[เล่มที่ 30] พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค เล่ม ๕ ภาค ๑
[เล่มที่ 30] พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค เล่ม ๕ ภาค ๑
ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น
มัคคสังยุต
อวิชชาวรรคที่ ๑
๑. อวิชชาสูตร ว่าด้วยอวิชชา และวิชชาเป็นหัวหน้าแห่งอกุศลและกุศล
๒. อุปัฑฒสูตร ความเป็นผู้มีมิตรดี เป็นพรหมจรรย์
๓. สารีปุตตสูตร ความเป็นผู้มีมิตรดี
๔. พราหมณสูตร อริยมรรคเรียกชื่อได้ ๓ อย่าง
๕. กิมัตถิยสูตร ประพฤติพรหมจรรย์เพื่อกําหนดรู้ทุกข์
๖. ปฐมภิกขุสูตร มรรค ๘ เรียกว่าพรหมจรรย์
๗. ทุติยภิกขุสูตร ความกําจัดราคะ เป็นชื่อนิพพานธาตุ
วิหารวรรคที่ ๒
๑. ปฐมวิหารสูตร เวทนามี เพราะความเห็นผิดเป็นปัจจัย
๒. ทุติยวิหารสูตร เวทนามีเพราะความเห็นผิดเป็นปัจจัย
๔. ปฐมอุปปาทสูตร ธรรม ๘ มีเพราะการปรากฏแห่งพระตถาคต
๕. ทุติยอุปปาทสูตร ธรรม ๘ มีเพราะพระวินัยของพระสุคต
๖. ปฐมปริสุทธสูตร ธรรม ๘ ย่อมเกิดเพราะความปรากฏแห่งพระตถาคต
๗. ทุติยปริสุทธสูตร ธรรม ๘ ย่อมบริสุทธิ์เพราะวินัยของพระสุคต
๘. ปฐมกุกกุฏารามสูตร มิจฉามรรค ชื่อว่า อพรหมจรรย์
มิจฉัตตวรรคที่ ๓
๑. มิจฉัตตสูตร ความเห็นผิดและความเห็นถูก
๒. อกุศลธรรมสูตร อกุศลธรรมและกุศลธรรม
๓. ปฐมปฏิปทาสูตร มิจฉาปฏิปทาและสัมมาปฏิปทา
๔. ทุติยปฏิปทาสูตร ว่าด้วยญายธรรม
๕. ปฐมอสัปปุริสสูตร ว่าด้วยอสัตบุรุษและสัตบุรุษ
๖. ทุติยอสัปปุริสสูตร ว่าด้วยอสัตบุรุษและสัตบุรุษที่ยิ่งกว่า
๗. กุมภสูตร ว่าด้วยธรรมเครื่องรองรับจิต
๘. สมาธิสูตร ว่าด้วยสัมมาสมาธิอันประเสริฐ
ปฏิปัตติวรรคที่ ๔
๑. ปฏิปัตติสูตร ว่าด้วยมิจฉาปฏิบัติและสัมมาปฏิบัติ
๒. ปฏิปันนสูตร ว่าด้วยบุคคลผู้ปฏิบัติและปฏิบัติชอบ
๓. วิรัทธสูตร ผลของผู้พลาดและผู้ปรารภอริยมรรค
๔. ปารสูตร ธรรมเป็นเครื่องให้ถึงฝั่ง (นิพพาน)
๕. ปฐมสามัญญสูตร ว่าด้วยสามัญญะและสามัญญผล
๖. ทุติยสามัญญสูตร ว่าด้วยสามัญญะและสามัญญผล
๗. ปฐมพรหมัญญสูตร ความเป็นพรหมและเป็นพรหมัญญผล
๘. ทุติยพรหมัญญสูตร ความเป็นพรหมและประโยชน์แห่งความเป็นพรหม
อัญญติตถิยวรรคที่ ๕
๑. วิราคสูตร ข้อปฏิบัติเพื่อสํารอกราคะ
๒. สังโยชนสูตร ประพฤติพรหมจรรย์เพื่อละสังโยชน์
๓. อนุสยสูตร ประพฤติพรหมจรรย์เพื่อถอนอนุสัย
๔. อัทธานสูตร ประพฤติพรหมจรรย์เพื่อกําหนดรู้สังสารวัฏฏ์
๕. อาสวสูตร ประพฤติพรหมจรรย์เพื่อสิ้นอาสวะ
