[เล่มที่ 27] พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย ขันธวารวรรค เล่ม ๓
[เล่มที่ 27] พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย ขันธวารวรรค เล่ม ๓
ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น
๑. ขันธสังยุต มูลปัณณาสก์
นกุลปิตุวรรคที่ ๑
๑. นกุลปิตุสูตร ว่าด้วยกายเปรียบด้วยฟองไข่
๒. เทวทหสูตร ว่าด้วยการกําจัดฉันทราคะในขันธ์ ๕
๓. หลิททิกานิสูตรที่ ๑ ว่าด้วยลักษณะมุนี
๔. หลิททิการนิสูตร ที่ ๒ ว่าด้วยผู้สําเร็จล่วงส่วน
๕. สมาธิสูตร ว่าด้วยสมาธิเป็นเหตุเกิดปัญหา
๖. ปฏิสัลลานสูตร ว่าด้วยการหลีกเร้นเป็นเหตุเกิดปัญญา
๗. อุปาทานปริตัสสนาสูตรที่ ๑ ว่าด้วยความสะดุ้งและไม่สะดุ้ง
๘. อุปาทานปริตัสสนาสูตรที่ ๒ ว่าด้วยความสะดุ้งและไม่สะดุ้ง
๙. อตีตานาคตปัจจุปัุนนสูตรที่ ๑ ว่าด้วยความเป็นอนิจจังแห่งขันธ์ ๕ ในสามกาล
๑๐. อตีตานาคตปัจจุปันนสูตรที่ ๒ ว่าด้วยความเป็นทุกข์แห่งขันธ์ ๕ ในสามกาล
๑๑. อตีตานาคตปัจจุปันนสูตรที่ ๓ ว่าด้วยความเป็นอนัตตาแห่งขันธ์ ๕ ในสามกาล
อนิจจวรรคที่ ๒
๑. อนิจจสูตรที่ ๑ ว่าด้วยความเป็นอนิจจังแห่งขันธ์ ๕
๒. ทุกขสูตรที่ ๑ ว่าด้วยความเป็นทุกข์แห่งขันธ์ ๕
๓. อนัตตสูตรที่ ๑ ว่าด้วยความเป็นอนัตตาแห่งขันธ์ ๕
๔. อนิจจสูตรที่ ๒ ว่าด้วยความเป็นอนิจจังแห่งขันธ์ ๕
๕. ทุกขสูตรที่ ๒ ว่าด้วยความเป็นทุกข์แห่งขันธ์ ๕
๖. อนัตตสูตรที่ ๒ ว่าด้วยความเป็นอนัตตาแห่งขันธ์ ๕
๗. อนิจจเหตุสูตร ว่าด้วยความเป็นอนิจจังแห่งเหตุปัจจัย
๘. ทุกขเหตุสูตร ว่าด้วยความเป็นทุกข์แห่งเหตุปัจจัย
ภารวรรคที่ ๓
๑. ภารสูตร ว่าด้วยขันธ์ ๕ เป็นภาระ
๒. ปริญญาสูตร ว่าด้วยธรรมที่ควรกําหนดรู้และความกําหนดรู้
๓. ปริชานสูตร ว่าด้วยผู้ไม่ควรและผู้ควรสิ้นทุกข์
๔. ฉันทราคสูตร ว่าด้วยการละฉันทราคะในขันธ์ ๕
๕. อัสสาทสูตรที่ ๑ ว่าด้วยความปริวิตกของพระโพธิสัตว์เกี่ยวกับขันธ์ ๕
๖. อัสสาทสูตรที่ ๒ ว่าด้วยสิ่งที่พระพุทธองค์ทรงค้นพบ
