พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย

[เล่มที่ 28] พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย สฬายตนวรรค เล่ม ๔ ภาค ๑

 
บ้านธัมมะ
วันที่  29 ส.ค. 2564
หมายเลข  36302
อ่าน  1,247

[เล่มที่ 28] พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย สฬายตนวรรค เล่ม ๔ ภาค ๑

ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น


  ข้อความที่ 1  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 9 ก.ย. 2564

๑. สฬายตนสังยุต

ปฐมปัณณาสก์

อนิจจวรรคที่ ๑

๑. อัชฌัตติกอนิจจสูตร ว่าด้วยความเป็นอนิจจังแห่งอายตนะภายใน

๒. อัชฌัตติกทุกขสูตร ว่าด้วยความเป็นทุกข์แห่งอายตนะภายใน

๓. อัชฌัตติกอนัตตสูตร ว่าด้วยความเป็นอนัตตาแห่งอายตนะภายใน

๔. พาหิรอนิจจสูตร ว่าด้วยความเป็นอนิจจังแห่งอายตนะภายนอก

๕. พาหิรทุกขสูตร ว่าด้วยความเป็นทุกข์แห่งอายตนะภายนอก

๖. พาหิรอนัตตสูตร ว่าด้วยความเป็นอนัตตาแห่งอายตนะภายนอก

๗. อตีตานาคตปัจจุปันนานิจจสูตร ว่าด้วยความเป็นอนิจจังแห่งอายตนะภายในทั้งสามกาล

๘. อตีตานาคตปัจจุปันนทุกขสูตร ว่าด้วยความเป็นทุกข์แห่งอายตนะภายในทั้งสามกาล

๙. อตีตานาคตปัจจุปันนานัตตสูตร ว่าด้วยความเป็นอนัตตาแห่งอายตนะภายในทั้งสามกาล

๑๐. พาหิรสูตร ว่าด้วยความเป็นอนิจจังแห่งอายตนะภายนอกทั้งสามกาล

ยมกวรรคที่ ๒

๑. ปฐมสัมโพธสูตร ว่าด้วยความรู้แท้ในเรื่องอายตนะ

๒. ทุติยสัมโพธสูตร ว่าด้วยความรู้แท้ในเรื่องอายตนะ

๓. ปฐมอัสสาทสูตร ว่าด้วยคุณและโทษแห่งอายตนะ

๔. ทุติยอัสสาทสูตร ว่าด้วยคุณและโทษแห่งอายตนะ

๕. ปฐมโนอัสสาทสูตร ว่าด้วยการปฏิเสธคุณและโทษแห่งอายตนะ

๖. ทุติยโนอัสสาทสูตร ว่าด้วยการปฏิเสธคุณและโทษแห่งอายตนะ

๗. ปฐมอภินันทสูตร ว่าด้วยผู้ที่เพลิดเพลินอยู่ในอายตนะภายในย่อมไม่พ้นทุกข์

๘. ทุติยอภินันทสูตร ว่าด้วยผู้ที่เพลิดเพลินอยู่ในอายตนะภายนอกย่อมไม่พ้นทุกข์

๙. ปฐมอุปปาทสูตร ว่าด้วยความเกิดขึ้นแห่งอายตนะ

๑๐. ทุติยอุปปาทสูตร ว่าด้วยความเกิดขึ้นแห่งอายตนะ

สัพพวรรคที่ ๓

๑. สัพพสูตร ว่าด้วยทรงแสดงสิ่งทั้งปวง

๒. ปฐมปหานสูตร ว่าด้วยทรงแสดงธรรมเพื่อละสิ่งทั้งปวง

๓. ทุติยปหานสูตร ว่าด้วยทรงแสดงธรรมเพื่อละสิ่งทั้งปวง

๔. ปฐมปริชานสูตร ว่าด้วยผู้ยังไม่รู้ยิ่งย่อมละสิ่งทั้งปวงไม่ได้

๕. ทุติยปริชานสูตร ว่าด้วยผู้ยังไม่รู้ยิ่งย่อมละสิ่งทั้งปวงไม่ได้

๖. อาทิตตปริยายสูตร ว่าด้วยสิ่งทั้งปวงเป็นของร้อน

๗. อันธภูตสูตร ว่าด้วยสิ่งทั้งปวงเป็นสิ่งมืดมน

๘. สารุปปสูตร ว่าด้วยทรงแสดงข้อปฏิบัติอันสมควรแก่การเพิกถอนสิ่งทั้งปวง

๙. ปฐมสัปปายสูตร ว่าด้วยทรงแสดงข้อปฏิบัติอันเป็นที่สบายแก่การเพิกถอนสิ่งทั้งปวง

๑๐. ทุติยสัปปายสูตร ว่าด้วยทรงแสดงข้อปฏิบัติอันเป็นที่สบายแก่การเพิกถอนสิ่งทั้งปวง