๖. วิชชาวิมุตติสูตร ประพฤติพรหมจรรย์เพื่อทําให้แจ้งซึ่งวิชชาและวิมุตติ
สุริยเปยยาลที่ ๖
๑. ปฐมกัลยาณมิตตสูตร มิตรดีเป็นนิมิตแห่งอริยมรรค
๒. ปฐมสีลสัมปทาสูตร สีลสัมปทา เป็นนิมิต แห่งอริยมรรค
๓. ปฐมฉันทสัมปทาสูตร ฉันทสัมปทาเป็นนิมิตแห่งอริยมรรค
๔. ปฐมอัตตสัมปทาสูตร อัตตสัมปทาเป็นนิมิตแห่งอริยมรรค
๕. ปฐมทิฏฐิสัมปทาสูตร ทิฏฐิสัมปทาเป็นนิมิตแห่งอริยมรรค
๖. ปฐมอัปปมาทสัมปทาสูตร ความไม่ประมาทเป็นนิมิตแห่งอริยมรรค
๗. ปฐมโยนิโสมนสิการสัมปทาสูตร โยนิโสมนสิการเป็นนิมิตแห่งอริยมรรค
๘. ทุติยกัลยาณมิตตสูตร มิตรดีเป็นนิมิตแห่งอริยมรรค
๙. ทุติยสีลสัมปทาสูตร สีลสัมปทาเป็นนิมิตแห่งอริยมรรค
๑๐. ทุติยฉันทสัมปทาสูตร ฉันทสัมปทาเป็นนิมิตแห่งอริยมรรค
๑๑. ทุติยอัตตสัมปทาสูตร อัตตสัมปทาเป็นนิมิตแห่งอริยมรรค
๑๒. ทุติยทิฏฐิสัมปทาสูตร ทิฏฐิสัมปทาเป็นนิมิตแห่งอริยมรรค
๑๓. ทุติยอัปปมาทสัมปทาสูตร ความไม่ประมาทเป็นนิมิตแห่งอริยมรรค
๑๔. ทุติยโยนิโสมนสิการสัมปทาสูตร โยนิโสมนสิการเป็นนิมิตแห่งอริยมรรค
เอกธรรมเปยยาลที่ ๗
๑. ปฐมกัลยาณมิตตสูตร กัลยาณมิตรมีอุปการะมากแก่อริยมรรค
๒. ปฐมสีลสัมปทาสูตร สีลสัมปทามีอุปการะมากแก่อริยมรรค
๓. ปฐมฉันทสัมปทาสูตร ฉันทสัมปทามีอุปการะมากแก่อริยมรรค
๔. ปฐมอัตตสัมปทาสูตร อัตตสัมปทามีอุปการะมากแก่อริยมรรค
๕. ปฐมทิฏฐิสัมปทาสูตร ทิฏฐิสัมปทามีอุปการะมากแก่อริยมรรค
๖. ปฐมอัปปมาทสูตร ความไม่ประมาทมีอุปการะมากแก่อริยมรรค
๗. ปฐมโยนิโสมนสิการสัมปทาสูตร โยนิโสมนสิการมีอุปการะมากแก่อริยมรรค
๘. ทุติยกัลยาณมิตตสูตร กัลยาณมิตรมีอุปการะมากแก่อริยมรรค
๙. ทุติยสีลสัมปทาสูตร สีลสัมปทามีอุปการะมากแก่อริยมรรค
๑๐. ทุติยฉันทสัมปทาสูตร ฉันทสัมปทามีอุปการะมากแก่อริยมรรค
๑๑. ทุติยอัตตสัมปทาสูตร อัตตสัมปทามีอุปการะมากแก่อริยมรรค
๑๒. ทุติยทิฏฐิสัมปทาสูตร ทิฏฐิสัมปทามีอุปการะมากแก่อริยมรรค
๑๓. ทุติยอัปปมาทสัมปทาสูตร ความไม่ประมาทมีอุปการะมากแก่อริยมรรค
๑๔. ทุติยโยนิโสมนสิการสัมปทาสูตร โยนิโสมนสิการมีอุปการะมากแก่อริยมรรค
นาหันตเอกธรรมเปยยาลที่ ๘
๑. ปฐมกัลยาณมิตตสูตร กัลยาณมิตรเป็นเหตุให้เกิดอริยมรรค
๒. ปฐมสีลสัมปทาสูตร สีลสัมปทาเป็นเหตุให้เกิดอริยมรรค
๓. ปฐมฉันทสัมปทาสูตร ฉันทสัมปทาเป็นเหตุให้เกิดอริยมรรค
๔. ปฐมอัตตสัมปทาสูตร อัตตสัมปทาเป็นเหตุให้เกิดอริยมรรค
๕. ปฐมทิฏฐิสัมปทาสูตร ทิฏฐิสัมปทาเป็นเหตุให้เกิดอริยมรรค
