พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย

[เล่มที่ 33] พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต-ทุกนิบาต เล่ม ๑ ภาคที่ ๒

 
บ้านธัมมะ
วันที่  29 ส.ค. 2564
หมายเลข  36310
อ่าน  1,397

[เล่มที่ 33] พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต-ทุกนิบาต เล่ม ๑ ภาคที่ ๒

ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น


  ข้อความที่ 1  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 16 ต.ค. 2564

เอตทัคคบาลี

วรรคที่ ๕

วรรคที่ ๕ ว่าด้วยภิกษุณีผู้มีตําแหน่งเลิศ ๑๓ รูป

อรรถกถาสูตรที่ ๑ ประวัติพระมหาปชาบดีโคตมีเถรี

อรรถกถาสูตรที่ ๒ ประวัติพระเขมาเถรี

อรรถกถาสูตรที่ ๓ ประวัติพระอุบลวรรณาเถรี

อรรถกถาสูตรที่ ๔ ประวัติพระปฏาจาราเถรี

อรรถกถาสูตรที่ ๕ ประวัติพระธรรมทินนาเถรี

อรรถกถาสูตรที่ ๖ ประวัติพระนันทาเถรี

อรรถกถาสูตรที่ ๗ ประวัติพระโสณาเถรี

อรรถกถาสูตรที่ ๘ ประวัติพระสกุลาเถรี

อรรถกถาสูตรที่ ๙ ประวัติพระภัททากุณฑลเกสาเถรี

อรรถกถาสูตรที่ ๑๐ ประวัติพระภัททกาปิลานีเถรี

อรรถกถาสูตรที่ ๑๑ ประวัติพระภัททากัจจานาเถรี

อรรถกถาสูตรที่ ๑๒ ประวัติพระกีสาโคตมีเถรี

อรรถกถาสูตรที่ ๑๓ ประวัติพระสิงคาลมาตาเถรี

 
  ข้อความที่ 2  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 16 ต.ค. 2564
 
  ข้อความที่ 6  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 17 ต.ค. 2564

ปสาทกรธัมมาทิบาลี

ปสาทกรธัมมาทิบาลี

 
  ข้อความที่ 7  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 18 ต.ค. 2564

อังคุตตรนิกาย ทุกนิบาต

ปฐมปัณณาสก์

กัมมกรณวรรคที่ ๑

สูตรที่ ๑ ว่าด้วยโทษที่เป็นไปในปัจจุบันและภพหน้า

สูตรที่ ๒ ว่าด้วยความเพียรซึ่งเกิดได้ยาก ๒ อย่าง

สูตรที่ ๓ ว่าด้วยธรรมเป็นที่ตั้งแห่งความเดือดร้อน ๒ อย่าง

สูตรที่ ๔ ว่าด้วยธรรมไม่เป็นที่ตั้งแห่งความเดือดร้อน ๒ อย่าง

สูตรที่ ๕ ว่าด้วยคุณของธรรม ๒ อย่าง

สูตรที่ ๖ ว่าด้วยความพอใจและความหน่ายในธรรมอันเป็นปัจจัยแห่งสังโยชน์

สูตรที่ ๗ ว่าด้วยธรรมฝ่ายดํา ๒ อย่าง

สูตรที่ ๘ ว่าด้วยธรรมฝ่ายขาว ๒ อย่าง

สูตรที่ ๙ ว่าด้วยโลกบัญญัติคําว่ามารดาเป็นต้นเพราะอาศัยธรรมฝ่ายขาว ๒ อย่าง

สูตรที่ ๑๐ ว่าด้วยวัสสูปนายิการเข้าพรรษา ๒ อย่าง

 
  ข้อความที่ 9  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 18 ต.ค. 2564

พาลวรรคที่ ๓

พาลวรรคที่ ๓

 
  ข้อความที่ 10  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 18 ต.ค. 2564