๗. อัสสาทสูตรที่ ๓ ว่าด้วยคุณโทษและเครื่องสลัดออกแห่งขันธ์ ๕
๘. อภินันทนสูตร ว่าด้วยผลแห่งความเพลิดเพลินและไม่เพลิดเพลินในขันธ์ ๕
๙. อุปปาทสูตร ว่าด้วยความเกิดและความดับทุกข์
นตุมหากวรรคที่ ๔
๑. นตุมหากสูตรที่ ๑ ว่าด้วยขันธ์ ๕ ไม่ใช่ของใคร
๒. นตุมหากสูตรที่ ๒ ว่าด้วยการละขันธ์ ๕ มิใช่ของใคร
๓. ภิกขุสูตรที่ ๑ ว่าด้วยเหตุได้ชื่อว่าเป็นผู้กําหนัดขัดเคืองและลุ่มหลง
๔. ภิกขุสูตรที่ ๒ ว่าด้วยเหตุได้ชื่อว่าเป็นผู้กําหนัดขัดเคืองและลุ่มหลง
๕. อานันทสูตรที่ ๑ ว่าด้วยความเป็นอนิจจังแห่งขันธ์ ๕
๖. อานันทสูตรที่ ๒ ว่าด้วยความเป็นอนิจจังแห่งขันธ์ ๕ ในสามกาล
๗. อนุธรรมสูตรที่ ๑ ว่าด้วยความหน่ายในขันธ์ ๕
๘. อนุธรรมสูตรที่ ๒ ว่าด้วยการพิจารณาเห็นอนิจจังในขันธ์ ๕
อัตตทีปวรรคที่ ๕
๑. อัตตทีปสูตร ว่าด้วยการพึ่งตนพึ่งธรรม
๒. ปฏิปทาสูตร ว่าด้วยข้อปฏิบัติเพื่อความเกิดและความดับสักกายทิฏฐิ
๓. อนิจจสูตรที่ ๑ ว่าด้วยความเป็นไตรลักษณ์แห่งขันธ์ ๕
๔. อนิจจสูตรที่ ๒ ว่าด้วยความเป็นไตรลักษณ์แห่งขันธ์ ๕
๕. สมนุปัสสนาสูตร ว่าด้วยการพิจารณาเห็นอุปาทานขันธ์ ๕
๖. ปัญจขันธสูตร ว่าด้วยขันธ์และอุปาทานขันธ์ ๕
๗. โสณสูตรที่ ๑ ว่าด้วยขันธ์ ๕ มิใช่ของเรา
๘. โสณสูตรที่ ๒ ว่าด้วยผู้ควรยกย่องและไม่ควรยกย่องเป็นสมณพราหมณ์
๙. นันทิขยสูตรที่ ๑ ว่าด้วยการสิ้นความยินดีเป็นเหตุหลุดพ้นจากทุกข์
๑๐. นันทิขยสูตรที่ ๒ ว่าด้วยการสิ้นความยินดีเป็นเหตุหลุดพ้นจากทุกข์
มัชฌิมปัณณาสก์
อุปายวรรคที่ ๑
๑. อุปายสูตร ว่าด้วยสิ่งที่เป็นความหลุดพ้นและไม่หลุดพ้น
๒. พีชสูตร ว่าด้วยอุปมาวิญญาณด้วยพืช
๓. อุทานสูตร ว่าด้วยการตัดสังโยชน์และความสิ้นอาสวะ
๔. ปริวัฏฏสูตร ว่าด้วยการรู้อุปาทานขันธ์โดยเวียนรอบ ๔
๕. สัตตัฏฐานสูตร ว่าด้วยการรู้ขันธ์ ๕ โดยฐานะ
๖. พุทธสูตร ว่าด้วยพระพุทธเจ้าต่างกับภิกษุหลุดพ้นด้วยปัญญา
๗. ปัญจวัคคิยสูตร ว่าด้วยอนัตตลักษณะ