๖. ปฐมอัปปมาทสัมปทาสูตร อัปปมาทสัมปทาเป็นเหตุให้เกิดอริยมรรค
๗. ปฐมโยนิโสมนสิการสัมปทาสูตร โยนิโสมนสิการเป็นเหตุให้เกิดอริยมรรค
๘. ทุติยกัลยาณมิตตสูตร กัลยาณมิตรเป็นเหตุให้เกิดอริยมรรค
๙. ทุติยสีลสัมปทาสูตร สีลสัมปทาเป็นเหตุให้เกิดอริยมรรค
๑๐. ทุติยฉันทสัมปทาสูตร ฉันทสัมปทาเป็นเหตุให้เกิดอริยมรรค
๑๑. ทุติยอัตตสัมปทาสูตร อัตตสัมปทาเป็นเหตุให้เกิดอริยมรรค
๑๒. ทุติยทิฏฐิสัมปทาสูตร ทิฏฐิสัมปทาเป็นเหตุให้เกิดอริยมรรค
๑๓. ทุติยอัปปมาทสัมปทาสูตร อัปปมาทสัมปทาเป็นเหตุให้เกิดอริยมรรค
๑๔. ทุติยโยนิโสมนสิการสัมปทาสูตร โยนิโสมสิการเป็นเหตุให้เกิดอริยมรรค
คังคาเปยยาลที่ ๙
๑. คังคาปาจีนนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรคเป็นผู้น้อมไปสู่นิพพาน
๒. ยมุนาปาจีนนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ํายมุนาไหลไปสู่ทิศปราจีน
๓. อจิรวดีปาจีนนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ําอจิรวดีไหลไปสู่ทิศปราจีน
๔. สรภูปาจีนนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ําสรภูไหลไปสู่ทิศปราจีน
๕. มหีปาจีนนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ํามหีไหลไปสู่ทิศปราจีน
๖. มหานทีปาจีนนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ําใหญ่ไหลไปสู่ทิศปราจีน
๗. คังคาสมุททนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ําคงคาไหลไปสู่สมุทร
๘. ยมุนาสมุททนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ํายมุนาไหลไปสู่สมุทร
๙. อจิรวดีสมุททนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ําอจิรวดีไหลไปสู่สมุทร
๑๐. สรภูสมุททนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ําสรภูไหลไปสู่สมุทร
๑๑. มหีสมุททนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ําสรภูไหลไปสู่สมุทร
๑๒. มหานทีสมุททนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ําใหญ่ไหลไปสู่สมุทร
จบหมวดที่ ๑
๑. คังคาปาจีนนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ําคงคาไหลไปสู่ทิศปราจีน
๒. ยมุนาปาจีนนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ํายมุนาไหลไปสู่ทิศปราจีน
๓. อจิรวดีปาจีนนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ําอจิรวดีไหลไปสู่ทิศปราจีน
๔. สรภูปาจีนนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ําสรภูไหลไปสู่ทิศปราจีน
