พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย

[เล่มที่ 36] พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย ปัญจก-ฉักกนิบาต เล่ม ๓

 
บ้านธัมมะ
วันที่  29 ส.ค. 2564
หมายเลข  36313
อ่าน  1,345

[เล่มที่ 36] พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย ปัญจก-ฉักกนิบาต เล่ม ๓

ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น


  ข้อความที่ 1  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 25 ต.ค. 2564

ปัญจกนิบาต

ปฐมปัณณาสก์

เสขพลวรรคที่ ๑

๑. สังขิตตสูตร ว่าด้วยกําลังของเสขบุคคล ๕

๒. วิตถตสูตร ว่าด้วยกําลังของเสขบุคคล ๕

๓. ทุกขสูตร ว่าด้วยธรรม ๕ ที่ให้เกิดทุกข์และสุข

๔. ภตสูตร ว่าด้วยธรรม ๕ ที่นําไปนรกและสวรรค์

๕. สิกขสูตร ว่าด้วยฐานะที่น่าติเตียนของภิกษุ และภิกษุณีผู้ลาสิกขาแล้ว

๖. สมาปัตติสูตร ว่าด้วยธรรมที่เป็นปฏิปักษ์กัน

๗. กามสูตร ว่าด้วยการอนุเคราะห์ คนที่ควรอนุเคราะห์

๘. จวนสูตร ว่าด้วยธรรมที่ทําให้มั่นคง และไม่มั่นคงในศาสนา

๙. ปฐมอคารวสูตร ว่าด้วยธรรมที่ทําให้มั่นคง และไม่มั่นคงในศาสนา

๑๐. ทุติยอคารวสูตร ว่าด้วยธรรมที่ทําให้เจริญ และไม่เจริญในศาสนา

 
  ข้อความที่ 5  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 26 ต.ค. 2564
 
  ข้อความที่ 6  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 26 ต.ค. 2564
 
  ข้อความที่ 7  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 26 ต.ค. 2564

ทุติยปัณณาสก์

สัญญาวรรคที่ ๒

๑. ปฐมสัญญาสูตร ว่าด้วยสัญญาที่มีผลมาก ๕ ประการ

๒. ทุติยสัญญาสูตร ว่าด้วยสัญญาที่มีผลมาก ๕ ประการ

๓. ปฐมวัฑฒิสูตร ว่าด้วยธรรมเป็นเหตุเจริญ ๕ ประการ

๔. ทุติยวัฑฒิสูตร ว่าด้วยธรรมเป็นเหตุเจริญ ๕ ประการ

๕. สากัจฉสูตร ว่าด้วยคุณสมบัติของผู้ควรสนทนา ๕ ประการ

๖. สาชีวสูตร ว่าด้วยคุณสมบัติของภิกษุ ผู้ควรอยู่ร่วมกัน ๕ ประการ

๗. ปฐมอิทธิปาทสูตร ว่าด้วยธรรมที่อํานวยผล ให้เป็นอริยบุคคล

๘. ทุติยอิทธิปาทสูตร ว่าด้วยธรรมที่อํานวยผล ให้เป็นอริยบุคคล

๙. นิพพิทาสูตร ว่าด้วยธรรมที่อํานวยผล ให้บรรลุนิพพาน

๑๐. อาสวักขยสูตร ว่าด้วยธรรมที่อํานวยผล ให้สิ้นอาสวะ

 
  ข้อความที่ 8  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 26 ต.ค. 2564
 
  ข้อความที่ 9  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 26 ต.ค. 2564

ทุติยปัณณาสก์

เถรวรรคที่ ๔

๑. รัชนียสูตร ว่าด้วยธรรมที่เป็นเหตุ ให้พระเถระน่าเคารพ และไม่น่าเคารพ