ชาติธรรมวรรคที่ ๔

๑. ชาติอาทิธรรมสูตร ว่าด้วยสิ่งทั้งปวงมีความเกิดเป็นต้นเป็นธรรมดา

อนิจจวรรคที่ ๕

๑. อนิจจาทิธรรมสูตร ว่าด้วยสิ่งทั้งปวงเป็นของไม่เที่ยงเป็นต้นเป็นธรรมดา

 
  ข้อความที่ 2  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 9 ก.ย. 2564

ทุติยปัณณาสก์

อวิชชาวรรคที่ ๑

๑. อวิชชาสูตร ว่าด้วยการละอวิชชาได้ วิชชาจึงจะเกิด

๒. ปฐมสังโยชนสูตร ว่าด้วยการละสังโยชน์

๓. ทุติยสังโยชนสูตร ว่าด้วยสังโยชน์ถูกเพิกถอน

๔. ปฐมอาสวสูตร ว่าด้วยการละอาสวะ

๕. ทุติยอาสวสูตร ว่าด้วยอาสวะถูกเพิกถอน

๖. ปฐมอนุสัยสูตร ว่าด้วยการละอนุสัย

๗. ทุติยอนุสัยสูตร ว่าด้วยอนุสัยถูกเพิกถอน

๘. ปริญญาสูตร ว่าด้วยทรงแสดงธรรมเพื่อกําหนดรู้อุปาทาน

๙. ปฐมปริยาทานสูตร ว่าด้วยทรงแสดงธรรมเพื่อความครอบงําอุปาทาน

๑๐. ทุติยปริยาทานสูตร ว่าด้วยทรงแสดงธรรมเพื่อความครอบงําอุปาทาน

มิคชาลวรรคที่ ๒

๑. ปฐมมิคชาลสูตร ว่าด้วยผู้มีปกติอยู่ผู้เดียว

๒. ทุติยมิคชาลสูตร ว่าด้วยผู้มีปกติอยู่ผู้เดียว

๓. ปฐมสมิทธิสูตร ว่าด้วยสิ่งที่เรียกว่ามาร

๔. ทุติยสมิทธิสูตร ว่าด้วยสิ่งที่เรียกว่าสัตว์

๕. ตติยสมิทธิสูตร ว่าด้วยสิ่งที่เรียกว่าทุกข์

๖. จตุตถสมิทธิสูตร ว่าด้วยสิ่งที่เรียกว่าโลก

๗. อุปเสนสูตร ว่าด้วยกายเรี่ยราดประดุจกําแกลบ

๘. อุปวาณสูตร ว่าด้วยธรรมอันผู้บรรลุจะพึงเห็นเอง

๙. ปฐมผัสสายตนสูตร ว่าด้วยผู้ไม่ทราบชัดความเกิดเป็นต้นเป็นผู้ไกลจากธรรมวินัย

๑๐. ทุติยผัสสายตนสูตร ว่าด้วยผู้ไม่ทราบชัดความเกิดเป็นต้นเป็นผู้ไกลจากธรรมวินัย

๑๑. ตติยผัสสายตนสูตร ว่าด้วยผู้ไม่ทราบชัดความเกิดเป็นต้นเป็นผู้ไกลจากธรรมวินัย

คิลานวรรคที่ ๓

๑. ปฐมคิลานสูตร ว่าด้วยทรงแสดงธรรมแก่ภิกษุผู้อาพาธ

๒. ทุติยคิลานสูตร ว่าด้วยทรงแสดงธรรมแก่ภิกษุผู้อาพาธ

๓. ปฐมราธสูตร ว่าด้วยทรงแสดงอนิจจธรรมแก่ราธภิกษุ

๔. ทุติยราธสูตร ว่าด้วยทรงแสดงทุกขธรรมแก่ราธภิกษุ

๕. ตติยราธสูตร ว่าด้วยทรงแสดงอนัตตาธรรมแก่ราธภิกษุ

๖. ปฐมอวิชชาสูตร ว่าด้วยการละอวิชชาได้ วิชชาก็เกิดขึ้น

๗. ทุติยอวิชชาสูตร ว่าด้วยการละอวิชชาได้ วิชชาก็เกิดขึ้น

๘. ภิกขุสูตร ว่าด้วยการประพฤติพรหมจรรย์เพื่อกําหนดรู้ทุกข์

๙. โลกสูตร ว่าด้วยสิ่งที่เรียกว่าโลก

๑๐. ผัคคุนสูตร ว่าด้วยเรื่องบัญญัติ

ฉันนวรรคที่ ๔

๑. ปโลกสูตร ว่าด้วยสิ่งที่เรียกว่าโลก

๒. สุญญสูตร ว่าด้วยสิ่งที่เรียกว่าโลกว่างเปล่า

๓. สังขิตตสูตร ว่าด้วยทรงแสดงธรรมเพื่อความเป็นผู้อยู่ผู้เดียว

๔. ฉันนสูตร ว่าด้วยฉันนภิกษุอาพาธหนัก ว่าด้วยการถามปัญหาฉันนภิกษุ

๕. ปุณณสูตร ว่าด้วยความเพลิดเพลินทําให้เกิดทุกข์ ว่าด้วยมนุษย์ชาวสุนาปรันตชนบทเป็นผู้ดุร้าย

๖. พาหิยสูตร ว่าด้วยทรงแสดงธรรมเพื่ออยู่ผู้เดียว

๗. ปฐมเอชสูตร ว่าด้วยความหวั่นไหว

๘. ทุติยเอชสูตร ว่าด้วยไม่พึงสําคัญอะไรๆ ว่าเป็นของเรา

๙. ปฐมทวยสูตร ว่าด้วยทรงแสดงส่วนสอง

๑๐. ทุติยทวยสูตร ว่าด้วยทรงแสดงส่วนสอง

ฉฬวรรคที่ ๕

๑. ปฐมสังคัยหสูตร ว่าด้วยผัสสายตนะ ๖

๒. ทุติยสังคัยหสูตร ว่าด้วยทรงแสดงธรรมเพื่ออยู่ผู้เดียว

๓. ปริทานสูตร ว่าด้วยการเสื่อมจากกุศลธรรม ว่าด้วยความไม่เสื่อมจากกุศลธรรม ว่าด้วยอภิภายตนะ ๖