๕. มหีปาจีนนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ํามหีไหลไปสู่ทิศปราจีน
๖. มหานทีปาจีนนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ําใหญ่ไหลไปสู่ทิศปราจีน
๗. คังคาสมุททนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ําคงคาไหลไปสู่สมุทร
๘. ยมุนาสมุททนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ํายมุนาไหลไปสู่สมุทร
๙. อจิรวดีสมุททนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ําอจิรวดีไหลไปสู่สมุทร
๑๐. สรภูสมุททนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ําสรภูไหลไปสู่สมุทร
๑๑. มหีสมุททนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ํามหีไหลไปสู่สมุทร
๑๒. มหานทีสมุททนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ําใหญ่ไหลไปสู่สมุทร
จบหมวดที่ ๒
๑. คังคาปาจีนนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ําคงคาไหลไปสู่ทิศปราจีน
๒. ยมุนาปาจีนนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ํายมุนาไหลไปสู่ทิศปราจีน
๓. อจิรวดีปาจีนนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ําอจิรวดีไหลไปสู่ทิศปราจีน
๔. สรภูปาจีนนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ําสรภูไหลไปสู่ทิศปราจีน
๕. มหีปาจีนนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ํามหีไหลไปสู่ทิศปราจีน
๖. มหานทีปาจีนนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ําใหญ่ไปสู่ทิศปราจีน
๗. คังคาสมุททนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ําคงคาไหลไปสู่สมุทร
๘. ยมุนาสมุททนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ํายมุนาไหลไปสู่สมุทร
๙. อจิรวดีสมุททนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ําอจิรวดีไหลไปสู่สมุทร
๑๐. สรภูสมุททนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ําสรภูไหลไปสู่สมุทร
๑๑. มหีสมุททนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ํามหีไหลไปสู่สมุทร
๑๒. มหานทีสมุททนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนมหานทีไหลไปสู่สมุทร
จบหมวดที่ ๓
๑. คังคาปาจีนนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ําคงคาไหลไปสู่ทิศปราจีน
๒. ยมุนาปาจีนนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ํายมุนาไหลไปสู่ทิศปราจีน
๓. อจิรวดีปาจีนนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ําอจิรวดีไหลไปสู่ทิศปราจีน
๔. สรภูปาจีนนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ําสรภูไหลไปสู่ทิศปราจีน
๕. มหีปาจีนนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ํามหีไหลไปสู่ทิศปราจีน
๖. มหานทีปาจีนนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนมหานทีไหลไปสู่ทิศปราจีน
๗. คังคาสมุททนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ําคงคาไหลไปสู่สมุทร
๘. ยมุนาสมุททนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ํายมุนาไหลไปสู่สมุทร
๙. อจิรวดีสมุททนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ําอจิวดีไหลไปสู่สมุทร
๑๐. สรภูสมุททนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ําสรภูไหลไปสู่สมุทร
๑๑. มหีสมุททนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ํามหีไหลไปสู่สมุทร
๑๒. มหานทีสมุททนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ําใหญ่ไหลไปสู่สมุทร
จบหมวดที่ ๔
จบคังคาเปยยาลที่ ๙
อัปปมาทวรรคที่ ๑๐
๑. ปฐมตถาคตสูตร ผู้เจริญอริยมรรคน้อมไปในการสละ
๒. ทุติยตถาคตสูตร ผู้เจริญอริยมรรคมีการกําจัดราคะเป็นที่สุด
๓. ตติยตถาคตสูตร ผู้เจริญอริยมรรคอันหยั่งลงสู่อมตะ
๔. จตุตถตถาคตสูตร ความไม่ประมาทเลิศกว่ากุศลธรรม
๕. ปทสูตร กุศลธรรมทั้งปวงมีความไม่ประมาทเป็นมูล
๗. มูลคันธสูตร ว่าด้วยกลิ่นที่ราก
๘. สารคันธสูตร ว่าด้วยกลิ่นที่แก่น
๙. ปุปผคันธสูตร ว่าด้วยกลิ่นที่ดอก
๑๐. กุฏฐราชสูตร ว่าด้วยพระราชาผู้เลิศ
๑๑. จันทิมสูตร ว่าด้วยพระจันทร์
พลกรณียวรรคที่ ๑๑
๑. ปฐมพลกรณียสูตร อาศัยศีล เจริญอริยมรรคน้อมไปในการสละ
๒. ทุติยพลกรณียสูตร อาศัยศีล เจริญอริยมรรคมีการกำจัดราคะ
๓. ตติยพลกรณียสูตร อาศัยศีล เจริญอริยมรรคอันหยั่งลงสู่อมตะ
๔. จตุตถพลกรณียสูตร อาศัยศีล เจริญอริยมรรคน้อมไปสู่นิพพาน
๕. พีชสูตร ผู้อาศัยศีล เจริญอริยมรรค เหมือนพืชอาศัยแผ่นดิน
๖. นาคสูตร ผู้อาศัยศีลเจริญอริยมรรคเหมือนนาคอาศัยขุนเขา
๗. รุกขสูตร ผู้เจริญอริยมรรคน้อมไปสู่นิพพาน เหมือนต้นไม้ล้มลงทางที่โอน
๘. กุมภสูตร ผู้เจริญอริยมรรคย่อมระบายอกุศลธรรม
๙. สุกกสูตร ทิฏฐิที่ตั้งไว้ชอบย่อมทํางายอวิชชา
๑๐. อากาสสูตร ผู้เจริญอริยมรรคย่อมทําสติปัฏฐานให้บริบูรณ์
๑๑. ปฐมเมฆสูตร ผู้เจริญอริยมรรคทําอกุศลธรรมให้สงบโดยพลัน
