
วันที่ 14 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 238

อดีต บุตรของเรา ก็รูอรรถแหงธรรมที่เรากลาวแตสังเขปโดยพิสดาร ได เพราะฉะนั้น พระเถระไดตําแหนงเอตทัคคะ เพราะความที่ตนมี ปญญามาก แมโดยการมากอน ดวยประการอยางนี้

โดยเปนผูช่ําชองชํานาญอยางไร ไดยินวาขอนั้นเปนความ ช่ําชอง ของพระเถระ. พระเถระเมื่อแสดงธรรมทามกลางบริษัท ๔ ยอมแสดงไมพนสัจจะ ๔ เพราะฉะนั้นพระเถระไดเอตทัคคะ เพราะ เปนผูมีปญญามาก แมโดยเปนผูช่ําชองชํานาญ ดวยประการฉะนี้

โดยยิ่งดวยคุณอยางไร จริงอยู เวนพระทสพลเสีย คนอื่น ใครเลาแมเปนสาวกเอก ที่จะเสมอเหมือนพระธรรมเสนาบดีสารีบุตร ยอมไมมี เพราะทานเปนผูมีปญญามาก เพราะฉะนั้น พระเถระได ตําแหนงเอตทัคคะ เพราะมีปญญามาก แมโดยยิ่งดวยคุณ ดวย ประการฉะนี้

ก็แมพระมหาโมคคัลลานะก็เหมือนพระสารีบุตรเถระ ได ตําแหนงเอตทัคคะดวยเหตุแม ๔ ประการนี้ทั้งหมด ไดอยางไร ก็พระเถระมีฤทธิ์มาก มีอานุภาพมาก ทรมานนาคราช เชนนันโทปนันทนาคราช เพราะฉะนั้น พระเถระยอมไดโดยอัตถุปปตติเหตุเกิดเรื่อง อยางนี้ เปนอันดับแรก ก็พระเถระนี้มิใชเปนผูมีฤทธิ์มาก แตใน ปจจุบันเทานั้น ถึงในอดีต แมทานบวชเปนฤาษี ก็เปนผูมีฤทธิ์มาก มีอานุภาพมากถึง ๕๐๐ ชาติแล

สาวกใด ละกามทั้งหลายอันเปนที่รื่นรมยใจ บวช ๕๐๐ ชาติ ทานทั้งหลายจงไหวพระสาวก

 
  ความคิดเห็นที่ 14  
 
chatchai.k
วันที่ 14 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 239

นั้น ผูปราศจากราคะ ผูมีอินทรียตั้งมั่นแลว ดับ สนิทแลว คือโมคคัลลานะ แล

ก็ทานไดแมโดยการมากอนอยางนี้. ก็ขอนี้เปนความช่ําชองของ พระเถระ. พระเถระไปนรก อธิษฐานความเย็น เพื่อใหเกิดความ เบาใจ แกสัตวทั้งหลายในนรก ดวยกําลังฤทธิ์ของตนแลว เนรมิต ดอกปทุมขนาดเทาลอ นั่ง ณ กลีบปทุม แสดงธรรมกถา. ทานไป เทวโลก ทําทวยเทพใหรูคติแหงกรรม แลวแสดงสัจจกถา. เพราะ ฉะนั้น ทานจึงได โดยเปนผูช่ําของชํานาญอยางนี้.

ไดโดยยิ่งดวยคุณอยางไร? เวนพระสัมมาสัมพุทธเจาแลว พระสาวกอื่น ใครเลา ยอมไมมี เพราะฉะนั้น พระเถระไดตําแหนง เอตทัคคะโดยยิ่งดวยคุณอยางนี้.

แมพระมหากัสสปเถระ ก็ไดตําแหนงเอตทัคคะ โดยเหตุ ทั้งหมดนี้ เหมือนพระมหาโมคคัลลานะนี้. ไดอยางไร? ความจริง พระสัมมาสัมพุทธเจา ทรงการทําการตอนรับพระเถระสิ้นระยะทาง ประมาณ ๓ คาวุต ทรงใหอุปสมบทดวยโอวาท ๓ ทรงเปลี่ยนจีวร ประทานให. ในสมัยนั้น มหาปฐพีไหวถึงน้ํารองแผนดิน. เกียรติคุณ ของพระเถระ ก็ขจรทวมไประหวางมหาชน. ทานไดโดยอัตถุปปตติ