๔. ปมาทวิหารีสูตร ว่าด้วยผู้อยู่ด้วยความประมาทและไม่ประมาท

๕. สังวรสูตร ว่าด้วยการสํารวมและไม่สํารวม

๖. สมาธิสูตร ว่าด้วยสมาธิ

๗. ปฏิสัลลีนสูตร ว่าด้วยการอยู่ในที่สงัด

๘. ปฐมนตุมหากสูตร ว่าด้วยการละสิ่งที่ไม่ใช่ของตน

๙. ทุติยนตุมหากสูตร ว่าด้วยการละสิ่งที่ไม่ใช่ของตน

๑๐. อุททกสูตร ว่าด้วยอุททกดาบส

 
  ข้อความที่ 3  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 10 ก.ย. 2564

๓. ตติยปัณณาสก์

โยคักเขมีวรรคที่ ๑

๑. โยคักเขมีสูตร ว่าด้วยผู้เกษมจากโยคะ

๒. อุปาทายสูตร ว่าด้วยความสุขความทุกข์อาศัยอะไรเกิด

๓. ทุกขสูตร ว่าด้วยความเกิดและความดับแห่งทุกข์

๔. โลกสูตร ว่าด้วยความเกิดและความดับแห่งโลก

๕. เสยยสูตร ว่าด้วยอะไรทําให้ประเสริฐกว่ากัน

๖. สังโยชนสูตร ว่าด้วยเหตุแห่งสังโยชน์

๗. อุปาทานสูตร ว่าด้วยเหตุแห่งอุปาทาน

๘. ปฐมอปริชานสูตร ว่าด้วยผู้ไม่รู้ไม่สิ้นทุกข์ ผู้รู้ย่อมสิ้นทุกข์

๙. ทุติยอปริชานสูตร ว่าด้วยความเกิดขึ้นแห่งกองทุกข์

๑๐. อุปัสสุติสูตร ว่าด้วยปริยัติธรรมเป็นเบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์

โลกกามคุณวรรคที่ ๒

๑. ปฐมมารปาสสูตร ว่าด้วยอายนตะ ๖ เป็นบ่วงแห่งมาร ว่าด้วยผู้ไม่เพลิดเพลินในอายตนะ ๖ ย่อมพ้นจากบ่วงแห่งมาร