๘. มหาลิสูตร ว่าด้วยเหตุปัจจัยแห่งความบริสุทธิ์
อรหันตวรรคที่ ๒
๑. อุปาทิยสูตร ว่าด้วยการถูกมารผูกมัดเพราะถือมั่น
๒. มัญญมานสูตร ว่าด้วยการถูกมารผูกมัดเพราะสําคัญในขันธ์ ๕
๓. อภินันทมานสูตร ว่าด้วยการถูกมารผูกมัดเพราะมัวเพลิดเพลิน
๔. อนิจจสูตร ว่าด้วยการละความพอใจในสิ่งเป็นอนิจจัง
๕. ทุกขสูตร ว่าด้วยการละความพอใจในสิ่งที่เป็นทุกข์
๖. อนัตตสูตร ว่าด้วยการละความพอใจในสิ่งเป็นอนัตตา
๗. อนัตตนิยสูตร ว่าด้วยการละความพอใจในสิ่งมิใช่ของตน
๘. รชนิยสัณฐิตสูตร ว่าด้วยการละความพอใจในสิ่งจูงใจให้กําหนัด
๙. ราธสูตร ว่าด้วยการไม่มีอหังการมมังการและมานานุสัย
๑๐. สุราธสูตร ว่าด้วยการมีใจปราศจากอหังการมมังการและมานานุสัย
ขัชชนิยวรรคที่ ๓
๑. อัสสาทสูตร ว่าด้วยคุณโทษของขันธ์ ๕ และอุบายสลัดออก
๒. สมุทยสูตรที่ ๑ ว่าด้วยการเกิดดับแห่งขันธ์ ๕
๓. สมุทยสูตรที่ ๒ ว่าด้วยการรู้ ความเกิดดับแห่งขันธ์ ๕
๔. อรหันตสูตรที่ ๑ ว่าด้วยพระอรหันต์เป็นผู้เลิศในโลก
๕. อรหันตสูตรที่ ๒ ว่าด้วยพระอรหันต์เป็นผู้เลิศในโลก
๖. สีหสูตร ว่าด้วยอุปมาพระพุทธเจ้ากับพญาราชสีห์
๗. ขัชชนิยสูตร ว่าด้วยสิ่งที่ถูกขันธ์ ๕ เคี้ยวกิน
๘. ปิณโฑลยสูตร ว่าด้วยเหตุที่ต้องดํารงชีพด้วยบิณฑบาต
เถรวรรคที่ ๔
๑. อานันทสูตร ว่าด้วยปัจจัยให้มีและไม่ให้มีตัณหามานะทิฏฐิ
๒. ติสสสูตร ว่าด้วยปัจจัยให้เกิดและไม่ให้เกิดโสกะ
๓. ยมกสูตร ว่าด้วยพระขีณาสพตายแล้วสูญหรือไม่
๔. อนุราธสูตร ว่าด้วยสัตว์บุคคลไม่มีในขันธ์ ๕
๕. วักกลิสูตร ว่าด้วยการเห็นธรรมชื่อว่าเห็นพระพุทธเจ้า
๖. อัสสชิสูตร ว่าด้วยความเป็นอนิจจังแห่งเวทนา
๗. เขมกสูตร ว่าด้วยไม่มีตนในขันธ์ ๕
๘. ฉันนสูตร ว่าด้วยเหตุที่เรียกว่าเป็นสัมมาทิฏฐิ
๙. ราหุลสูตรที่ ๑ ว่าด้วยการไม่มีอหังการมมังการและมานานุสัย
๑๐. ราหุลสูตรที่ ๒ ว่าด้วยการรู้การเห็นที่ทําให้ปราศจากอหังการมมังการและมานานุสัย
ปุปผวรรคที่ ๕
๑. นทีสูตร ว่าด้วยเหตุให้ถึงความพินาศ
