[เล่มที่ 26] พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย นิทานวรรค เล่ม ๒
[เล่มที่ 26] พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย นิทานวรรค เล่ม ๒
ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น
๑. อภิสมยสังยุต
พุทธวรรคที่ ๑
๑. เทศนาสูตร ว่าด้วยปฏิจจสมุปบาท
๒. วิภังคสูตร ว่าด้วยการจําแนกปฏิจจสมุปบาท
อาหารวรรคที่ ๒
๑. อาหารสูตร ว่าด้วยอาหาร ๔ อย่าง
๒. ผัคคุนสูตร ว่าด้วยพระผัคคุนะทูลถามเรื่องอาหาร
๓. ปฐมสมณพราหมสูตร ว่าด้วยเหตุแห่งความไม่เป็นสมณะและพราหมณ์
๔. ทุติยสมณพราหมณสูตร ว่าด้วยเหตุแห่งความไม่เป็นสมณะและพราหมณ์
๕. กัจจานโคตตสูตร ว่าด้วยพระกัจจานโคตต์ทูลถามสัมมาทิฏฐิ
๖. ธรรมกถิกสูตร ว่าด้วยคุณธรรมของพระธรรมกถึก
๗. อเจลกัสสปสูตร ว่าด้วยความทุกข์เกิดแต่ปัจจัย
๘. ติมพรุกขสูตร ว่าด้วยสุขและทุกข์เกิดแต่ปัจจัย
ทสพลวรรคที่ ๓
๑. ปฐมทสพลสูตร ว่าด้วยทสพลญาณและจตุเวสารัชญาณ
๒. ทุติยทสพลสูตร ว่าด้วยทสพลญาณและจตุเวสารัชญาณ
๓. อุปนิสสูตร ว่าด้วยธรรมที่อิงอาศัยกัน
๔. อัญญติตถิยสูตร ว่าด้วยทุกข์ในวาทะ ๔
๕. ภูมิชสูตร ว่าด้วยสุขและทุกข์
๖. อุปวาณสูตร ว่าด้วยทุกข์เกิดเพราะผัสสะ
๗. ปัจจยสูตร ว่าด้วยเหตุเป็นผู้สมบูรณ์ด้วยทิฏฐิ
๘. ภิกขุสูตร ว่าด้วยชราและมรณะ
๙. ปฐมสมณพราหมณสูตร ว่าด้วยกําหนดรู้ชราและมรณะ
๑๐. ทุติยสมณพราหมณสูตร ว่าด้วยไม่รู้ทั่วถึงเหตุเกิดและดับแห่งชรามรณะ
กฬารขัตติยวรรคที่ ๔
๑. ภูตมิทสูตร ว่าด้วยปัญหาของอชิตมาณพ
๒. กฬารขัตติยสูตร ว่าด้วยโมลิยผัคคุนภิกษุลาสิกขา
๓. ปฐมญาณวัตถุสูตร ว่าด้วยญาณวัตถุ ๔๔
๔. ทุติยญาณวัตถุสูตร ว่าด้วยการแสดงญาณวัตถุ ๗๗ แก่ภิกษุ
๕. ปฐมอวิชชาปัจจยสูตร ว่าด้วยสังขารมีเพราะอวิชชาเป็นปัจจัย
๖. ทุติยอวิชชาปัจจยสูตร ว่าด้วยอวิชชาเป็นปัจจัยแก่สังขาร
๗. นตุมหสูตร ว่าด้วยปัจจัยปรุงแต่งกรรม
๘. ปฐมเจตนาสูตร ว่าด้วยความเกิดและดับกองทุกข์
คหปติวรรคที่ ๕
๑. ปฐมปัญจเวรภยสูตร ว่าด้วยภัยเวร ๕ ประการ
๒. ทุติยปัญจเวรภยสูตร ว่าด้วยภัยเวร ๕ ประการ
๓. ทุกขนิโรธสูตร ว่าด้วยเหตุเกิดแห่งทุกข์และความดับทุกข์
๔. โลกนิโรธสูตร ว่าด้วยความเกิดและความดับแห่งโลก
