[เล่มที่ 34] พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย ติกนิบาต เล่ม ๑ ภาค ๓
[เล่มที่ 34] พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย ติกนิบาต เล่ม ๑ ภาค ๓
ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น
ปฐมปัณณาสก์
พาลวรรคที่ ๑
๑. ภยสูตร ว่าด้วยผู้เป็นภัยและไม่เป็นภัย
๒. ลักขณสูตร ว่าด้วยลักษณะของพาลและบัณฑิต
๓. จินตสูตร ว่าด้วยลักษณะแตกต่างระหว่างบัณฑิตกับคนพาล
๔. อัจจยสูตร ว่าด้วยธรรมที่บ่งบอกว่าเป็นพาลหรือบัณฑิต
๕. อโยนิโสสูตร ว่าด้วยธรรมที่บ่งบอกว่าเป็นพาลหรือบัณฑิต
๖. อกุสลสูตร ว่าด้วยธรรมที่บ่งบอกว่าพาลหรือบัณฑิต
๗. สาวัชชสูตร ว่าด้วยธรรมที่บ่งบอกว่าเป็นพาลหรือบัณฑิต
๘. สัพยาปัชชสูตร ว่าด้วยธรรมที่บ่งบอกว่าเป็นพาลหรือบัณฑิต
ปฐมปัณณาสก์
รถการวรรคที่ ๒
๑. ญาตกสูตร ว่าด้วยปฏิบัติเพื่อประโยชน์และมิใช่ประโยชน์
๒. สรณียสูตร ว่าด้วยสถานที่ที่กษัตริย์และภิกษุพึงระลึกถึงตลอดชีวิต
๓. ภิกขุสูตร ว่าด้วยบุคลล ๓ จําพวกในทางโลกและทางธรรม
๔. จักกวัตติสูตร ว่าด้วยราชาของพระเจ้าจักรพรรดิและของพระพุทธองค์
๕. ปเจตนสูตร ว่าด้วยความคดของไม้กับคน
๖. อปัณณกสูตร ว่าด้วยข้อปฏิบัติไม่ผิด
๗. อัตตสูตร ธรรมที่อํานวยให้เบียดเบียนและไม่เบียดเบียนตน
๘. เทวสูตร ว่าด้วยสิ่งที่ควรรังเกียจ
ปฐมปัณณาสก์
ปุคคลวรรคที่ ๓
๑. สวิฏฐสูตร ว่าด้วยบุคคล ๓ พวก ที่พยากรณ์ยาก
๒. คิลานสูตร ว่าด้วยคนไข้และผู้เปรียบด้วยคนไข้ ๓ จําพวก
๓. สังขารสูตร ว่าด้วยกรรมและผลแห่งกรรม
๔. พหุการสูตร ว่าด้วยผู้มีอุปการะมาก ๓ จําพวก
๕. วชิรสูตร ว่าด้วยผู้มีจิตเหมือนแผลเก่า - ฟ้าแลบ - เพชร
๖. เสวิตัพพสูตร ว่าด้วยผู้ควรคบและไม่ควรคบ
๗. ชิคุจฉิตัพพสูตร ว่าด้วยบุคคลที่ควรคบและไม่ควรคบ
๘. คูถภาณีสูตร ว่าด้วยผู้พูด ๓ จําพวก
ปฐมปัณณาสก์
เทวทูตวรรคที่ ๔
๒. อานันทสูตร ว่าด้วยการเข้าเจโตวิมุตติ และ ปัญญาวิมุตติ
๓. สารีปุตตสูตร ว่าด้วยผู้ตัดตัณหาได้
๔. นิทานสูตร ว่าด้วยเหตุเกิดของกรรม
๕. หัตถกสูตร ว่าด้วยผู้มีความสุขแท้
๖. ทูตสูตร ว่าด้วยเทวทูต ๓ จําพวก
๗. ปฐมราชสูตร ว่าด้วยท้าวโลกบาลตรวจโลก
๘. ทุติยราชสูตร ว่าด้วยการกล่าวคาถาผิดฐาน และถูกฐาน
ปฐมปัณณาสก์
จูฬวรรคที่ ๕
๑. สัมมุขีสูตร ว่าด้วยเหตุให้ประสบบุญมาก ๓ ประการ
๒. ฐานสูตร ว่าด้วยลักษณะผู้มีศรัทธา ๓ ประการ
๓. ปัจจยวัตตสูตร ว่าด้วยประโยชน์ ๓ ที่ผู้แสดงธรรมสมควรพิจารณา
๔. ปเรสสูตร ว่าด้วยเหตุให้เกิดการเจรจาธรรม
๕. ปัณฑิตสูตร ว่าด้วยสิ่งที่บัณฑิตบัญญัติไว้ ๓ ประการ