๑๒. ทุติยเมฆสูตร ผู้เจริญอริยมรรคทําอกุศลธรรมให้สงบให้ระหว่างโดยพลัน
๑๓. นาวาสูตร ผู้เจริญอริยมรรคทําให้สังโยชน์สงบหมดไป
๑๔. อาคันตุกาคารสูตร ธรรมที่ควรกําหนดรู้ ควรละ ควรทําให้แจ้ง ควรทําให้เจริญ
๑๕. นทีสูตร ไม่มีผู้สามารถให้ผู้เจริญอริยมรรคกลับเป็นคนเลวได้
โพชฌงคสังยุต
ปัพพตวรรคที่ ๑
๑. หิมวันตสูตร ผู้เจริญโพชฌงค์ถึงความเป็นใหญ่ในธรรมทั้งหลาย
๔. วัตตสูตร การอยู่ด้วยโพชฌงค์ ๗
๕. ภิกขุสูตร เรื่องว่าโพชฌงค์เพราะเป็นไปเพื่อตรัสรู้
๖. กุณฑลิยสูตร ตถาคตมีวิชชาและวิมุตติเป็นผลานิสงส์
๗. กูฏสูตร ผู้เจริญโพชฌงค์ย่อมน้อมไปสู่นิพพาน
๘. อุปวาณสูตร โพชฌงค์ ๗ ที่ปรารภดีแล้วย่อมให้อยู่ผาสุก
คิลานวรรคที่ ๒
๑. ปาณูปมสูตร อาศัยศีลเจริญโพชฌงค์ ๗
๒. ปฐมสุริยูปมสูตร อาศัยกัลยาณมิตรเจริญโพชฌงค์ ๗
๓. ทุติยสุริยูปมสูตร โยนิโสมนสิการเป็นเบื้องต้นแห่งโพชฌงค์
๔. ปฐมคิลานสูตร พระมหากัสสปหายอาพาธด้วยโพชฌงค์ ๗
๕. ทุติยคิลานสูตร พระมหาโมคคัลลานะหายอาพาธด้วยโพชฌงค์ ๗
๖. ตติยคิลานสูตร พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงหายประชวรด้วยโพชฌงค์ ๗
๗. ปารคามีสูตร เจริญโพชฌงค์ ๗ ย่อมเป็นไปเพื่อถึงฝั่ง
๘. วิรัทธสูตร โพชฌงค์ ๗ ที่ปรารภผิดและปรารภถูก
อุทายิวรรคที่ ๓
๑. โพธนสูตร เรียกว่าโพชฌงค์เพราะเป็นเพื่อตรัสรู้
๓. ฐานิยสูตร นิวรณ์ ๕ เกิดเพราะมนสิการถึงธรรมที่เป็นที่ตั้งแห่งนิวรณ์
๔. อโยนิโสสูตร นิวรณ์ ๕ เกิดเพราะมนสิการโดยไม่แยบคาย
๕. อปริหานิยสูตร ธรรมอันไม่เป็นที่ตั้งแห่งความเสื่อม ๗
๖. ขยสูตร ปฏิปทาที่เป็นไปเพื่อสิ้นตัณหาคือโพชฌงค์ ๗
๗. นิโรธสูตร ปฏิปทาเป็นไปเพื่อดับตัณหาคือโพชฌงค์ ๗
๘. นิพเพธสูตร มรรคอันเป็นส่วนการแทงตลอดคือโพชฌงค์ ๗
๙. เอกกรรมสูตร โพชฌงค์ ๗ ย่อมเป็นไปเพื่อละธรรมเป็นที่ตั้งสังโยชน์
นิวรณวรรคที่ ๔
๑. ปฐมกุสลสูตร ธรรมที่เป็นกุศลมีความไม่ประมาทเป็นมูล
๒. ทุติยกุสลสูตร ธรรมที่เป็นกุศลมีโยนิโสมนสิการเป็นมูล
๓. อุปกิเลสสูตร อุปกิเลสของทอง ๕ อย่าง
๔. อโยนิโสสูตร มนสิการไม่แยบคาย นิวรณ์ ๕ จึงเกิด
๕. โยนีโสสูตร มนสิการโดยแยบคายย่อมเกิดโพชฌงค์
๖. วุฑฒิสูตร โพชฌงค์เป็นไปเพื่อความเจริญ
๗. อาวรณานีวรณสูตร ธรรมเป็นอุปกิเลสของจิต ๕
๘. นิวรณาวรณสูตร นิวรณ์ ๕ โพชฌงค์ ๗
จักกวัตติวรรคที่ ๕
๑. วิธาสูตร ละมานะ ๓ เพราะโพชฌงค์
๒. จักกวัตติสูตร รัตนะ ๗ อย่าง
๓. มารสูตร โพชฌงค์เป็นมรรคาเครื่องย่ํายีมาร