๕. ญาติกสูตร ว่าด้วยความประชุม ๓ ประการเป็นผัสสะ
๖. อัญญตรสูตร ว่าด้วยทําเหตุอย่างใดได้รับผลอย่างนั้น
๗. ชาณุสโสณิสูตร ว่าด้วยชาณุสโสณีพราหมณ์ทูลถามพระพุทธเจ้า
๘. โลกายติกสูตร ว่าด้วยโลกายตะ
ทุกขวรรคที่ ๖
๑. ปริวีมังสนสูตร ว่าด้วยการพิจารณาเพื่อความสิ้นทุกข์โดยชอบ
๓. ปฐมสังโยชนสูตร ว่าด้วยความเกิดขึ้นแห่งกองทุกข์
๔. ทุติยสังโยชนสูตร ว่าด้วยธรรมเป็นปัจจัยแห่งสังโยชน์
๕. ปฐมมหารุกขสูตร ว่าด้วยธรรมที่เป็นปัจจัยแห่งอุปาทาน
๖. ทุติยมหารุกขสูตร ว่าด้วยต้นไม้มีอาหารกับภิกษุมีความพอใจในธรรม
๗. ตรุณรุกขสูตร ว่าด้วยต้นไม้อ่อนกับภิกษุมีความพอใจในธรรม
๘. นามรูปสูตร ว่าด้วยภิกษุพอใจในธรรมกับนามรูป
มหาวรรคที่ ๗
๑. อัสสุตวตาสูตรที่ ๑ ว่าด้วยกายเป็นที่ประชุมมหาภูตทั้ง ๔
๒. อัสสุตวตาสูตรที่ ๒ ว่าด้วยร่างกายเป็นที่ประชุมมหาภูตทั้ง ๔
๓. ปุตตมังสสูตร ว่าด้วยอาหาร ๔ อย่าง
๔. อัตถิราคสูตร ว่าด้วยความเพลิดเพลินอาหาร ๔ อย่าง
๕. นครสูตร ว่าด้วยโลกนี้ลําบากเพราะมีเกิดแก่เจ็บตาย
๖. สัมมสสูตร ว่าด้วยการพิจารณาปัจจัยภายใน
๗. นฬกลาปิยสูตร ว่าด้วยปัจจัยให้มีชราและมรณะ
๘. โกสัมพีสูตร ว่าด้วยชาติเป็นปัจจัยจึงมีชราและมรณะ
อภิสมยวรรคที่ ๑๐
๑. นขสิขาสูตร ว่าด้วยเปรียบทุกข์ที่เหลือเท่าฝุ่นติดปลายเล็บ
๒. โปกขรณีสูตร ว่าด้วยเปรียบทุกข์ที่เหลือเหมือนน้ําที่วิดด้วยปลายหญ้าคา
๓. ปฐมสัมเภชอุทกสูตร ว่าด้วยแม่น้ํา ๕ สาย ไหลมาบรรจบกัน
๔. ทุติยสัมเภชอุทกสูตร ว่าด้วยแม่น้ํา ๕ สาย
๕. ปฐมปฐวีสูตร ว่าด้วยบุรุษวางก้อนดิน ๗ ก้อนไว้ที่แผ่นดินใหญ่
๖. ทุติยปฐวีสูตร ว่าด้วยแผ่นดินใหญ่
๗. ปฐมสมุททสูตร ว่าด้วยบุรุษวักน้ําสองสามหยาดขึ้นจากมหาสมุทร
๘. ทุติยสมุททสูตร ว่าด้วยน้ําในมหาสมุทร
๙. ปฐมปัพพตูปมสูตร ว่าด้วยวางก้อนหิน ๗ ก้อนที่ภูเขาหิมวันต์
๑๐. ทุติยปัพพตูปมสูตร ว่าด้วยวางก้อนหิน ๗ ก้อนไว้ที่ภูเขาหิมวันต์
๑๑. ตติยปัพพตูปมสูตร ว่าด้วยวางก้อนหิน ๗ ก้อนไว้ที่ภูเขาสิเนรุ
๒. ธาตุสังยุต
นานัตตวรรคที่ ๑
๑. ธาตุสูตร ว่าด้วยความต่างแห่งธาตุ
๒. สัมผัสสสูตร ว่าด้วยความต่างแห่งผัสสะ
๓. โนสัมผัสสสูตร ว่าด้วยความต่างแห่งผัสสะ