๒. วีตราคสูตร ว่าด้วยธรรมที่เป็นเหตุ ให้พระเถระน่าเคารพ และไม่น่าเคารพ

๓. กุหกสูตร ว่าด้วยธรรมที่เป็นเหตุ ให้พระเถระน่าเคารพ และไม่น่าเคารพ

๔. อสัทธสูตร ว่าด้วยธรรมที่เป็นเหตุ ให้พระเถระน่าเคารพ และไม่น่าเคารพ

๕. อักขมสูตร ว่าด้วยธรรมที่เป็นเหตุ ให้พระเถระน่าเคารพ และไม่น่าเคารพ

๖. ปฏิสัมภิทาสูตร ว่าด้วยธรรม ๕ ที่เป็นเหตุ ให้พระเถระเป็นที่เคารพ

๗. สีลสูตร ว่าด้วยธรรม ๕ ที่เป็นเหตุ ให้พระเถระเป็นที่เคารพ

๘. เถรสูตร ว่าด้วยธรรมที่เป็นประโยชน์ และไม่เป็นประโยชน์แก่ชนมาก

๙. ปฐมเสขสูตร ว่าด้วยธรรมเป็นไปเพื่อความเสื่อม และไม่เสื่อมของพระเสขะ

๑๐. ทุติยเสขสูตร ว่าด้วยธรรมเป็นไปเพื่อความเสื่อม และไม่เสื่อมของพระเสขะ

 
  ข้อความที่ 11  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 26 ต.ค. 2564

ตติยปัณณาสก์

ผาสุวิหารวรรคที่ ๑

๑. เวสารัชชกรณสูตร ว่าด้วยธรรมให้แกล้วกล้า ๕ ประการ

๒. สังกิตสูตร ว่าด้วยธรรมที่ทําให้เป็นที่น่ารังเกียจ

๓. โจรสูตร ว่าด้วยองค์แห่งมหาโจร ๕ ประการ

๔. สุขุมาลสูตร ว่าด้วยธรรมของสมณะผู้ละเอียดอ่อน

๕. ผาสุวิหารสูตร ว่าด้วยธรรมเครื่องอยู่เป็นสุข ๕ ประการ

๖. อานันทสูตร ว่าด้วยธรรมเป็นเหตุให้สงฆ์อยู่ผาสุก

๗. สีลสูตร ว่าด้วยคุณสมบัติของสงฆ์ ผู้เป็นนาบุญ

๘. อเสขิยสูตร ว่าด้วยคุณสมบัติของสงฆ์ ผู้เป็นนาบุญ

๙. จาตุทิสสูตร ว่าด้วยธรรมของภิกษุ ผู้เที่ยวไปทั้ง ๔ ทิศ

๑๐. อรัญญสูตร ว่าด้วยคุณสมบัติของภิกษุ ผู้อยู่ในเสนาสนะอันสงัด

 
  ข้อความที่ 12  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 27 ต.ค. 2564

ตติยปัณณาสก์

อันธกวินทวรรคที่ ๒

๑. กุลุปกสูตร ว่าด้วยธรรมทําให้เป็นที่เคารพ และไม่เคารพในสกุล

๒. ปัจฉาสมณสูตร ว่าด้วยธรรมของผู้ควร และไม่ควรเป็นปัจฉาสมณะ

๓. สมาธิสูตร ว่าด้วยธรรมของผู้ไม่ควร และผู้ควรบรรลุสัมมาสมาธิ

๔. อันธกวินทสูตร ว่าด้วยธรรมของภิกษุใหม่ ๕ ประการ

๕. มัจฉริยสูตร ว่าด้วยธรรมที่ทําให้ภิกษุณี เหมือนตกนรก และขึ้นสวรรค์

๖. วรรณนาสูตร ว่าด้วยธรรมที่ทําให้ภิกษุณี เหมือนตกนรก และขึ้นสวรรค์

๗. อิสสาสูตร ว่าด้วยธรรมที่ทําให้เหมือนตกนรก และขึ้นสวรรค์

๘. ทิฏฐิสูตร ว่าด้วยธรรมที่ทําให้เหมือนตกนรก และขึ้นสวรรค์

๙. วาจาสูตร ว่าด้วยธรรมที่ทําให้เหมือนตกนรก และขึ้นสวรรค์

๑๐. วายามสูตร ว่าด้วยธรรมที่ทําให้เหมือนตกนรก และขึ้นสวรรค์

 
  ข้อความที่ 13  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 27 ต.ค. 2564