๒. ปุปผสูตร ว่าด้วยพระพุทธองค์ไม่ขัดแย้งกับโลก
๓. เผณปิณฑสูตร ว่าด้วยขันธ์ ๕ เปรียบด้วยฟองน้ําเป็นต้น
๔. โคมยปิณฑสูตร ว่าด้วยความไม่เที่ยงแท้แน่นอนแห่งขันธ์ ๕
๕. นขสิขาสูตร ว่าด้วยความไม่เที่ยงแท้แน่นอนแห่งขันธ์ ๕
๖. สามุททกสูตร ว่าด้วยความไม่เที่ยงแท้แน่นอนแห่งขันธ์ ๕
๗. คัททูลสูตรที่ ๑ ว่าด้วยอุปมาขันธ์ ๕ ด้วยเสาล่ามสุนัข
๘. คัททูลสูตรที่ ๒ ว่าด้วยอุปมาขันธ์ ๕ ด้วยเสาล่ามสุนัข
จุลลปัณณาสก์
อันตวรรคที่ ๑
๑. อันตสูตร ว่าด้วยส่วน คือ สักกายะ ๔ อย่าง
๓. สักกายสูตร ว่าด้วยสักกายะ ตามแนวอริยสัจ ๔
๔. ปริญเญยยสูตร ว่าด้วยธรรมที่ควรกําหนดรู้
๕. สมณสูตรที่ ๑ ว่าด้วยผู้ไม่ควร และผู้ควรยกย่องว่าเป็นสมณพราหมณ์
๖. สมณสูตรที่ ๒ ว่าด้วยผู้ไม่ควร และผู้ควรยกย่องว่าเป็นพราหมณ์
๗. โสตาปันนสูตร ว่าด้วยพระอริยสาวก ชั้นโสดาบัน
๘. อรหันตสูตร ว่าด้วยพระอริยสาวก ผู้เป็นอรหันตขีณาสพ
ธรรมกถิกวรรคที่ ๒
๑. อวิชชาสูตร ว่าด้วยความหมายของอวิชชา
๒. วิชชาสูตร ว่าด้วยความหมายของวิชชา
๓. ธรรมกถิกสูตรที่ ๑ ว่าด้วยเหตุที่เรียกว่า พระธรรมกถึก
๔. ธรรมกถิกสูตรที่ ๒ ว่าด้วยเหตุที่เรียกว่า พระธรรมกถึก
๕. พันธนสูตร ว่าด้วยเครื่องจองจํา คือขันธ์ ๕
๖. ปริมุจจิตสูตรที่ ๑ ว่าด้วยการพิจารณาเห็นขันธ์ ๕ เพื่อความหลุดพ้น
๗. ปริมุจจิตสูตรที่ ๒ ว่าด้วยการพิจารณาเห็นขันธ์ ๕ เพื่อความหลุดพ้น
๘. สังโยชนสูตร ว่าด้วยสังโยชน์และธรรมเป็นที่ตั้งแห่งสังโยชน์
๙. อุปาทานสูตร ว่าด้วยอุปาทาน และธรรมเป็นที่ตั้งแห่งอุปาทาน
๑๐. สีลสูตร ว่าด้วยธรรมที่ควรใส่ใจโดยแยบคาย
๑๑. สุตวาสูตร ว่าด้วยธรรมที่ควรใส่ใจโดยแยบคาย
๑๒. กัปปสูตรที่ ๑ ว่าด้วยการรู้การเห็น เป็นเหตุไม่มีอหังการ มมังการ และมานานุสัย
๑๓. กัปปสูตรที่ ๒ ว่าด้วยการรู้การเห็น เป็นเหตุปราศจากอหังการ มมังการ และมานานุสัย
อวิชชาวรรคที่ ๓
๑. สมุทยธรรมสูตรที่ ๑ ว่าด้วยความของอวิชชา และวิชชา
๒. สมุทยธรรมสูตรที่ ๒ ว่าด้วยความหมายของอวิชชา