๔. เวทนาสูตร ว่าด้วยความต่างแห่งเวทนา
๕. โนเวทนาสูตร ว่าด้วยความต่างแห่งเวทนา
๖. พาหิรธาตุสูตร ว่าด้วยความต่างแห่งธาตุ
๗. สัญญาสูตร ว่าด้วยความต่างแห่งสัญญา
๘. โนสัญญาสูตร ว่าด้วยความต่างแห่งสัญญา
ทุติยวรรคที่ ๒
๑. สัตติมสูตร ว่าด้วยธาตุ ๗ ประการ
๒. สนิทานสูตร ว่าด้วยวิตก ๓ อย่าง
๓. คิญชกาวสถสูตร ว่าด้วยสัญญา ทิฏฐิ วิตกเป็นต้น
๔. หีนาธิมุตติสูตร ว่าด้วยสัตว์มีอัธยาศัยเลวและอัธยาศัยดี
๕. จังกมสูตร ว่าด้วยการจงกรมของภิกษุหลายรูป
๖. สตาปารัทธสูตร ว่าด้วยสัตว์คบค้าสมาคมกันโดยธาตุ
๗. ปฐมอัสสัทธมูลกสูตร ว่าด้วยสัตว์คบค้าสมาคมกันโดยธาตุเดียวกัน
๘. ทุติยอัสสัทธมูลกสูตร การคบค้าของสัตว์โดยธาตุมีศรัทธาและไม่มีศรัทธา
๙. อหิริกมูลกสูตร ว่าด้วยการคบค้าของสัตว์โดยธาตุมีหิริและไม่มีหิริ
๑๐. อโนตตัปปมูลกสูตร ว่าด้วยการคบค้าของสัตว์โดยธาตุมีโอตตัปปะและไม่มีโอตตัปปะ
๑๑. อัปปสุตสูตร ว่าด้วยการคบค้าของสัตว์โดยธาตุว่าด้วยสุตะเป็นต้น
๑๒. กุสิตสูตร ว่าด้วยการคบค้าของสัตว์โดยธาตุว่าด้วยสติและปัญญา
ทสกัมมปถวรรคที่ ๓
๑. อสมาหิตสูตร ว่าด้วยการคบค้าของสัตว์โดยธาตุว่าด้วยไม่มีศรัทธา
๒. ทุสสีลสูตร ว่าด้วยการคบค้าของสัตว์โดยธาตุว่าด้วยศรัทธาและหิริ
๓. ปัญจสิกขาปทสูตร ว่าด้วยการคบค้าของสัตว์โดยธาตุต่างด้วยศีล ๕
๔. สัตตกัมมปถสูตร ว่าด้วยกรรมบถ ๗
๕. ทสกัมมปถสูตร ว่าด้วยกรรมบถ ๑๐
๖. อัฏฐังคิกสูตร ว่าด้วยการคบค้ากันของสัตว์ด้วยมรรค ๘
๗. ทสังคิกสูตร ว่าด้วยการคบค้ากันของสัตว์โดยธาตุประกอบด้วยธรรม ๑๐ ประการ
จตุตถวรรคที่ ๔
๑. จตัสสสูตร ว่าด้วยธาตุ ๔ ประการ
๒. ปุพพสูตร ว่าด้วยเรื่องก่อนตรัสรู้
๓. อจริสูตร ว่าด้วยการแสวงหาความแช่มชื่นแห่งธาตุทั้ง ๔
๔. โนเจทสูตร ว่าด้วยเรื่องธาตุทั้ง ๔
๕. ทุกขสูตร ว่าด้วยสุขและทุกข์แห่งธาตุทั้ง ๔
๖. อภินันทนสูตร ว่าด้วยการชื่นชมยินดีในธาตุทั้ง ๔
๗. อุปปาทสูตร ว่าด้วยความเกิดและตั้งอยู่แห่งธาตุทั้ง ๔
๘. ปฐมสมณพราหมณสูตร ว่าด้วยเป็นสมณะเป็นพราหมณ์
๓. อนมตัคคสังยุต
ปฐมวรรคที่ ๑
๑. ติณกัฏฐสูตร ว่าด้วยที่สุดเบื้องต้นเบื้องปลายของสงสาร
๒. ปฐวีสูตร ว่าด้วยการกําหนดที่สุดเบื้องต้นเบื้องปลายของสงสาร