๔. ทุปปัญญสูตร เหตุที่เรียกว่าคนโง่คนใบ้
๕. ปัญญวาสูตร ด้วยเหตุเพียงเท่าไรจึงเรียกว่าคนมีปัญญา
๖. ทลิททสูตร ด้วยเหตุเพียงเท่าไรจึงเรียกว่าคนจน
๗. อทลิททสูตร ด้วยเหตุเพียงเท่าไรจึงเรียกว่าคนไม่จน
๘. อาทิจจสูตร ความเป็นผู้มีมิตรดีเป็นเบื้องต้นแห่งโพชฌงค์ ๗
สติปัฏฐานสังยุต
อัมพปาลิวรรคที่ ๑
๑. อัมพปาลิสูตร ว่าด้วยสติปัฏฐาน ๔
๓. ภิกขุสูตร ว่าด้วยการเจริญสติปัฏฐาน ๔ โดยส่วน ๓
๔. โกสลสูตร ว่าด้วยการเจริญสติปัฏฐาน ๔
๖. สกุณัคฆีสูตร ว่าด้วยอารมณ์โคจร
๗. มักกฏสูตร ว่าด้วยอารมณ์อันมิใช่โคจร
๘. สูทสูตร ว่าด้วยการสําเหนียกและไม่สําเหนียกนิมิต
๙. คิลานสูตร ว่าด้วยมีตนเป็นเกาะ
๑๐. ภิกขุนีสูตร ผู้มีจิตตั้งมั่นในสติปัฏฐาน ๔ ย่อมรู้คุณวิเศษ
นาฬันทวรรค ที่ ๒
๑. มหาปุริสสูตร ว่าด้วยผู้เป็นมหาบุรุษ
๒. นาฬันทาสูตร ว่าด้วยธรรมปริยาย
๓. จุนทสูตร ว่าด้วยการปรินิพพานของพระสารีบุตร
๔. เจลสูตร ว่าด้วยการมีธรรมเป็นเกาะเป็นที่พึ่ง
๕. พาหิยสูตร ศีลเป็นเบื้องต้นแห่งกุศลธรรม
๖. อุตติยสูตร อาศัยศีลเจริญสติปัฏฐาน ๔
๗. อริยสูตร สติปัฏฐาน ๔ เป็นอริยะ
๘. พรหมสูตร สติปัฏฐาน ๔ เป็นทางอันเอก
สีลัฏฐิติวรรคที่ ๓
๒. ฐิติสูตร ว่าด้วยการตั้งอยู่แห่งพระสัทธรรม
๓. ปริหานสูตร ว่าด้วยความเสื่อมแห่งพระสัทธรรม
๔. สุทธกสูตร ว่าด้วยการเจริญสติปัฏฐาน ๔
๕. พราหมณสูตร ว่าด้วยพระสัทธรรมตั้งอยู่ไม่ได้นาน
๖. ปเทสสูตร ว่าด้วยบุคคลจะชื่อว่าเป็นพระเสขะ
๗. สมัตตสูตร ว่าด้วยบุคคลจะชื่อว่าเป็นพระอเสขะ
อนนุสสุตวรรคที่ ๔
๑. อนนุสสุตสูตร ว่าด้วยธรรมที่ไม่เคยได้ฟังมาก่อน
๒. วิราคสูตร เจริญสติปัฏฐาน ๔ เพื่อความหน่าย
๓. วิรัทธสูตร ว่าด้วยผู้ไม่ปรารภและปรารภอริยมรรค
๔. ภาวนาสูตร ว่าด้วยการเจริญสติปัฏฐานเพื่อถึงฝั่ง
๕. สติสูตร ผู้เจริญสติปัฏฐานชื่อว่าผู้มีสติ
๖. อัญญสูตร ผู้เจริญสติปัฏฐาน ๔ หวังผลได้ ๒ อย่าง
๗. ฉันทสูตร ผู้เจริญสติปัฏฐาน ชื่อว่าทําให้แจ้งอมตะ
๘. ปริญญาสูตร ผู้เจริญสติปัฏฐาน ชื่อว่าทําให้แจ้งอมตะ
อมตวรรคที่ ๕
๑. อมตสูตร ว่าด้วยจิตตั้งมั่นในสติปัฏฐาน
๒. สมุทยสูตร ว่าด้วยการเกิดดับแห่งสติปัฏฐาน ๔
๓. มรรคสูตร ว่าด้วยทางเป็นที่ไปอันเอก
๔. สติสูตร ทรงเตือนภิกษุให้เป็นผู้มีสติ
๕. กุสลราสิสูตร ว่าด้วยกองกุศล
๖. ปาฏิโมกขสูตร ว่าด้วยปาฏิโมกขสังวร
๗. ทุจริตสูตร ว่าด้วยทุจริต และสุจริต
๘. มิตตสูตร การชักชวนให้เจริญสติปัฏฐาน