๓. สมุทยธรรมสูตรที่ ๓ ว่าด้วยความหมายของวิชชา
๔. อัสสาทสูตรที่ ๑ ว่าด้วยความหมายของอวิชชา
๕. อัสสาทสูตรที่ ๒ ว่าด้วยความหมายของวิชชา
๖. สมุทยธรรมสูตรที่ ๑ ว่าด้วยความหมายของอวิชชา
๗. สมุทยธรรมสูตรที่ ๒ ว่าด้วยความหมายของวิชชา
๘. โกฏฐิตสูตรที่ ๑ ว่าด้วยความหมายของอวิชชา และวิชชา
กุกกุฬวรรคที่ ๔
๑. กุกกุฬสูตร ว่าด้วยขันธ์ ๕ เป็นของร้อน
๒. อนิจจสูตรที่ ๑ ว่าด้วยละฉันทะในสิ่งที่เป็นอนิจจัง
๓. อนิจจสูตรที่ ๒ ว่าด้วยการละราคะในสิ่งที่เป็นอนิจจัง
๔. อนิจจสูตรที่ ๓ ว่าด้วยการละฉันทราคะในสิ่งที่เป็นอนิจจัง
๕. ทุกขสูตรที่ ๑ ว่าด้วยการละฉันทะในสิ่งที่เป็นทุกข์
๖. ทุกขสูตรที่ ๒ ว่าด้วยการละราคะในสิ่งที่เป็นทุกข์
๗. ทุกขสูตรที่ ๓ ว่าด้วยการละฉันทราคะในสิ่งที่เป็นทุกข์
๘. อนัตตสูตรที่ ๑ ว่าด้วยการละฉันทะในสิ่งที่เป็นอนัตตา
๙. อนัตตสูตรที่ ๒ ว่าด้วยการละราคะในสิ่งที่เป็นอนัตตา
๑๐. อนัตตสูตรที่ ๓ ว่าด้วยการละฉันทราคะในสิ่งที่เป็นอนัตตา
๑๑. กุลปุตตสูตรที่ ๑ ว่าด้วยธรรมอันสมควรแก่กุลบุตร
๑๒. กุลปุตตสูตรที่ ๒ ว่าด้วยธรรมอันสมควรแก่กุลบุตร
ทิฏฐิวรรคที่ ๕
๑. อัชฌัตติกสูตร ว่าด้วยเหตุแห่งสุขและทุกข์ภายใน
๒. เอตังมมสูตร ว่าด้วยเหตุแห่งการยึดมั่นว่าเป็นของเรา
๓. เอโสอัตตสูตร ว่าด้วยเหตุแห่งสัสสตทิฏฐิ
๔. โนจเมสิยาสูตร ว่าด้วยเหตุแห่งนัตถิกทิฏฐิ
๕. มิจฉาทิฏฐิสูตร ว่าด้วยเหตุแห่งมิจฉาทิฏฐิ
๖. สักกายทิฏฐิสูตร ว่าด้วยเหตุแห่งสักกายทิฏฐิ
๗. อัตตานุทิฏฐิสูตร ว่าด้วยเหตุแห่งอัตตานุทิฏฐิ
๘. อภินิเวสสูตรที่ ๑ ว่าด้วยเหตุแห่งความยึดมั่น
๒. ราธสังยุต
ปฐมวรรคที่ ๑
๒. สัตตสูตร ว่าด้วยเหตุที่เรียกว่าสัตว์
๓. ภวเนตติสูตร ว่าด้วยกิเลสที่นําไปสู่ภพ
๔. ปริญเญยยสูตร ว่าด้วยธรรมที่ควรกําหนดรู้
๕. ปฐมสมณพราหมณสูตร ว่าด้วยผู้ควรยกย่องและไม่ควรยกย่องว่าเป็นสมณพราหมณ์
๖. ทุติยสมณพราหมณสูตร ว่าด้วยผู้ควรยกย่องและไม่ควรยกย่องว่าเป็นสมณพราหมณ์