ตติยปัณณาสก์

คิลานวรรคที่ ๓

๑. คิลานสูตร ว่าด้วยคุณธรรม สําหรับภิกษุผู้อาพาธ

๒. สติปัฏฐานสูตร ว่าด้วยธรรมเป็นเหตุให้ บรรลุอริยผลในปัจจุบัน

๓. ปฐมอุปัฏฐากสูตร ว่าด้วยธรรมของภิกษุไข้ ที่ทําให้พยาบาลยาก และง่าย

๔. ทุติยอุปัฏฐากสูตร ว่าด้วยธรรมของภิกษุผู้ควร และไม่ควรพยาบาลภิกษุไข้

๕. ปฐมอนายุสสสูตร ว่าด้วยธรรมเป็นเหตุให้อายุสั้น และอายุยืน

๖. ทุติยอนายุสสสูตร ว่าด้วยธรรมเป็นเหตุให้อายุสั้น และอายุยืน

๗. อวัปปกาสสูตร ว่าด้วยธรรมของภิกษุผู้ควร และไม่ควรอยู่ผู้เดียว

๘. สมณทุกขสูตร ว่าด้วยทุกข์ และสุขของสมณะ ๕ ประการ

๙. ปริกุปปสูตร ว่าด้วยบุคคลผู้ต้องไปอบาย แก้ไขไม่ได้ ๕ จําพวก

๑๐. สัมปทาสูตร ว่าด้วยความเสื่อม ๕ และสมบัติ ๕

 
  ข้อความที่ 14  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 27 ต.ค. 2564

ตติยปัณณาสก์

ราชวรรคที่ ๔

๑. จักกสูตร ว่าด้วยองค์คุณของพระพุทธเจ้า และพระเจ้าจักรพรรดิ

๒. อนุวัตตนสูตร ว่าด้วยองค์คุณของพระสารีบุตร และโอรสพระเจ้าจักรพรรดิ

๓. ราชสูตร ว่าด้วยพระพุทธเจ้า และพระเจ้าจักรพรรดิ เคารพธรรม

๔. ยัสสทิสสูตร ว่าด้วยองค์คุณของกษัตริย์ และของภิกษุ

๕. ปฐมปัตถนาสูตร ว่าด้วยองค์คุณของพระราชโอรสองค์ใหญ่ และภิกษุ

๖. ทุติยปัตถนาสูตร ว่าด้วยองค์คุณของพระราชโอรสองค์ใหญ่ และภิกษุ

๗. อัปปสุปติสูตร ว่าด้วยคนหลับน้อยตื่นมาก ๕ จําพวก

๘. ภัตตาทกสูตร ว่าด้วยองค์ของช้างต้นกินจุ และของภิกษุฉันมาก

๙. อักขมสูตร ว่าด้วยลักษณะของช้างต้น และของภิกษุ

๑๐. โสตวสูตร ว่าด้วยองค์คุณของช้างต้น และของภิกษุ

 
  ข้อความที่ 15  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 27 ต.ค. 2564

ตติยปัณณาสก์

ติกัณฑกีวรรคที่ ๕

๑. ทัตวาอวชานาติสูตร ว่าด้วยคนเลว ๕ จําพวก

๒. อารภสูตร ว่าด้วยบุคคลที่ควรตักเตือน ๕ ประการ

๓. สารันททสูตร ว่าด้วยความปรากฏแห่งแก้วที่หาได้ยาก ๕ ประการ

๔. ติกัณฑกีสูตร ว่าด้วยสิ่งปฏิกูล และไม่ปฏิกูล

๕. นิรยสูตร ว่าด้วยธรรมทําให้เหมือนตกนรก และเหมือนขึ้นสวรรค์

๖. มิตตสูตร ว่าด้วยธรรมของภิกษุผู้ควรคบ และไม่ควรคบ

๗. อสัปปุริสทานสูตร ว่าด้วยทานของอสัตบุรุษ และของสัตบุรุษ

๘. สัปปุริสทานสูตร ว่าด้วยทานของสัตบุรุษ ๕ ประการ

๙. ปฐมสมยวิมุตตสูตร ว่าด้วยธรรมเป็นเหตุให้เสื่อม และไม่ให้เสื่อม

๑๐. ทุติยสมยวิมุตตสูตร ว่าด้วยธรรมเป็นเหตุให้เสื่อม และไม่ให้เสื่อม

 
  ข้อความที่ 16  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 28 ต.ค. 2564