๖. ศีลสูตร ว่าด้วยบ่อเกิดของบุญ
๗. สังขตสูตร ว่าด้วยลักษณะแห่งสังขตธรรม ๓ ประการ
๘. อสังขตสูตร ว่าด้วยลักษณะแห่งอสังขตธรรม ๓ ประการ
๙. ปัพพตสูตร ว่าด้วยการพึ่งพาอาศัยเป็นเหตุให้เจริญ
ทุติยปัณณาสก์
พราหมณวรรคที่ ๑
๑. ปฐมชนสูตร ว่าด้วยที่พึ่งในภายหน้า
๒. ทุติยชนสูตร ว่าด้วยที่พึ่งในภพหน้า
๕. นิพพุตสูตร ว่าด้วยพระนิพพาน
๖. ปโลภสูตร ว่าด้วยเหตุที่ทําให้มนุษย์มีจํานวนน้อยลง
๗. ชัปปสูตร ว่าด้วยผู้รับที่ทําให้ทานมีผลมาก
๘. ติกัณณสูตร ว่าด้วยวิชชา ๓ ของพราหมณ์และของพุทธ์
ทุติยปัณณาสก์
มหาวรรคที่ ๒
๑. ติตถสูตร ว่าด้วยอกิริยาทิฏฐิ - ลัทธิเดียรถีย์ ๓ อย่าง
๒. ภยสูตร ว่าด้วยอมาตาปุตติกภัย ๓ อย่าง
๓. เวนาคสูตร ว่าด้วยพระพุทธองค์ได้ที่นั่งที่นอนสูงใหญ่ ๓ อย่าง
๔. สรภสูตร ว่าด้วยอฐานะ ๓ อย่าง
๕. กาลามสูตร ว่าด้วยมิให้เชื่อโดยอาการ ๑๐ อย่าง
๖. สาฬหสูตร ว่าด้วยมิให้เชื่อโดยอาการ ๑๐ อย่าง
๗. กถาวัตถุสูตร ว่าด้วยถ้อยคําที่ควรพูด ๓ อย่าง
๘. ติตถิยสูตร ว่าด้วยความแตกต่างแห่งอกุศลมูล ๓
ทุติยปัณณาสก์
อานันทวรรคที่ ๓
๑. ฉันนสูตร ว่าด้วยโทษแห่งกุศลมูล
๒. อาชีวกสูตร ว่าด้วยความดี ๓ อย่าง
๓. สักกสูตร ว่าด้วยไตรสิกขาของพระเสขะและพระอเสขะ
๔. นิคัณฐสูตร ว่าด้วยความบริสุทธิ์ ๓ อย่าง
๕. สมาทปกสูตร ว่าด้วยฐานะ ๓ อย่าง
๖. นวสูตร ว่าด้วยเหตุเกิดแห่งภพทั้ง ๓
๗. ภวสูตร ว่าด้วยเหตุเกิดแห่งภพทั้ง ๓
๘. สีลัพพตสูตร ว่าด้วยผลแห่งศีลพรต
ทุติยปัณณาสก์
สมณวรรคที่ ๔
๑. สมณสูตร ว่าด้วยกิจของสมณะ ๓ อย่าง
๒. คัภรสูตร ภิกษุไร้ไตรสิกขาเปรียบเหมือนลาในฝูงโค
๓. เขตตสูตร กิจเบื้องต้นของชาวนาและภิกษุ
๔. วัชชีปุตตสูตร ว่าด้วยการเจริญไตรสิกขาเพื่อละอกุศลมูล
๖. ทุติยเสขสูตร ว่าด้วยเสขบุคคล
๗. ตติยเสขสูตร ว่าด้วยเสขบุคคล
๘. จตุตถเสขสุตร ว่าด้วยเสขบุคคล
๙. ปฐมสิกขาสูตร ว่าด้วยไตรสิกขา
ทุติยปัณณาสก์
โลณผลวรรคที่ ๕
๑. อัจจายิกสูตร ว่าด้วยกิจรีบด่วนของชาวนาและภิกษุ
๒. วิวิตตสูตร ว่าด้วยความสงัดจากกิเลส ๓ อย่าง
๓. สรทสูตร ว่าด้วยการละสังโยชน์ ๓ ด้วยธรรมจักษุ
๔. ปริสาสูตร ว่าด้วยบริษัท ๓ จําพวก
๕. ปฐมอาชานียสูตร ว่าด้วยองค์ ๓ ของม้าต้นและของภิกษุ
๖. ทุติยอาชานียสูตร ว่าด้วยองค์ ๓ ของม้าต้นและของภิกษุ
๗. ตติยอาชานียสูตร ว่าด้วยองค์ ๓ ของม้าต้นและของภิกษุ
๘. นวสูตร ว่าด้วยบุคคลที่เปรียบได้กับผ้าเปลือกไม้ 3 ชนิด
๙. โลณกสูตร ว่าด้วยการให้ผลของกรรม
ตติยปัณณาสก์
สัมโพธิวรรคที่ ๑
๑. ปุพพสูตร ว่าด้วยเหตุให้ปฏิญาณว่าเป็นผู้ตรัสรู้