๒. ทุติยมารปาสสูตร ว่าด้วยการตกอยู่และไม่ตกอยู่ในอํานาจของมาร

๓. ปฐมโลกกามคุณสูตร ว่าด้วยโลกในวินัยของพระอริยะ

๔. ทุติยโลกกามคุณสูตร ว่าด้วยความดับแห่งอายตนะ ๖

๕. สักกสูตร ว่าด้วยทรงแก้ปัญหาของท้าวสักกะ

๖. ปัญจสิขสูตร ว่าด้วยทรงแก้ปัญหาของปัญจสิขเทพบุตร

๗. สารีปุตตสูตร ว่าด้วยผู้คุ้มครองทวารอินทรีย์ได้ก็ประพฤติพรหมจรรย์ได้

๘. ราหุลสูตร ว่าด้วยสิ่งใดไม่เที่ยงสิ่งนั้นก็เป็นทุกข์

๙. สังโยชนสูตร ว่าด้วยธรรมเป็นที่ตั้งแห่งสังโยชน์

๑๐. อุปาทานสูตร ว่าด้วยธรรมเป็นที่ตั้งแห่งอุปาทาน

คหปติวรรคที่ ๓

๑. เวสาลีสูตร ว่าด้วยเหตุปัจจัยที่สัตว์ไม่ปรินิพพานและปรินิพพาน

๒. วัชชีสูตร ว่าด้วยเหตุปัจจัยที่สัตว์ไม่ปรินิพพานและปรินิพพาน

๓. นาฬันทสูตร ว่าด้วยเหตุปัจจัยที่สัตว์ไม่ปรินิพพานและปรินิพพาน

๔. ภารทวาชสูตร ว่าด้วยเหตุปัจจัยที่ภิกษุประพฤติพรหมจรรย์

๕. โสณสูตร ว่าด้วยเหตุปัจจัยที่สัตว์ไม่ปรินิพพานและปรินิพพาน

๖. โฆสิตสูตร ว่าด้วยความแตกต่างแห่งธาตุ

๗. หาลิททกานิสูตร ว่าด้วยความบังเกิดขึ้นแห่งความแตกต่างแห่งเวทนาเป็นต้น

๘. นกุลปิตุสูตร ว่าด้วยเหตุปัจจัยที่สัตว์ไม่ปรินิพพานและปรินิพพาน

๙. โลหิจจสูตร ว่าด้วยพราหมณ์ผู้ระลึกถึงธรรมของพราหมณ์ได้เป็นผูัสูงสุด

๑๐. เวรหัญจานีสูตร ว่าด้วยการบัญญัติสุขและทุกข์

เทวทหวรรคที่ ๔

๑. เทวทหสูตร ว่าด้วยความไม่ประมาทในผัสสายตนะ ๖

๒. ขณสูตร ว่าด้วยนรกชื่อว่าผัสสายตนิกะ ๖ ว่าด้วยสวรรค์ชื่อว่าผัสสายตนิกะ ๖

๓. ปฐมรูปารามสูตร ว่าด้วยผู้ยินดีในอายตนะ ๖ อยู่เป็นทุกข์

๔. ทุติยรูปารามสูตร ว่าด้วยผู้ยินดีในอายตนะ ๖ อยู่เป็นทุกข์

๕. ปฐมนตุมหากสูตร ว่าด้วยอายตนะภายใน ๖ ไม่ใช่สิ่งของตน

๖. ทุติยนตุมหากสูตร ว่าด้วยอายตนะภายนอก ๖ ไม่ใช่ของตน

๗. ปฐมเหตุอัชฌัตตสูตร ว่าด้วยอายตนะภายในเป็นของไม่เที่ยง

๘. ทุติยเหตุอัชฌัตตสูตร ว่าด้วยอายตนะภายในเป็นทุกข์เป็นอนัตตา

๙. ปฐมเหตุพาหิรสูตร ว่าด้วยอายตนะภายนอกเป็นของไม่เที่ยงเป็นทุกข์