จตุตถปัณณาสก์

สัทธัมมวรรคที่ ๑

๑. ปฐมสัทธัมมนิยามสูตร ว่าด้วยธรรมผู้เข้าถึงกุศล และไม่เข้าถึงกุศล

๒. ทุติยสัมธัมมนิยามสูตร ว่าด้วยธรรมของผู้เข้าถึง และไม่เข้าถึงกุศล

๓. ตติยสัทธัมมนิยามสูตร ว่าด้วยธรรมของผู้เข้าถึง และไม่เข้าถึงกุศล

๔. ปฐมสัทธัมมสัมโมสสูตร ว่าด้วยเหตุเสื่อม และเหตุเจริญแห่งศาสนา

๕. ทุติยสัทธัมมสัมโมสสูตร ว่าด้วยเหตุเสื่อม และเหตุไม่เสื่อมแห่งศาสนา

๖. ตติยสัทธัมมสัมโมสสูตร ว่าด้วยเหตุเสื่อม และไม่เสื่อมแห่งศาสนา

๗. ทุกถาสูตร ว่าด้วยพูดดีเป็นชั่ว และพูดดีเป็นดี

๘. สารัชชสูตร ว่าด้วยธรรมทําให้ครั่นคร้าม และให้กล้าหาญ

๙. อุทายิสูตร ว่าด้วยองค์คุณแห่งพระธรรมกถึก

๑๐. ทุพพิโนทยสูตร ว่าด้วยธรรมที่บรรเทาได้ยาก

 
  ข้อความที่ 17  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 28 ต.ค. 2564

จตุตถปัณณาสก์

อาฆาตวรรคที่ ๒

๑. ปฐมอาฆาตวินยสูตร ว่าด้วยธรรมระงับ ความอาฆาต ๕ ประการ

๒. ทุติยอาฆาตวินยสูตร ว่าด้วยธรรมระงับ ความอาฆาต ๕ ประการ

๓. สากัจฉาสูตร ว่าด้วยคุณสมบัติของผู้ควรสนทนา

๔. สาชีวสูตร ว่าด้วยคุณสมบัติของผู้ควรอยู่ร่วมกัน

๕. ปัญหาปุจฉาสูตร ว่าด้วยเหตุถามปัญหา ๕ ประการ

๖. นิโรธสูตร ว่าด้วยคุณธรรมของพระเถระ ที่น่าเคารพบูชา

๗. โจทนาสูตร ว่าด้วยคุณสมบัติของภิกษุผู้เป็นโจทก์

๘. สีลสูตร ว่าด้วยโทษของความทุศีล และคุณแห่งความมีศีล

๙. นิสันติสูตร ว่าด้วยเหตุให้คิดได้เร็ว เรียนได้ดี

๑๐. ภัททชิสูตร ว่าด้วยสิ่งที่เป็นยอด ๕ ประการ

 
  ข้อความที่ 18  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 28 ต.ค. 2564

จตุตถปัณณาสก์

อุปาสกวรรคที่ ๓

๑. สารัชชสูตร ว่าด้วยธรรมทําให้อุบาสกแกล้วกล้า และไม่แกล้วกล้า

๒. วิสารทสูตร ว่าด้วยธรรมทําให้อุบาสกแกล้วกล้า และไม่แกล้วกล้า

๓. นิรยสูตร ว่าด้วยธรรมทําให้เหมือนตกนรก และขึ้นสวรรค์

๔. เวรสูตร ว่าด้วยภัยเวร ๕ ประการ

๕. จัณฑาลสูตร ว่าด้วยธรรมสําหรับอุบาสกดี และอุบาสกชั่ว

๖. ปีติสูตร ว่าด้วยฐานะ ที่ไม่มีแก่อริยสาวก

๗. วณิชชสูตร ว่าด้วยการค้าขาย ที่อุบาสกไม่ควรประกอบ

๘. ราชสูตร ว่าด้วยการมีศีลไม่เป็นเหตุ ให้ได้รับโทษ

๙. คิหิสูตร ว่าด้วยผลของการรักษาศีล ๕

๑๐. ภเวสิสูตร ว่าด้วยการทําความดี ต้องทําให้ยิ่งขึ้น

 
  ข้อความที่ 22  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 29 ต.ค. 2564
 