๓. อัสสุสูตร ว่าด้วยเปรียบน้ําตากับน้ําในมหาสมุทร
๔. ขีรสูตร ว่าด้วยเปรียบน้ํานมกับน้ําในมหาสมุทร
๗. สาวกสูตร ว่าด้วยการอุปมากัป
๘. คงคาสูตร ว่าด้วยการอุปมากัป
๙. ทัณฑสูตร ว่าด้วยสงสารกําหนดเบื้องต้นเบื้องปลายเหมือนท่อนไม้
๑๐. ปุคคลสูตร ว่าด้วยสงสารกําหนดเบื้องต้นเบื้องปลายไม่ได้ เหมือนโครงกระดูกบุคคล
ทุติยวรรคที่ ๒
๑. ทุคตสูตร ว่าด้วยสงสารกําหนดเบื้องต้นเบื้องปลายไม่ได้ เหมือนทุคตบุรุษ
๒. สุขิตสูตร ว่าด้วยสงสารกําหนดเบื้องต้นเบื้องปลายไม่ได้ เหมือนบุคคลผู้มีความสุข
๓. ติงสมัตตาสูตร ว่าด้วยภิกษุชาวเมืองปาเวยยะ ๓๐ รูป ถือการอยู่ป่าเป็นวัตร
๔. มาตุสูตร ว่าด้วยสงสารกําหนดเบื้องต้นเบื้องปลายไม่ได้ เหมือนผู้ไม่เคยเป็นมารดา
๕. ปิตุสูตร ว่าด้วยสงสารกําหนดเบื้องต้นเบื้องปลายไม่ได้ เหมือนผู้ไม่เคยเป็นบิดา
๖. ภาตุสูตร ว่าด้วยสงสารและสัตว์ที่ไม่เคยเป็นพี่ชายน้องชาย
๗. ภคินีสูตร ว่าด้วยสงสารและสัตว์ที่ไม่เคยเป็นพี่หญิงน้องหญิง
๘. ปุตตสูตร ว่าด้วยสงสารและสัตว์ที่ไม่เคยเป็นบุตร
๔. กัสสปสังยุต
๑. สันตุฏฐสูตร ว่าด้วยเรื่องสันโดษ
๒. อโนตตาปีสูตร ว่าด้วยความไม่สะดุ้งกลัวต่อความชั่ว
๓. จันทูปมสูตร ว่าด้วยเปรียบภิกษุจงทําตัวเป็นดุจพระจันทร์
๔. กุลูปกสูตร ว่าด้วยการเข้าไปสู่สกุลของภิกษุบางพวก
๕. ชิณณสูตร ว่าด้วยภิกษุผู้ชรากับการนุ่งห่มผ้าบังสุกุล
๖. ปฐมโอวาทสูตร ว่าด้วยการให้โอวาทภิกษุทั้งหลาย
๗. ทุติยโอวาทสูตร ว่าด้วยการให้โอวาทภิกษุทั้งหลาย
๘. ตติยโอวาทสูตร ว่าด้วยการให้โอวาท
๙. ฌานาภิญญาสูตร ว่าด้วยการปฏิบัติตนให้เข้าถึงฌาน
๑๐. ภิกขุนูปัสสยสูตร ว่าด้วยพระอานนท์นิมนต์พระมหากัสสปไปสํานักภิกษุณี
๑๑. จีวรสูตร ว่าด้วยภิกษุสัทธิวิหาริกของพระอานนท์ ๓๐ รูป ลาสิกขา
๕. ลาภสักการสังยุต
ปฐมวรรคที่ ๑
๑. สุทธกสูตร ว่าด้วยลาภสักการะเป็นอันตรายแก่การบรรลุธรรม
๒. พฬิสสูตร ว่าด้วยลาภสักการะเหมือนเหยื่อเกี่ยวเบ็ด
๓. กุมมสูตร ว่าด้วยคนติดลาภสักการะเหมือนเต่าถูกเชือกมัด
๔. ทีฆโลมสูตร ว่าด้วยคนติดลาภสักการะเหมือนแกะถูกหนามเกี่ยว
๕. เอฬกสูตร ว่าด้วยคนติดลาภสักการะเหมือนแมลงวัน
๖. อสนิสูตร ว่าด้วยคนติดลาภสักการะเหมือนคนถูกขวานฟ้า