๑๐. ทุติยเหตุพาหิรสูตร ว่าด้วยอายตนะภายนอกเป็นอนัตตา

นวปุราณวรรคที่ ๕

๑. กรรมสูตร ว่าด้วยกรรมเก่าและกรรมใหม่

๒. ปฐมสัปปายสูตร ว่าด้วยปฏิปทาเป็นสัปปายะแก่นิพพาน

๓. ทุติยสัปปายสูตร ว่าด้วยปฏิปทาเป็นสัปปายะแก่นิพพาน

๔. ตติยสัปปายสูตร ว่าด้วยปฏิปทาเป็นสัปปายะแก่นิพพาน

๕. จตุตถสัปปายสูตร ว่าด้วยปฏิปทาเป็นสัปปายะแก่นิพพาน

๖. อนันเตวาสิกานาจริยสูตร ว่าด้วยผู้ประพฤติพรหมจรรย์อยู่เป็นทุกข์และเป็นสุข

๗. ติตถิยสูตร ว่าด้วยทุกข์

๘. ปริยายสูตร ว่าด้วยเหตุที่จะให้ภิกษุอาศัยพยากรณ์อรหัตตผล

๙. อินทริยสูตร ว่าด้วยเรื่องอินทรีย์

๑๐. ธรรมกถิกสูตร ว่าด้วยเหตุที่เรียกว่าเป็นธรรมกถึก

 
  ข้อความที่ 4  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 10 ก.ย. 2564

๔. จตุตถปัณณาสก์

นันทิขยวรรคที่ ๑

๑. ปฐมนันทิขยสูตร ว่าด้วยความสิ้นไปแห่งความเพลิดเพลิน

๒. ทุติยนันทิขยสูตร ว่าด้วยความสิ้นไปแห่งความเพลิดเพลิน

๓. ตติยนันทิขยสูตร ว่าด้วยความสิ้นไปแห่งความเพลินเพลิน

๔. จตุตถนันทิขยสูตร ว่าด้วยความสิ้นไปแห่งความเพลิดเพลิน

๕. ปฐมชีวกัมพวนสูตร ว่าด้วยสิ่งทั้งปวงปรากฏตามความเป็นจริง

๖. ทุติยชีวกัมพวนสูตร ว่าด้วยสิ่งทั้งปวงปรากฏตามความเป็นจริง

๗. ปฐมมหาโกฏฐิกสูตร ว่าด้วยการละความพอใจในสิ่งที่ไม่เที่ยง

๘. ทุติยมหาโกฏฐิกสูตร ว่าด้วยการละความพอใจในสิ่งที่เป็นทุกข์

๙. ตติยมหาโกฏฐิกสูตร ว่าด้วยการละความพอใจในสิ่งที่เป็นอนัตตา

๑๐. มิจฉาทิฏฐิสูตร ว่าด้วยการละมิจฉาทิฏฐิ

๑๑. สักกายทิฏฐิสูตร ว่าด้วยการละสักกายทิฏฐิ

๑๒. อัตตานุทิฏฐิสูตร ว่าด้วยการละอัตตานุทิฏฐิ

สัฏฐิเปยยาลวรรคที่ ๒

๑. ปฐมฉันทสูตร ว่าด้วยการละฉันทะในสิ่งที่ไม่เที่ยง

๒. ปฐมราคสูตร ว่าด้วยการละราคะในสิ่งที่ไม่เที่ยง

๓. ปฐมฉันทราคสูตร ว่าด้วยการละฉันทราคะในสิ่งที่ไม่เที่ยง

๔. ทุติยฉันทสูตร ว่าด้วยการละฉันทะในสิ่งที่เป็นทุกข์