  ข้อความที่ 23  
  ข้อความที่ 24  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 29 ต.ค. 2564

ปัญจมปัณณาสก์

อาวาสกวรรคที่ ๔

๑. อาวาสิกสูตร ว่าด้วยธรรมของเจ้าอาวาส

๒. ปิยสูตร ว่าด้วยปิยธรรมของเจ้าอาวาส

๓. โสภณสูตร ว่าด้วยโสภณธรรมของเจ้าอาวาส

๔. พหุปการสูตร ว่าด้วยอุปการธรรมของเจ้าอาวาส

๕. อนุกัมปกสูตร ว่าด้วยกรุณาธรรมของเจ้าอาวาส

๖. ยถาภตอวัณณสูตร ว่าด้วยธรรมที่ทําให้เจ้าอาวาสเลว และดี

๗. ยถาภตเคธสูตร ว่าด้วยธรรมที่ทําให้เจ้าอาวาสเลว และดี

๘. ปฐมยถาภตมัจเฉรสูตร ว่าด้วยธรรมที่ทําให้เจ้าอาวาสตกต่ํา และไม่ตกต่ํา

๙. ทุติยยถาภตมัจเฉรสูตร ว่าด้วยธรรมที่ทําให้เจ้าอาวาสตกต่ํา และไม่ตกต่ํา

๑๐. ตติยยถาภตมัจเฉรสูตร ว่าด้วยธรรมที่ทําให้เจ้าอาวาสตกต่ํา และไม่ตกต่ํา

 
  ข้อความที่ 25  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 29 ต.ค. 2564

ปัญจมปัณณาสก์

ทุจริตวรรคที่ ๕

๑. ทุจริตสูตร ว่าด้วยโทษแห่งทุจริต และคุณแห่งสุจริต

๒. กายทุจริตสูตร ว่าด้วยโทษของกายทุจริต และคุณของกายสุจริต

๓. วจีทุจริตสูตร ว่าด้วยโทษของวจีทุจริต และคุณของสุจริต

๔. มโนทุจริตสูตร ว่าด้วยโทษของมโนทุจริต และคุณของมโนสุจริต

๕. อปรทุจริตสูตร ว่าด้วยโทษของทุจริต และคุณของสุจริต

๖. อปรกายทุจริตสูตร ว่าด้วยโทษของกายทุจริต และคุณของกายสุจริต

๗. อปรวจีทุจริตสูตร ว่าด้วยโทษของวจีทุจริต และคุณของวจีสุจริต

๘. อปรมโนทุจริตสูตร ว่าด้วยโทษของมโนทุจริต และคุณของมโนสุจริต

๙. สีวถิกาสูตร ว่าด้วยโทษของป่าช้า และคนเหมือนป่าช้า

๑๐. ปุคคลปสาทสูตร ว่าด้วยโทษของการเลื่อมใสที่เกิดขึ้น

พระสูตรที่ไม่ได้สงเคราะห์เข้าในวรรค

ว่าด้วยคุณธรรมและประเภทธรรมต่างๆ


จบปัญจกนิบาต

 
  ข้อความที่ 26  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 29 ต.ค. 2564
 
  ข้อความที่ 27  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 30 ต.ค. 2564
 
  ข้อความที่ 29  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 30 ต.ค. 2564