๗. โสตาปันนสูตร ว่าด้วยเหตุให้สําเร็จเป็นพระโสดาบัน
๘. อรหันตสูตร ว่าด้วยเหตุให้สําเร็จเป็นพระอรหันต์
ทุติยวรรคที่ ๒
๒. มารธรรมสูตร ว่าด้วยธรรมของมาร
๓. อนิจจสูตร ว่าด้วยสิ่งที่เป็นอนิจจัง
๔. อนิจจธรรมสูตร ว่าด้วยสิ่งที่เป็นอนิจจธรรม
๕. ทุกขสูตร ว่าด้วยสิ่งที่เป็นทุกข์
๖. ทุกขธรรมสูตร ว่าด้วยสิ่งที่เป็นทุกขธรรม
๗. อนัตตสูตร ว่าด้วยสิ่งที่เป็นอนัตตา
๘. อนัตตธรรมสูตร ว่าด้วยสิ่งที่เป็นอนัตตธรรม
๙. ขยธรรมสูตร ว่าด้วยสภาพที่สิ้นสูญ
๑๐. วยธรรมสูตร ว่าด้วยสภาพที่รู้เสื่อมสลาย
๓. ทิฏฐิสังยุต
โสตาปัตติวรรคที่ ๑
๑. วาตสูตร ว่าด้วยเหตุเกิดมิจฉาทิฏฐิ
๒. เอตังมมสูตร ว่าด้วยเหตุแห่งการถือมั่นว่าของเรา
๘. มหาทิฏฐิสูตร ว่าด้วยมิจฉาทิฏฐิ
๙. สัสสตทิฏฐิสูตร ว่าด้วยความเห็นว่าโลกเที่ยง
๑๐. อสัสสตทิฏฐิสูตร ว่าด้วยความเห็นว่าโลกไม่เที่ยง
๑๑. อันตวาสูตร ว่าด้วยความเห็นว่าโลกมีที่สุด
๑๒. อนันตวาสูตร ว่าด้วยความเห็นว่า โลกไม่มีที่สุด
๑๓. ตังชีวังตังสรีรังสูตร ว่าด้วยความเห็นว่า ชีพกับสรีระเป็นอันเดียวกัน
๑๔. อัญญังชีวังอัญญังสรีรังสูตร ว่าด้วยความเห็นว่า ชีพกับสรีระเป็นคนละอย่าง
๑๕. โหติตถาคตสูตร ว่าด้วยความเห็นว่า สัตว์ตายแล้วเกิด
๑๖. นโหติตถาคตสูตร ว่าด้วยความเห็นว่าสัตว์ตายแล้วไม่เกิด
๑๗. โหติจนจโหติตถาคตสูตร ว่าด้วยความเห็นว่า สัตว์ตายแล้วเกิดบ้างไม่เกิดบ้าง
๑๘. เนวโหตินนโหติตถาคตสูตร ว่าด้วยความเห็นว่า สัตว์ตายแล้วเกิดและไม่เกิดก็หามิได้
ทิฏฐิสังยุต
ทุติยเปยยาลที่ ๒
๑๘. เนวโหตินนโหติสูตร ว่าด้วยความเห็นว่า สัตว์ตายแล้วเกิดและไม่เกิดก็หามิได้
๑๙. รูปีอัตตสูตร ว่าด้วยอัตตาที่มีรูป
๒๐. อรูปีอัตตสูตร ว่าด้วยอัตตาไม่มีรูป
๒๑. รูปีจอรูปีจอัตตสูตร ว่าด้วยอัตตาทั้งที่มีรูป ทั้งที่ไม่มีรูป
๒๒. เนวรูปีนารูปีอัตตสูตร ว่าด้วยอัตตาที่มีรูปก็หามิได้ ไม่มีรูปก็หามิได้
๒๓. เอกันตสุขีสูตร ว่าด้วยอัตตาที่มีสุขโดยส่วนเดียว