๒. มนุสสสูตร ว่าด้วยเหตุให้ปฏิญาณว่าเป็นผู้ตรัสรู้
๓. อัสสาทสูตร ว่าด้วยเหตุให้หลุดพ้นจากโลก
๔. สมณสูตร ว่าด้วยผู้ควรยกย่องเป็นสมณะและพราหมณ์
๕. โรณสูตร ว่าด้วยความร่าเริงและความเบิกบานในธรรม
๖. อติตตสูตร ว่าด้วยสิ่งที่เสพไม่รู้อิ่ม ๓ อย่าง
๗. ปฐมกูฏสูตร ว่าด้วยธรรมที่เกิดจากการรักษาและไม่รักษาจิต
๘. ทุติยกูฏสูตร ว่าด้วยกรรมพินาศและไม่พินาศเพราะจิต
ตติยปัณณาสก์
อาปายิกวรรคที่ ๒
๑. อาปายิกสูตร ว่าด้วยบุคคล ๓ จําพวกที่ต้องไปอบายภูมิ
๒. ทุลลภสูตร ว่าด้วยบุคคลหาได้ยาก ๓ จําพวก
๓. อัปปเมยยสูตร ว่าด้วยบุคคล ๓ จําพวก
๔. อาเนญชสูตร ว่าด้วยบุคคลผู้เจริญอรูปฌาน ๓ จําพวก
๕. อยสูตร ว่าด้วยวิบัติ ๓ และสัมปทา ๓
๖. อปัณณกสูตร ว่าด้วยวิบัติ ๓ และสัมปทา ๓
๗. กัมมันตสูตร ว่าด้วยเรื่องวิบัติ ๓ และสัมปทา ๓
๘. ปฐมโสเจยยสูตร ว่าด้วยความสะอาด ๓ อย่าง
ตติยปัณณาสก์
กุสินาวรรคที่ ๓
๑. กุสินารสูตร ว่าด้วยบิณฑบาตที่มีผลมาก
๒. ภัณฑนสูตร ว่าด้วยเหตุแห่งความบาดหมาง ๓ อย่าง
๓. โคตมสูตร ว่าด้วยอาการที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรม ๓ อย่าง
๔. ภรัณฑุสูตร ว่าด้วยศาสดา ๓ จําพวก
๕. หัตถกสูตร ว่าด้วยหัตถกเทพบุตรไม่อิ่มธรรม ๓ อย่าง
๖. กฏุุวิยสูตร ว่าด้วยพระทําตัวเป็นของเน่า
๗. ปฐมอนุรุทธสูตร ว่าด้วยธรรม ๓ อย่าง ที่พาหญิงไปอบายภูมิ
๘. ทุติยอนุรุทธสูตร ว่าด้วยพระอนุรุทธะสนทนากับพระสารีบุตร
ตติยปัณณาสก์
โยธาชีวรรคที่ ๔
๑. โยธสูตร ว่าด้วยนักรบที่คู่ควรแก่พระราชา
๒. ปริสาสูตร ว่าด้วยบริษัท ๓ จําพวก
๓. มิตตสูตร ว่าด้วยองค์ ๓ ของมิตรแท้
๔. อุปปาทสูตร ว่าด้วยธรรมนิยาย
๕. เกสกัมพลสูตร ว่าด้วยโมฆบุรุษเป็นไซดักมนุษย์
๖. สัมปทาสูตร ว่าด้วยสัมปทา ๓ อย่าง
๗. วุฑฒิสูตร ว่าด้วยวุฑฒิ ๓ อย่าง
๘. ปฐมอัสสสูตร ว่าด้วยม้ากระจอกและคนกระจอก ๓ จําพวก
๙. ทุติยอัสสสูตร ว่าด้วยม้าดี และบุรุษดี ๓ จําพวก
๑๐. ตติยอัสสสูตร ว่าด้วยม้าอาชาไนย และบุรุษอาชาไนย ๓ จําพวก
๑๑. ปฐมโมรนิวาปสูตร ว่าด้วยขันธ์ ๓
ตติยปัณณาสก์
มงคลวรรคที่ ๕
๑. อกุศลสูตร ว่าด้วยเหตุให้ตกนรกและขึ้นสวรรค์
๒. สาวัชชสูตร ว่าด้วยเหตุให้ตกนรกและขึ้นสวรรค์
๓. วิสมสูตร ว่าด้วยเหตุให้ตกนรกและขึ้นสวรรค์
๔. อสุจิสูตร ว่าด้วยเหตุให้ตกนรกและขึ้นสวรรค์
๕. ปฐมขตสูตร ว่าด้วยเหตุให้ตนถูกทําลายและไม่ถูกทําลาย
๖. ทุติยขตสูตร ว่าด้วยเหตุให้ตนถูกทําลายและไม่ถูกทําลาย
๗. ตติยขตสูตร ว่าด้วยเหตุให้ตนถูกทําลายและไม่ถูกทําลาย
๘. จตุตถขตสูตร ว่าด้วยเหตุให้ตนถูกทําลายและไม่ถูกทําลาย