๕. ทุติยราคสูตร ว่าด้วยการละราคะในสิ่งที่เป็นทุกข์

๖. ทุติยฉันทราคสูตร ว่าด้วยการละฉันทราคะในสิ่งที่เป็นทุกข์

๗. ตติยฉันทสูตร ว่าด้วยการละฉันทะในสิ่งที่เป็นอนัตตา

๘. ตติยราคสูตร ว่าด้วยการละราคะในสิ่งที่เป็นอนัตตา

๙. ตติยฉันทราคสูตร ว่าด้วยการละฉันทราคะในสิ่งที่เป็นอนัตตา

๑๐. จตุตถฉันทสูตร ว่าด้วยการละฉันทะในสิ่งที่ไม่เที่ยง

๑๑. จตุตถราคสูตร ว่าด้วยการละราคะในสิ่งที่ไม่เที่ยง

๑๒. จตุตถฉันทราคสูตร ว่าด้วยการละฉันทราคะในสิ่งที่ไม่เที่ยง

๑๓. ปัญจมฉันทสูตร ว่าด้วยการละฉันทะในสิ่งที่เป็นทุกข์

๑๔. ปัญจมราคสูตร ว่าด้วยการละราคะในสิ่งที่เป็นทุกข์

๑๕. ปัญจมฉันทราคสูตร ว่าด้วยการละฉันทราคะในสิ่งที่เป็นทุกข์

๑๖. ฉัฏฐฉันทสูตร ว่าด้วยการละฉันทะในสิ่งที่เป็นอนัตตา

๑๗. ฉัฏฐราคสูตร ว่าด้วยการละราคะในสิ่งที่เป็นอนัตตา

๑๘. ฉัฏฐฉันทราคสูตร ว่าด้วยการละฉันทราคะในสิ่งที่เป็นอนัตตา

๑๙. ปฐมอตีตสูตร ว่าด้วยอายตนะภายใน ๖ ที่เป็นอดีตเป็นของไม่เที่ยง

๒๐. ปฐมอนาคตสูตร ว่าด้วยอายตนะภายใน ๖ ที่เป็นอนาคตเป็นของไม่เที่ยง

๒๑. ปฐมปัจจุปันนสูตร ว่าด้วยอายตนะภายใน ๖ ที่เป็นปัจจุบันเป็นของไม่เที่ยง

๒๒. ทุติยอตีตสูตร ว่าด้วยอายตนะภายในที่เป็นอดีตเป็นทุกข์

๒๓. ทุติยอนาคตสูตร ว่าด้วยอายตนะภายในที่เป็นอนาคตเป็นทุกข์

๒๔. ทุติยปัจจุปันนสูตร ว่าด้วยอายตนะภายในที่เป็นปัจจุบันเป็นทุกข์

๒๕. ตติยอตีตสูตร ว่าด้วยอายตนะภายในที่เป็นอดีตเป็นอนัตตา

๒๖. ตติยอนาคตสูตร ว่าด้วยอายตนะภายในที่เป็นอนาคตเป็นอนัตตา

๒๗. ตติยปัจจุปันนสูตร ว่าด้วยอายตนะภายในที่เป็นปัจจุบันเป็นอนัตตา

๒๘. จตุตถอตีตสูตร ว่าด้วยอายตนะภายนอกที่เป็นอดีตเป็นของไม่เที่ยง

๒๙. จตุตถอนาคตสูตร ว่าด้วยอายตนะภายนอกที่เป็นอนาคตเป็นของไม่เที่ยง

๓๐. จตุตถปัจจุปันนสูตร ว่าด้วยอายตนะภายนอกที่เป็นปัจจุบันเป็นของไม่เที่ยง

๓๑. ปัญจมอตีตสูตร ว่าด้วยอายตนะภายนอกที่เป็นอดีตเป็นทุกข์