๒๔. เอกันตทุกขีสูตร ว่าด้วยอัตตาที่มีทุกข์โดยส่วนเดียว
๔. โอกันตสังยุต
๑. จักขุสูตร ว่าด้วยสัทธานุสารี และธัมมานุสารีบุคคล
๒. รูปสูตร ว่าด้วยสัทธานุสารี และธัมมานุสารีบุคคล
๓. วิญญาณสูตร ว่าด้วยสัทธานุสารี และธัมมานุสารีบุคคล
๔. ผัสสสูตร ว่าด้วยสัทธานุสารี และธัมมานุสารีบุคคล
๕. เวทนาสูตร ว่าด้วยสัทธานุสารี และธัมมานุสารีบุคคล
๖. สัญญาสูตร ว่าด้วยสัทธานุสารี และธัมมานุสารีบุคคล
๗. เจตนาสูตร ว่าด้วยสัทธานุสารี และธัมมานุสารีบุคคล
๘. ตัณหาสูตร ว่าด้วยสัทธานุสารี และธัมมานุสารีบุคคล
๕. อุปปาทสังยุต
๑. จักขุสูตร ว่าด้วยความเกิดขึ้นตั้งอยู่และดับไปแห่งทุกข์
๒. รูปสูตร ว่าด้วยความเกิดขึ้นตั้งอยู่และดับไปแห่งทุกข์
๓. วิญญาณสูตร ว่าด้วยความเกิดขึ้นตั้งอยู่และดับไปแห่งทุกข์
๔. ผัสสสูตร ว่าด้วยความเกิดขึ้นตั้งอยู่และดับไปแห่งทุกข์
๕. เวทนาสูตร ว่าด้วยความเกิดขึ้นตั้งอยู่และดับไปแห่งทุกข์
๖. สัญญาสูตร ว่าด้วยความเกิดขึ้นตั้งอยู่และดับไปแห่งทุกข์
๗. เจตนาสูตร ว่าด้วยความเกิดขึ้นตั้งอยู่และดับไปแห่งทุกข์
๘. ตัณหาสูตร ว่าด้วยความเกิดขึ้นตั้งอยู่และดับไปแห่งทุกข์
๖. กิเลสสังยุต
๑. จักขุสูตร ว่าด้วยอุปกิเลสแห่งจิต
๒. รูปสูตร ว่าด้วยอุปกิเลสแห่งจิต
๓. วิญญาณสูตร ว่าด้วยอุปกิเลสแห่งจิต
๔. ผัสสสูตร ว่าด้วยอุปกิเลสแห่งจิต
๕. เวทนาสูตร ว่าด้วยอุปกิเลสแห่งจิต
๖. สัญญาสูตร ว่าด้วยอุปกิเลสแห่งจิต
๗. เจตนาสูตร ว่าด้วยอุปกิเลสแห่งจิต
๘. ตัณหาสูตร ว่าด้วยอุปกิเลสแห่งจิต
๗. สารีปุตตสังยุต
๒. อวิตักกสูตร ว่าด้วยทุติยฌาน
๔. อุเปกขาสูตร ว่าด้วยจตุตถฌาน
๕. อากาสานัญจายตนสูตร ว่าด้วยอากาสานัญจายตนฌาน
๖. วิญญาณัญจายตนสูตร ว่าด้วยวิญญาณัญจายตนฌาน
๗. อากิญจัญญายตนสูตร ว่าด้วยอากิญจัญญายตนฌาน
๘. เนวสัญญานาสัญญายตนสูตร ว่าด้วยเนวสัญญานาสัญญายตนฌาน
๙. สัญญาเวทยิตนิโรธสูตร ว่าด้วยสัญญาเวทยิตนิโรธ
๑๐. สูจิมุขีสูตร ว่าด้วยความแตกต่างการเลี้ยงชีวิตของสมณพราหมณ์