ปฐมปัณณาสก์

เสขปริหานิยวรรคที่ ๔

๑. เสกขสูตร ว่าด้วยธรรมเสื่อม และไม่เสื่อมของพระเสขะ ๖

๒. ปฐมอปริหานิยสูตร ว่าด้วยอปริหานิยธรรม ๖

๓. ทุติยอปริหานิยสูตร ว่าด้วยอปริหานิยธรรม ๖ ประการ

๔. โมคคัลลานสูตร ว่าด้วยพระเถระสนทนากับติสสพรหม

๕. วิชชาภาคิยสูตร ว่าด้วยธรรมเป็นส่วนให้เกิดวิชชา

๖. วิวาทมูลสูตร ว่าด้วยมูลเหตุแห่งการวิวาท ๖ ประการ

๗. ทานสูตร ว่าด้วยองค์แห่งทักษิณาทาน ๖ ประการ

๘. อัตตการีสูตร ว่าด้วยการทําเพื่อตน และเพื่อคนอื่น

๙. นิทานสูตร ว่าด้วยอกุศลมูล และกุศลมูล

๑๐. กิมมิลสูตร ว่าด้วยเหตุให้ศาสนาเสื่อมและเจริญ

๑๑. ทารุกขันธสูตร ว่าด้วยอํานาจของผู้มีฤทธิ์

๑๒. นาคิตสูตร ว่าด้วยการไม่ติดยศ และไม่ให้ยศติดตน

 
  ข้อความที่ 30  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 30 ต.ค. 2564

ปฐมปัณณาสก์

ธรรมิกวรรคที่ ๕

๑. นาคสูตร ว่าด้วยผู้ประเสริฐ

๒. มิคสาลาสูตร ว่าด้วยบุคคล ๖ จําพวก

๓. อิณสูตร ว่าด้วยความจนทางโลกกับทางธรรม

๔. มหาจุนสูตร ว่าด้วยข้อควรศึกษาของผู้เจริญฌาน และประกอบธรรม

๕. ปฐมสันทิฏฐิกสูตร ว่าด้วยการเห็นธรรมด้วยตนเอง

๖. ทุติยสันทิฏฐิกสูตร ว่าด้วยการเห็นธรรมด้วยตนเอง

๗. เขมสุมนสูตร ว่าด้วยผู้หมดมานะ

๘. อินทรียสังวรสูตร ว่าด้วยการสํารวมอินทรีย์

๙. อานันทสูตร ว่าด้วยคุณธรรม ๖ ของพระอานนท์

๑๐. ขัตติยาธิปปายสูตร ว่าด้วยความประสงค์ของคน ๖ จําพวก

๑๑. อัปปมาทสูตร ว่าด้วยธรรมที่ให้สําเร็จประโยชน์

๑๒. ธรรมิกสูตร ว่าด้วยธรรมของสมณะ และศาสดาทั้ง ๖

 
  ข้อความที่ 32  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 31 ต.ค. 2564

ทุติยปัณณาสก์

เทวตาวรรคที่ ๒

๑. อนาคามิสูตร ว่าด้วยผู้ควรและไม่ควร บรรลุอนาคามิผล

๒. อรหัตตสูตร ว่าด้วยผู้ควรบรรลุและไม่ควร บรรลุอรหัตตผล

๓. มิตตสูตร ว่าด้วยคุณและโทษของการมีมิตร

๔. ฐานสูตร (อารามสูตร) ว่าด้วยโทษการคลุกคลีคณะ และคุณการไม่คลุกคลี

๕. เทวตาสูตร ว่าด้วยธรรมเป็นเหตุให้เสื่อม และไม่ให้เสื่อม

๖. สติสูตร ว่าด้วยฐานะ และอฐานะ สําหรับผู้มีสมาธิ

๗. สักขิสูตร ว่าด้วยผู้ควร และไม่ควร เป็นพยานในคุณวิเศษ

๘. พลสูตร ว่าด้วยผู้ควร และไม่ควร บรรลุพลภาพในสมาธิ

๙. ปฐมฌานสูตร ว่าด้วยผู้ควร และไม่ควร บรรลุปฐมฌาน

๑๐. ทุติยฌานสูตร ว่าด้วยผู้ควร และไม่ควร บรรลุปฐมฌาน

 
  ข้อความที่ 33  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 31 ต.ค. 2564