สาวกใด ละกามทั้งหลาย อันนารื่นรมยใจ บวช ๕๐๐ ชาติ ของทานทั้งหลายจงไหวสาวกนั้น ผูปราศจากราคะ ผูมีอินทรียตั้งมั่นดีแลว ผูดับ สนิท คือ กัสสปะแล

 
  ความคิดเห็นที่ 15  
 
chatchai.k
วันที่ 14 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 240

ทานไดโดยการมาอยางนี้. ความจริงขอนั้น เปนความช่ําชอง ของพระเถระ. ทานอยูทามกลางบริษัท ๔ เมื่อแสดงธรรม ยอมแสดง ไมละเวนกถาวัตถุ ๑๐ เลย เพราะฉะนั้น พระเถระไดโดยเปนผู ช่ําชองอยางนี้. เวนพระสัมมาสัมพุทธเจาเสีย สาวกอื่น ใครเลา ผูเสมอเหมือนพระมหากัสสปะ ดวยธุดงคคุณ ๑๓ ไมมี เพราะฉะนั้น พระเถระไดโดยยิ่งดวยคุณอยางนี้.

ควรประกาศคุณของพระเถระทั้งหลายนั้นๆ ตามที่ไดโดย ทํานองนี้. จริงอยู เมื่อวาดวยอํานาจคุณนั่นแล พระเจาจักรพรรดิ์ ทรงเสวยสิริราชสมบัติ ในหองจักรวาล ดวยอานภาพแหงจักรรัตนะ หาไดทรงขวนขวายนอยวา สิ่งที่ควรบรรลุเราก็บรรลุแลว บัดนี้ จะตองการอะไร ดวยมหาชนที่เราแลอยูแลว จึงเสวยแตเฉพาะ สิริราชสมบัติเทานั้นไม แตทรงประทับนั่งในโรงศาลาตามกาลอัน สมควร ทรงขมบุคคลที่ควรขม ทรงยกยองบุคคลที่ควรยกยอง ทรงตั้งไวในฐานันดรทั้งหลาย เฉพาะฐานันดรที่ควรแตงตั้งเทานั้น ฉันใด พระสัมมาสัมพุทธเจาก็ฉันนั้นเหมือนกัน แมเปนพระธรรมราชา ผูบรรลุความเปนพระราชาเพราะธรรมโดยลําดับ ดวยอานุภาพแหง พระสัพพัญุตญาณ ที่พระองคทรงบรรลุ ณ มหาโพธิมัณฑสถาน ไมทรงขวนขวายนอยวา บัดนี้จะตองการอะไร ดวยชาวโลก ที่เรา จะตองตรวจดู เราจักเสวยสุขในผลสมาบัติ อันยอดเยี่ยม ยังประทับ นั่งบนบวรพุทธอาสน ที่เขาบรรจงจัดไว ทามกลางบริษัท ๔. ทรง เปลงพระสุรเสียงดังเสียงพรหม อันประกอบดวยองค ๘ แลวทรง แสดงธรรม ทรงขมบุคคล ผูมีธรรมฝายดํา ผูควรขมดวยการขู ดวยภัยในอบาย เหมือนทรงโยนไปในเหวแหงขุนเขาสิเนรุ ทรง

 
  ความคิดเห็นที่ 16  
 
chatchai.k
วันที่ 14 มิ.ย. 2564

พระสุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 241

ยกยองบุคคลผูมีธรรมอันดี ผูควรยกยอง เหมือนยกขึ้นใหนั่งใน ภวัคคพรหม ทรงตั้งพระสาวกมีพระอัญญาโกณฑัญญเถระ เปนตน ผูควรตั้งไวในฐานันดรทั้งหลาย ใหดํารงในฐานันดรทั้งหลาย ดวย อํานาจคุณ พรอมดวยกิจคือหนาที่ตามความเปนจริงนั่นแล จึงตรัส คํามีอาทิวา ภิกษุทั้งหลาย บรรดาภิกษุสาวกของเราผูรัตตัญู รูราตรีนาน อัญญาโกณฑัญญะ เปนเลิศ ดังนี้

เรื่องพระอัญญาโกณฑัญญเถระ

 
  ความคิดเห็นที่ 17  
 
chatchai.k
วันที่ 14 มิ.ย. 2564

ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น

 
เขียนความคิดเห็น กรุณาเข้าระบบ