๗. ทิฏฐิสูตร ว่าด้วยคนติดลาภสักการะเหมือนถูกแทงด้วยลูกศร
๘. สิคาลสูตร ว่าด้วยคนติดลาภสักการะเหมือนสุนัขจิ้งจอกแก่
ทุติยวรรคที่ ๒
๑. สุวัณณปาติสูตร ว่าด้วยลาภสักการะเป็นอันตรายแก่การบรรลุธรรม
๒. รูปิยปาติสุตร ว่าด้วยลาภสักการะเป็นอันตรายแก่การบรรลุธรรม
๓. สุวัณณนิกขสูตร ว่าด้วยลาภสักการะ
๔. สุวัณณนิกขสตสูตร ว่าด้วยลาภสักการะ
๕. สิงคินิกขสูตร ว่าด้วยลาภสักการะ
๖. สิงคินิกขสตสูตร ว่าด้วยลาภสักการะ
๘. อามิสกิญจิกขสูตร ว่าด้วยลาภสักการะ
ตติยวรรคที่ ๓
๑. มาตุคามสูตร ว่าด้วยมาตุคามเป็นอันตรายแก่การบรรลุธรรม
๒. ชนปทกัลยาณีสูตร ว่าด้วยนางงามประจําชนบท
๔. เอกธีตุสูตร ว่าด้วยเรื่องธิดาคนเดียว
๕. ปฐมสมณพราหมณสูตร ว่าด้วยสมณพราหมณ์ไม่ทราบถึงความยินดีและโทษแห่งลาภสักการะ
๖. ทุติยสมณพราหมณสูตร ว่าด้วยสมณพราหมณ์ไม่ทราบถึงความยินดีและโทษแห่งลาภสักการะ
๗. ตติยสมณพรหมณสูตร ว่าด้วยสมณพราหมณ์ไม่ทราบถึงความยินดีและโทษแห่งลาภสักการะ
๘. ฉวิสูตร ว่าด้วยลาภสักการะตัดผิวตัดหนังจดเยื่อในกระดูก
๙. รัชชุสูตร ว่าด้วยลาภสักการะเป็นอันตรายเหมือนเชือกหางสัตว์
๑๐. ภิกขุสูตร ว่าด้วยลาภสักการะเป็นอันตรายแก่พระอรหันตขีณาสพ
จตุตถวรรคที่ ๔
๑. ภินทิสูตร ว่าด้วยลาภสักการะเป็นเหตุทําลายสงฆ์
๒. มูลสูตร ว่าด้วยกุศลมูลของพระเทวทัตถูกลาภสักการะครอบงํา
๓. ปฐมธรรมสูตร ว่าด้วยลาภสักการะเป็นอันตรายแก่การบรรลุธรรม
๔. ทุติยธรรมสูตร ว่าด้วยลาภสักการะเป็นอันตรายแก่การบรรลุธรรม
๕. ปักกันตสูตร ว่าด้วยลาภสักการะเกิดแก่พระเทวทัตเพื่อฆ่าตนเอง
๖. รถสูตร ว่าด้วยพระเจ้าอชาตสัตรูราชกุมารบํารุงพระเทวทัต
๗. มาตุสูตร ว่าด้วยผู้ไม่จงใจพูดมุสาเพราะเหตุแห่งมารดา
๘. ปิตุสูตร ว่าด้วยผู้ไม่จงใจพูดมุสาเพราะเหตุแห่งบิดา
๙. ภาตุสูตร ว่าด้วยผู้ไม่จงใจพูดมุสาเพราะเหตุแห่งพี่น้องชาย
๑๐. ภคินิสูตร ว่าด้วยผู้ไม่จงใจพูดมุสาเพราะเหตุแห่งพี่น้องหญิง
๑๑. ปุตตสูตร ว่าด้วยผู้ไม่จงใจพูดมุสาเพราะเหตุแห่งบุตร
๖. ราหุลสังยุต
ปฐมวรรคที่ ๑
๑. จักขุสูตร ว่าด้วยอายตนะมีจักษุเป็นต้นไม่เที่ยง
๒. รูปสูตร ว่าด้วยรูปเป็นต้นไม่เที่ยง