๓๒. ปัญจมอนาคตสูตร ว่าด้วยอายตนะภายนอกที่เป็นอนาคตเป็นทุกข์

๓๓. ปัญจมปัจจุปันนสูตร ว่าด้วยอายตนะภายนอกที่เป็นปัจจุบันเป็นทุกข์

๓๔. ฉัฏฐอตีตสูตร ว่าด้วยอายตนะภายนอกที่เป็นอดีตเป็นอนัตตา

๓๕. ฉัฏฐอนาคตสูตร ว่าด้วยอายตนะภายนอกที่เป็นอนาคตเป็นอนัตตา

๓๖. ฉัฏฐปัจจุปันนสูตร ว่าด้วยอายตนะภายนอกที่เป็นปัจจุบันเป็นอนัตตา

๓๗. ปฐมอนิจจสูตร ว่าด้วยอายตนะภายในที่เป็นอดีตไม่เที่ยงเป็นทุกข์เป็นอนัตตา

๓๘. ทุติยอนิจจสูตร ว่าด้วยอายตนะภายในที่เป็นอนาคตไม่เที่ยงเป็นทุกข์เป็นอนัตตา

๓๙. ตติยอนิจจสูตร ว่าด้วยอายตนะภายในที่เป็นปัจจุบันไม่เที่ยงเป็นทุกข์เป็นอนัตตา

๔๐. ปฐมทุกขสูตร ว่าด้วยอายตนะภายในที่เป็นอดีตเป็นทุกข์เป็นอนัตตา

๔๑. ทุติยทุกขสูตร ว่าด้วยอาตนะภายในที่เป็นอนาคตเป็นทุกข์เป็นอนัตตา

๔๒. ตติยทุกขสูตร ว่าด้วยอายตนะภายในที่เป็นปัจจุบันเป็นทุกข์เป็นอนัตตา

๔๓. ปฐมอนัตตสูตร ว่าด้วยอายตนะภายในที่เป็นอดีตเป็นอนัตตา

๔๔. ทุติยอนัตตสูตร ว่าด้วยอายตนะภายในที่เป็นอนาคตเป็นอนัตตา

๔๕. ตติยอนัตตสูตร ว่าด้วยอายตนะภายในที่เป็นปัจจุบันเป็นอนัตตา

๔๖. จตุตถอนิจจสูตร ว่าด้วยอายตนะภายนอกที่เป็นอดีตไม่เที่ยงเป็นทุกข์เป็นอนัตตา

๔๗. ปัญจมอนิจจสูตร ว่าด้วยอายตนะภายนอกที่เป็นอนาคตไม่เที่ยงเป็นทุกข์เป็นอนัตตา

๔๘. ฉัฏฐอนิจจสูตร ว่าด้วยอายตนะภายนอกที่เป็นปัจจุบันไม่เที่ยงเป็นทุกข์เป็นอนัตตา

๔๙. จตุตถทุกขสูตร ว่าด้วยอายตนะภายนอกที่เป็นอดีตเป็นทุกข์เป็นอนัตตา

๕๐. ปัญจมทุกขสูตร ว่าด้วยอายตนะภายนอกที่เป็นอนาคตเป็นทุกข์เป็นอนัตตา

๕๑. ฉัฏฐทุกขสูตร ว่าด้วยอายตนะภายนอกที่เป็นปัจจุบันเป็นทุกข์เป็นอนัตตา

๕๒. จตุตถอนัตตสูตร ว่าด้วยอายตนะภายนอกที่เป็นอดีตเป็นอนัตตา

๕๓. ปัญจมอนัตตสูตร ว่าด้วยอายตนะภายนอกที่เป็นอนาคตเป็นอนัตตา

๕๔. ฉัฏฐอนัตตสูตร ว่าด้วยอายตนะภายนอกที่เป็นปัจจุบันเป็นอนัตตา

๕๕. ปฐมอัชฌัตตายตนสูตร ว่าด้วยอายตนะภายในที่เป็นของไม่เที่ยง

๕๖. ทุติยอัชฌัตตายตนสูตร ว่าด้วยอายตนะภายในเป็นทุกข์