สมจิตตวรรคที่ ๔

สูตรที่ ๑ ว่าด้วยภูมิของอสัตบุรุษและสัตบุรุษ

สูตรที่ ๒ บุคคล ๒ พวกที่กระทําตอบแทนไม่ได้ง่าย

สูตรที่ ๓ ว่าด้วยไม่ควรทําทุจริต ๓ ควรทําสุจริต ๓

สูตรที่ ๔ ว่าด้วยทักขิไณยบุคคล ๒ จําพวก

สูตรที่ ๕ ว่าด้วยบุคคลผู้มีสังโยชน์ในภายในและในภายนอก

สูตรที่ ๖ ว่าด้วยกามราคะและทิฏฐิราคะเป็นเหตุให้วิวาทกัน

สูตรที่ ๗ ว่าด้วยชื่อว่าเป็นบัณฑิตและเป็นเถระ มิใช่เพราะเป็นคนแก่

สูตรที่ ๘ ว่าด้วยเหตุเป็นไปและไม่เป็นไปเพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่ชนเป็นอันมาก

สูตรที่ ๙ ว่าด้วยการปฏิบัติผิดไม่ยังกุศลธรรมให้สําเร็จ การปฏิบัติชอบยังกุศลธรรมให้สําเร็จ

สูตรที่ ๑๐ ว่าด้วยเหตุให้พระสัทธรรมอันตรธานและดํารงอยู่

 
  ข้อความที่ 11  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 19 ต.ค. 2564

ปริสวรรคที่ ๕

สูตรที่ ๑ ว่าด้วยบริษัท ๒ จําพวก คือ ตื้น และลึก

สูตรที่ ๒ ว่าด้วยบริษัทที่แยกเป็นพวก และที่สามัคคีกัน

สูตรที่ ๓ ว่าด้วยบริษัทที่ไม่มีอัครบุคคล และมีอัครบุคล

สูตรที่ ๔ ว่าด้วยบริษัทที่มิใช่อริยะ และเป็นอริยะ

สูตรที่ ๕ ว่าด้วยบริษัทหยากเยื่อ และบริษัทใสสะอาด

สูตรที่ ๖ ว่าด้วยบริษัทที่ดื้อด้าน และไม่ดื้อด้าน

สูตรที่ ๗ ว่าด้วยบริษัทที่หนักในอามิส ไม่หนักในสัทธรรม และบริษัทที่หนักในสัทธรรม ไม่หนักในอามิส

สูตรที่ ๘ ว่าด้วยบริษัทที่เรียบร้อย และไม่เรียบร้อย

สูตรที่ ๙ ว่าด้วยบริษัทที่ไร้ธรรมและที่ประกอบด้วยธรรม

สูตรที่ ๑๐ ว่าด้วยบริษัท ๒ คือ อธรรมวาทีและธรรมวาที

 
  ข้อความที่ 12  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 19 ต.ค. 2564

ทุติยปัณณาสก์

ปุคคลวรรคที่ ๑

สูตรที่ ๑ ว่าด้วยบุคคล ๒ จําพวก ที่เกิดขึ้นเพื่อประโยชน์สุข แก่เทวดาและมนุษย์

สูตรที่ ๒ ว่าด้วยอัจฉริยบุคคล ๒ จําพวก

สูตรที่ ๓ ว่าด้วยกาลกิริยาของบุคคล ๒ จําพวก

สูตรที่ ๔ ว่าด้วยถูปารหบุคคล ๒ จําพวก

สูตรที่ ๕ ว่าด้วยพระพุทธเจ้า ๒ จําพวก

สูตรที่ ๖ ว่าด้วยบุคคล ๒ จําพวก เมื่อฟ้าผ่าไม่สะดุ้ง

สูตรที่ ๗ ว่าด้วยบุคคล ๒ จําพวก เมื่อฟ้าผ่าไม่สะดุ้ง

สูตรที่ ๘ ว่าด้วยบุคคล ๒ จําพวก เมื่อฟ้าผ่าไม่สะดุ้ง

สูตรที่ ๙ กินนรเห็นประโยชน์ ๒ ประการจึงไม่พูดภาษามนุษย์

สูตรที่ ๑๐ ว่าด้วยมาตุคามไม่อิ่มไม่ระอาธรรม ๒ ประการ

สูตรที่ ๑๑ ว่าด้วยการอยู่ร่วมของอสัตบุรุษและสัตบุรุษ

สูตรที่ ๑๒ ว่าด้วยอธิกรณ์ที่เป็นเหตุให้ภิกษุอยู่ไม่ผาสุกและอยู่ผาสุก

จบปุคคลวรรคที่ ๑

 
  ข้อความที่ 15  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 19 ต.ค. 2564

พระสูตรที่ไม่จัดเข้าในปัณณาสก์

พระสูตรที่ไม่จัดเข้าในปัณณาสก์