๓. วิญญาณสูตร ว่าด้วยจักขุวิญญาณเป็นต้นไม่เที่ยง
๔. สัมผัสสสูตร ว่าด้วยจักขุสัมผัสเป็นต้นไม่เที่ยง
๕. เวทนาสูตร ว่าด้วยเวทนาเป็นต้นไม่เที่ยง
๖. สัญญาสูตร ว่าด้วยรูปสัญญาเป็นต้นไม่เที่ยง
๗. เจตนาสูตร ว่าด้วยรูปสัญเจตนาเป็นต้นไม่เที่ยง
๘. ตัณหาสูตร ว่าด้วยรูปตัณหาเป็นต้นไม่เที่ยง
๗. ลักขณสังยุต
ปฐมวรรคที่ ๑
๑. อัฏฐิสูตร ว่าด้วยโครงกระดูกลอยฟ้าเป็นเหตุให้แย้ม
๒. เปสิสูตร ว่าด้วยชิ้นเนื้อลอยในอากาศ
๓. ปิณฑสูตร ว่าด้วยก้อนเนื้อลอยอยู่ในอากาศ
๔. นิจฉวิสูตร ว่าด้วยสัตว์ไม่มีผิวหนังลอยในอากาศ
๕. อสิสูตร ว่าด้วยบุรุษมีขนเป็นดาบลอยในอากาศ
๖. สัตติสูตร ว่าด้วยบุรุษมีขนเป็นหอก
๗. อุสุสูตร ว่าด้วยบุรุษมีขนเป็นลูกธนู
๘. ปฐมสูจิสูตร ว่าด้วยบุรุษมีขนเป็นประตัก
ทุติยวรรคที่ ๒
๑. กูปนิมุคคสูตร ว่าด้วยบุรุษจมหลุมคูถ
๒. คูถขาทิสูตร ว่าด้วยบุรุษกินคูถ
๓. นิจฉวิตถีสูตร ว่าด้วยหญิงไม่มีผิวหนัง
๔. มังคุฬิตถีสูตร ว่าด้วยหญิงมีกลิ่นเหม็น
๕. โอกิลินีสูตร ว่าด้วยหญิงมีน้ําเหลืองไหล
๖. สีสัจฉินนสูตร ว่าด้วยตัวกะพันธ์ศีรษะขาด
๗. ภิกขุสูตร ว่าด้วยภิกษุไฟติดทั่วตัวลอยในอากาศ
๘. ภิกขุนีสูตร ว่าด้วยภิกษุณีไฟติดทั่วตัวลอยในอากาศ
๙. สิกขมานาสูตร ว่าด้วยสิกขมานาไฟติดทั่วตัวลอยในอากาศ
๘. โอปัมมสังยุต
๑. กูฏาคารสูตร ว่าด้วยกลอนของเรือนยอด
๒. นขสิขสูตร ว่าด้วยสัตว์ที่กลับมาเกิดเป็นมนุษย์มีน้อย เหมือนฝุ่นติดปลายเล็บ
๓. กุลสูตร ว่าด้วยอานิสงส์เมตตาเจโตวิมุตติ
๖. ธนุคคหสูตร ว่าด้วยการจับลูกธนู
๘. กลิงครสูตร ว่าด้วยหมอนท่อนไม้หนุนศีรษะและเท้า
๙. นาคสูตร ว่าด้วยภิกษุใหม่เปรียบด้วยช้าง
๑๐. วิฬารสูตร ว่าด้วยภิกษุเปรียบด้วยแมว
๙. ภิกขุสังยุต
๑. โกลิตสูตร ว่าด้วยดุษณีภาพอันประเสริฐ
๒. อุปติสสสูตร ว่าด้วยโสกปริเทวทุกขโทมนัสและอุปายาส
๓. ฆฏสูตร ว่าด้วยเรื่องหม้อเกลือใหญ่
๔. นวสูตร ว่าด้วยเรื่องภิกษุใหม่
๕. สุชาตสูตร ว่าด้วยเรื่องพระสุชาต
๖. ภัททิยสูตร ว่าด้วยเรื่องพระลกุณฏกภัททิยะ
๗. วิสาขสูตร ว่าด้วยเรื่องพระวิสาขปัญจาลบุตร
๘. นันทสูตร ว่าด้วยเรื่องนันทะ
๙. ติสสสูตร ว่าด้วยเรื่องท่านพระติสสะ
๑๐. เถรนามสูตร ว่าด้วยเรื่องภิกษุรูปหนึ่งชื่อเถระ