๕๗. ตติยอัชฌัตตายตนสูตร ว่าด้วยอายตนะภายในเป็นอนัตตา

๕๘. ปฐมพาหิรายตนสูตร ว่าด้วยอายตนะภายนอกเป็นของไม่เที่ยง

๕๙. ทุติยพาหิรายตนสูตร ว่าด้วยอายตนะภายนอกเป็นทุกข์

๖๐. ตติยพาหิรายตนสูตร ว่าด้วยอายตนะภายนอกเป็นอนัตตา

อรรถกถาสัฏฐิเปยยาลวรรคที่ ๒

สมุททวรรคที่ ๓

๑. ปฐมสมุททสูตร ว่าด้วยสมุทรในวินัยของพระอริยเจ้า

๒. ทุติยสมุททสูตร ว่าด้วยสมุทรในวินัยของพระอริยเจ้า

๓. พาลิสิกสูตร ว่าด้วยเบ็ด ๖ ชนิด

๔. ขีรรุกขสูตร ว่าด้วยทรงเปรียบเทียบกิเลสกับยางไม้

๕. โกฏฐิกสูตร ว่าด้วยปัญหาของท่านพระมหาโกฏฐิกภิกษุ

๖. กามภูสูตร ว่าด้วยปัญหาของพระกามภูภิกษุ

๗. อุทายีสูตร ว่าด้วยปัญหาของพระอุทายีภิกษุ

๘. อาทิตตปริยายสูตร ว่าด้วยอาทิตตปริยายและธรรมปริยาย

๙. ปฐมหัตถปาทปัพพสูตร ว่าด้วยข้อมือข้อเท้าเปรียบเทียบกับอายตนะ

๑๐. ทุติยหัตถปาทปัพพสูตร ว่าด้วยการเปรียบเทียบอายตนะกับข้อมือข้อเท้า

อาสีวิสวรรคที่ ๔

๑. อาสีวิสสูตร ว่าด้วยอสรพิษ ๔ จําพวก ว่าด้วยอสรพิษ ๔ เป็นชื่อของมหาภูตรูป ๔

๒. รถสูตร ว่าด้วยผู้ประกอบด้วยธรรม ๓ ประการ ย่อมมากด้วยความสุขโสมนัส

๓. กุมมสูตร ว่าด้วยการคุ้มครองทวารในอินทรีย์

๔. ปฐมทารุขันธสูตร ว่าด้วยอุปมาการท่องเที่ยวในสังสารวัฏฏ์กับท่อนไม้ลอยน้ํา

๕. ทุติยทารุขันธสูตร ว่าด้วยอุปมาการท่องเที่ยวในสังสารวัฏฏ์กับท่อนไม้ลอยน้ํา

๖. อวัสสุตสูตร ว่าด้วยอวัสสุตปริยายและอนวัสสุตปริยาย

๗. ทุกขธรรมสูตร ว่าด้วยเหตุเกิดและความดับแห่งทุกขธรรม ว่าด้วยอสังวรและสังวร

๘. กิงสุกสูตร ว่าด้วยเหตุเกิดและความดับแห่งผัสสายตนะ ๖

๙. วีณาสูตร ว่าด้วยทรงแสดงธรรมเปรียบด้วยพิณ

๑๐. ฉัปปาณสูตร ว่าด้วยภิกษุผู้เป็นเสี้ยนหนามของชาวบ้าน ว่าด้วยอสังวรและสังวรเปรียบด้วยคนจับสัตว์ ๖ ชนิด

๑๑. ยวกลาปิสูตร ว่าด้วยอายตนะเปรียบด้วยฟ่อนข้าวเหนียว

๑๒. เทวาสุรสังคามสูตร ว่าด้วยสงครามเทวดากับอสูร ว่าด้วยความสำคัญด้วยตัณหาเป็นต้น