ทุติยปัณณาสก์

อรหันตวรรคที่ ๓

๑. ทุกขสูตร ว่าด้วยธรรมทําให้เป็นทุกข์ และเป็นสุข

๒. อรหัตตสูตร ว่าด้วยผู้ควร และไม่ควร บรรลุอรหัตตผล

๓. อุตตริมนุสสธรรมสูตร ว่าด้วยผู้ควร และไม่ควร บรรลุอุตริมนุสธรรม

๔. สุขสูตร ว่าด้วยธรรมทําให้มีสุขโสมนัส

๕. อธิคมสูตร ว่าด้วยผู้ควร และไม่ควร บรรลุกุศลธรรม

๖. มหัตตสูตร ว่าด้วยผู้ควรบรรลุความเป็นใหญ่ในธรรม

๗. ปฐมนิรยสูตร ว่าด้วยธรรมทําให้เป็นเหมือนตกนรก และขึ้นสวรรค์

๘. ทุติยนิรยสูตร ว่าด้วยธรรมทําให้เป็นเหมือนตกนรก และขึ้นสวรรค์

๙. อัคคธรรมสูตร ว่าด้วยผู้ควร และไม่ควร บรรลุอัครธรรม

๑๐. รัตติสูตร ว่าด้วยผู้หวังได้ความเสื่อม และผู้หวังได้ความเจริญ

 
  ข้อความที่ 34  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 31 ต.ค. 2564

ทุติยปัณณาสก์

สีติวรรคที่ ๔

๑. สีติสูตร ว่าด้วยผู้ควร และไม่ควร บรรลุความเป็นผู้เย็น

๒. ภัพพสูตร ว่าด้วยผู้ควร และไม่ควร เข้าถึงธรรม

๓. อาวรณตาสูตร ว่าด้วยผู้ควร และไม่ควร เข้าถึงธรรม

๔. สุสสูสาสูตร ว่าด้วยผู้ควร และไม่ควร เข้าถึงธรรม

๕. ปหาตัพพสูตร ว่าด้วยผู้ควร และไม่ควร บรรลุทิฏฐิสัมปทา

๖. ปหีนสูตร ว่าด้วยธรรมที่พระโสดาบันละได้แล้ว

๗. อุปปาเทตัพพสูตร ว่าด้วยธรรมที่พระโสดาบัน ไม่ทําให้เกิดขึ้น

๘. สัตถริสูตร ว่าด้วยฐานะ ที่ไม่ควรเป็นได้ ๖ ประการ

๙. กัญจิสังขารสูตร ว่าด้วยฐานะ ที่ไม่ควรเป็นได้ ๖ ประการ

๑๐. มาตริสูตร ว่าด้วยฐานะ ที่ไม่ควรเป็นได้ ๖ ประการ

๑๑. สยกตสูตร ว่าด้วยฐานะ ที่ไม่ควรเป็นได้ ๖ ประการ

 
  ข้อความที่ 35  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 31 ต.ค. 2564

ทุติยปัณณาสก์

อานิสังสวรรคที่ ๕

๑. ปาตุภาวสูตร ว่าด้วยความปรากฏขึ้นที่หาได้ยาก ๖ ประการ

๒. อานิสังสสูตร ว่าด้วยอานิสงส์แห่งโสดาปัตติผล ๖ ประการ

๓. อนิจจสูตร ว่าด้วยฐานะที่มีได้ และมีไม่ได้

๔. ทุกขสูตร ว่าด้วยฐานะที่มีได้ และไม่ได้

๕. อนัตตสูตร ว่าด้วยฐานะที่มีได้ และมีไม่ได้

๖. นิพพานสูตร ว่าด้วยฐานะที่มีได้ และมีไม่ได้

๗. ปฐมอโนทิสสูตร ว่าด้วยอานิสงส์ทําให้เกิดอนิจจสัญญา ๖ ประการ

๘. ทุติยอโนทิสสูตร ว่าด้วยอานิสงส์ที่ทําให้เกิดทุกขสัญญา ๖ ประการ

๙. ตติยอโนทิสสูตร ว่าด้วยอานิสงส์ที่ทําให้เกิดอนัตตสัญญา

๑๐. ภาวสูตร ว่าด้วยไตรภพ และไตรสิกขา

๑๑. ตัณหาสูตร ว่าด้วยตัณหา และมานะ

 
  ข้อความที่ 36  
  ข้อความที่ 37  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 31 ต.ค. 2564